SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 การตอบสนองต่อสิ่งเร้า หมายถึง การกระทาต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ช่วยให้สิ่งมีชีวิต
ดารงชีวิตอยู่ในสภาพแวดล้อมนั้น ๆ ได้ตัวอย่างสิ่งเร้า ได้แก่ การสัมผัส แสง เสียง
อุณหภูมิ ความชื้น ฯลฯ
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้า
การตอบสนองของพืชต่อแสง เรียกว่าโฟโททรอปิซึม (phototropism)
เป็นการตอบสนองของพืชที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เป็นแสงพบว่าที่ปลายยอดพืช
(ลาต้น) มีทิศทางการเจริญเติบโตเจริญเข้าหาแสงสว่าง (positive phototropism) ซึ่งเกิด
จากการกระจายของฮอร์โมนออกซินที่ไม่เท่ากัน ส่วนที่ปลายรากจะมีทิศทางการ
เจริญเติบโตหนีจากแสงสว่าง (negative phototropism)
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้า
การตอบสนองของพืชต่ออุณหภูมิ
ชนิดของพืชตามระดับความสูงของภูเขานั้นแสดงให้เห็นถึงการตอบสนองต่อ
อุณหภูมิได้ชัดเจน เช่น ภูเขาทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยเริ่มจาก
บริเวณชิงเขา ซึ่งสภาพดินค่อนข้างแห้งแล้ง เมื่อมาถึงความสูงประมาณ 900 เมตร
อากาศจะค่อนข้างเย็นกว่าบริเวณเชิงเขา สภาพป่าจึงเปลี่ยนไปเป็นป่าดิบแล้ง ซึ่ง
ประกอบด้วยไม้สูงใหญ่ จาพวกไม้ยาง กระบก ขึ้นปกคลุมพื้นดิน เมื่อขึ้นสู่ระดับบน
ยอดเขาซึ่งสูงประมาณ 1,200 เมตรขึ้นไป อากาศเย็นตลอดปี สภาพป่าจะเปลี่ยนไปโดย
สิ้นเชิง โดยต้นไม้ส่วนใหญ่เป็นสน นอกจากนี้ยังมีพวกพืชจับแมลง เช่น หยาดน้าค้าง
หม้อข้าวหม้อแกงลิง เป็นต้น
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้า
การตอบสนองของพืชต่อน้า
การตอบสนองของพืชต่อปริมาณน้า สังเกตได้จากพืชที่เจริญเติบโตในบริเวณที่
แห้งแล้ง เช่น พืชในทะเลทราย ซึ่งบริเวณทะเลทรายในแต่ละปีจะมีฝนตกเฉลี่ยน้อย
กว่า 250 มิลลิเมตรต่อปี ดังนั้นพืชที่ขึ้นในทะเลทรายจะต้องมีการปรับตัวเพื่อ
ตอบสนองต่อปริมาณน้าที่มีน้อย โดยพืชบางชนิดจะลดขนาดของใบหรือเปลี่ยนให้อยู่
ในรูปของหนามเพื่อลดการสูญเสียน้า
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้า
การตอบสนองของพืชต่อการสัมผัส
การตอบสนองต่อการสัมผัสของพืชมีหลายรูปแบบ เช่น ใบไมยราบเมื่อถูกสัมผัส
ใบจะหุบ เนื่องจากที่โคนของใบมีดต่อมรับสัมผัสเมื่อถูกกระตุ้นจะส่งความรู้สึกไปยัง
ใบ ทาให้ใบหุบได้หรือต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง เมื่อแมลงตกลงไปฝาใบจะปิดทันที
หรือต้นกาบหอยแครง เมื่อแมลงมาสัมผัสในส่วนของใบที่มีลักษณะคล้ายฝา ฝานั้นจะ
ถูกปิดเข้าหากัน ทาให้แมลงไม่สามารถหลุดรอดออกมาได้
 การตอบสนองแบบมีทิศทางเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสิ่งเร้า (tropism หรือ tropic
movement) การตอบสนองแบบนี้อาจจะทาให้ส่วนของพืชโค้งเข้าหาสิ่งเร้าเรียกว่า
positive tropism หรือเคลื่อนที่หนีสิ่งเร้าที่มากระตุ้นเรียกว่า negative
tropism
 ทิกมอทรอปิซึม (thigmotropism) เป็นการตอบสนองของพืชบางชนิดที่ตอบสนอง
ต่อการสัมผัสเช่น การเจริญของมือเกาะ (tendril) ซึ่งเป็นโครงสร้างที่ยื่นออกไปพันหลัก
หรือเกาะบนต้นไม้อื่นหรือพืชพวกที่ลาต้นแบบเลื้อยจะพันหลักในลักษณะบิดลาต้นไปรอบๆเป็น
เกลียว เช่น ต้นตาลึง ต้นพลู ต้นองุ่น ต้นพริกไทย เป็นต้น
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช

More Related Content

What's hot

อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)Thitaree Samphao
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัวNetiie Thanaporn
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำAnana Anana
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสBiobiome
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีWichai Likitponrak
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 

What's hot (20)

อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
โครงสร้างเซลล์ (Cell Structure)
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัว
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัสเอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
เอกสารประกอบการสอน อวัยวะรับสัมผัส
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
บท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมีบท2ปฏิกิริยาเคมี
บท2ปฏิกิริยาเคมี
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 

Similar to การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขAnana Anana
 
การตอบสนองของพืชแบบ Tropicsm
การตอบสนองของพืชแบบ Tropicsm การตอบสนองของพืชแบบ Tropicsm
การตอบสนองของพืชแบบ Tropicsm MinervaP1
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
ResponseของพืชIssara Mo
 
แผ่นพับ_Tatsida_154_No5
แผ่นพับ_Tatsida_154_No5แผ่นพับ_Tatsida_154_No5
แผ่นพับ_Tatsida_154_No5ssuser6586c7
 
การตอบสนอง1
การตอบสนอง1การตอบสนอง1
การตอบสนอง1Pranruthai Saothep
 
แผ่นพับ3
แผ่นพับ3แผ่นพับ3
แผ่นพับ3ssuser9fb8d5
 
Poster_Sarocha_125_no6
Poster_Sarocha_125_no6Poster_Sarocha_125_no6
Poster_Sarocha_125_no6sarochat2
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชdnavaroj
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 

Similar to การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช (10)

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
การตอบสนองของพืชแบบ Tropicsm
การตอบสนองของพืชแบบ Tropicsm การตอบสนองของพืชแบบ Tropicsm
การตอบสนองของพืชแบบ Tropicsm
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
Responseของพืช
ResponseของพืชResponseของพืช
Responseของพืช
 
แผ่นพับ_Tatsida_154_No5
แผ่นพับ_Tatsida_154_No5แผ่นพับ_Tatsida_154_No5
แผ่นพับ_Tatsida_154_No5
 
การตอบสนอง1
การตอบสนอง1การตอบสนอง1
การตอบสนอง1
 
แผ่นพับ3
แผ่นพับ3แผ่นพับ3
แผ่นพับ3
 
Poster_Sarocha_125_no6
Poster_Sarocha_125_no6Poster_Sarocha_125_no6
Poster_Sarocha_125_no6
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 

การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช