SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
1
แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
พัชรี ช่วยประดิษฐ1, พงษ์ธนา วณิชย์กอบจินดา2
1บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์
คณะบัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
โทรศัพท์ : 0894121183, Email: pat_ohyey@hotmail.com
2คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400
โทรศัพท์ : 0894771887, Email: Pongtana@gmail.com
บทคัดย่อ
ในการศึกษาเพื่อพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง ของร้านปทุมธานีผู้
ศึกษาได้ทาการศึกษา สารวจและเก็บรวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องพบว่าสาเหตุที่ทาให้การ
ดาเนินงานของทางร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง ขาดประสิทธิภาพคือ การมีสินค้าคงคลังที่มีปริมาณ
มากเกินไป เนื่องจากทางร้านค้าต้องการมีสินค้าที่จะเติมเต็มให้ครบตามที่ลูกค้าต้องการ จึง
จาเป็นต้องการมีสต๊อกสินค้าไว้ทุกประเภท และในแต่ละประเภทมีหลาย SKUs ซึ่งทาให้
คลังสินค้ามีสต๊อกที่มากเกินไป ส่งผลต่อต้นทุนการจัดเก็บรักษาเพราะสินค้าบางประเภทมีความ
เคลื่อนไหวที่ช้า (Slow-Movement) และคลังสินค้ามีการจัดเก็บและจัดวางไม่เหมาะสม รวมทั้ง
การเบิกสินค้าเมื่อลูกค้ามีการสั่งซื้อใช้เวลานานและมีข้อผิดพลาดสูง ดังนั้นวัตถุประสงค์ของ
งานวิจัย คือ เพื่อพัฒนาการจัดการสินค้าคงคลังอย่างมีประสิทธิภาพนั่นคือความสามารถในการ
ควบคุมระดับสินค้าคงคลังเพื่อให้มีต้นทุนต่าที่สุดในขณะเดียวกันก็จะต้องมีสินค้าอยู่ในระดับที่
เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง ขั้นตอนเริ่มจากการศึกษาต้นทุน
ค่าใช้จ่ายของระบบการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง จานวนของการสั่งซื้อ การจัดเก็บสินค้าและทาการ
วิเคราะห์สินค้าคงคลังโดยวิธีการสั่งซื้อประหยัดสุด EOQ (Economy Order Quantity) สต๊อก
เพื่อความปลอดภัย (Safety Stock) และ จุดสั่งซื้อใหม่ (Reorder Point; ROP) จัดลาดับ
ความสาคัญของสินค้าด้วยวิธี ABC ออกแบบแผนผังการจัดเก็บ ระบุตาแหน่งการจัดเก็บ การ
จัดทา Visual Control ตามชั้นวางสินค้าทั้งหมด จากการศึกษาดังกล่าวพบว่าผลการปรับปรุง
นั้นทาให้พัฒนาการจัดการสินค้าคงคลังอย่างมีประสิทธิภาพในการจัดการสินค้าคงคลังคือ
สามารถทาให้มีการวางแผนการสั่งซื้อใหม่ได้เป็นระบบและประหยัดค่าใช้จ่ายมากยิ่งขึ้นโดย
สามารถลดค่าใช้จ่ายรวมในแผนกไฟฟ้าได้ถึง 21% ต่อปีและแผนกประปาลดลงได้ 15% ต่อปี
เป็นต้น
2
บทนา
ในปัจจุบันนี้มีประชากรเพิ่มขึ้นจานวนมากเมื่อเปรียบเทียบจากในอดีตทาให้ร้านค้าปลีก
มีจานวนเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วยอีกทั้งการปรับเปลี่ยนทางด้านเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็วทา
ให้เกิดการแข่งขันกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้โดยผู้บริโภคมักจะเลือกใช้บริการในร้านค้าที่สามารถ
ตอบสนองความต้องการของตนเองได้มากที่สุดส่งผลให้ธุรกิจจะต้องปรับตัวให้เข้ากับการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มเป้าหมายซึ่งผู้ประกอบการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง
ที่อยู่รอดใต้ภาวะแรงกดดันทางการแข่งขันต้องสร้างเสริมกลยุทธ์ทางด้านต่าง ๆ ให้เป็นเลิศเพื่อ
แสดงให้ลูกค้าเห็นถึงความแตกต่างทั้งในรูปแบบสินค้าและบริการที่ดีเมื่อเทียบกับคู่แข่งสาหรับ
แนวทางที่ทาให้ประสบความสาเร็จ คือการจัดการร้านค้าให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งใน
เรื่องของคลังสินค้านับว่าเป็นเรื่องที่สาคัญมากเนื่องจาก การวางแผนการบริหารจัดการ
คลังสินค้าเป็นส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์การทางานที่มีความสาคัญที่จะช่วยให้ธุรกิจประสบ
ความสาเร็จและสามารถต่อสู้กับคู่แข่งในด้านการแข่งขันทางธุรกิจได้ซึ่งคลังสินค้ามีความสาคัญ
ที่สุดในระบบโลจิสติกส์ในการบริหารการจัดการคลังสินค้าซึ่งต้องมีองค์ประกอบที่สาคัญหลาย
อย่างเข้ามาร่วมด้วยและความซับซ้อนที่ต้องการให้การบริหารงานที่มีคุณภาพซึ่งต้องอาศัย
ระบบการทาประสิทธิภาพบุคคลากรที่เป็นมืออาชีพเพื่อให้เกิดการทางานที่เป็นระบบและมี
ประสิทธิภาพ
จากสาเหตุดังกล่าวร้านปทุมธานีจะต้องพยายามจัดการทางด้านการวางแผนในเรื่อง
ของสินค้าให้เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าและเพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายให้ได้มากที่สุด
เช่นมีการวางแผนการจัดทา EOQ, การคานวณ Safety Stock การหา ROP เพื่อที่จะสามารถ
วางแผนทางด้านคลังสินค้าให้มีระบบมากขึ้น เพื่อให้สามารถยืนหยัดอยู่รอดได้ในปัจจุบันและใน
อนาคตผู้ประกอบการจึงจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการดาเนินงานใหม่ให้สอดคล้องกับ
การแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น
ด้วยเหตุนี้ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงการดาเนินงานและปัญหาของร้าน
ปทุมธานี และ ผลของการศึกษาครั้งนี้จะเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบการร้านปทุมธานีและธุรกิจค้า
ปลีกอื่นๆสามารถใช้ในการพัฒนาปรับปรุงและประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการดาเนินกิจการ
ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
3
ปัญหาและลักษณะของปัญหาที่สาคัญของบริษัท
ปัญหาและผลกระทบของปัญหา
การมีสินค้าคงคลังที่มากเกินไป เนื่องจากทางร้านต้องมีสินค้าที่จะเติมเต็มให้ครบตามที่
ลูกค้าต้องการ จึงจาเป็นต้องมีการสต็อกสินค้าไว้ทุกประเภท และในแต่ละประเภทมีหลาย SKUs
ซึ่งทาให้คลังสินค้ามีสต๊อกที่มากเกินไป ส่งผลต่อต้นทุนการจัดเก็บรักษาเพราะสินค้าบางประเภท
มีความเคลื่อนไหวที่ช้า (Slow-Movement) สามารถวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาก่อนการปรับปรุง
ดังภาพต่อไปนี้
ภาพที่ 1 แสดงการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุที่เกิดขึ้นในคลังสินค้า
ในส่วนของคลังสินค้ามีปัญหาหลัก ๆ อยู่ 4 ส่วนคือ
1. MAN ขาดความเข้าใจในการบริหาร บุคลากรในองค์กรขาดความรู้ความเข้าใจในการ
พยากรณ์สินค้า อีกทั้งอานาจการสั่งซื้อมีหลายบุคคล เนื่องจากเป็นร้านค้าที่มีรูปแบบการ
บริหารงานยังไม่เป็นรูปธรรม ทาให้อานาจการสั่งซื้อไม่ได้ขึ้นอยู่กับแผนกการจัดซื้ออย่างเดียว
2. MACHINE องค์กรไม่มีระบบการเช็คสต๊อกสินค้า ใช้เอกสาร Documentary ในการ
บันทึกและการเช็คสต๊อกทาให้ข้อมูลมีการผิดพลาดสูง
3. MATERIAL อุปกรณ์บางประเภทมีการเสื่อมสภาพ เนื่องจากสินค้าบางประเภทที่อยู่
ในคลังสินค้ามี อัตราการ Movement ที่ช้า ทาให้สินค้ามีการเสื่อมสภาพ
4. METHODS การจัดเก็บสินค้าไม่เป็นระบบ องค์กรไม่ได้มีการแยกจาแนกประเภทใน
การจัดคลังสินค้า วิธีการรับสินค้าโดยไม่ได้ทาการจัดเก็บ หรือทาข้อมูล ทาให้การเช็คสต๊อก
ผิดพลาด มีความคลาดเคลื่อนผลกระทบของปัญหา
4
ผลกระทบของปัญหา
ระยะสั้น ด้านทุนหมุนเวียน ทาให้ขาดสภาพคล่องทางการเงิน
ระยะยาว ความสามารถในการแข่งขันลดลงทั้งในด้านต้นทุน และการตอบสนอง
ลูกค้า ทาให้โอกาสในการทากาไรน้อยลง
ปัญหา และความสาคัญของปัญหาแนวทางแก้ไขปัญหา
• การจัดลาดับความสาคัญของสินค้า (Movement) เพื่อให้ทราบว่าสินค้าตัวใดมีการ
หมุนเวียนสูงสุดของรายการสินค้า และทาให้ทราบถึงการหมุนเวียนรอบสินค้า เพื่อช่วย
ในการตัดสินใจต่อการสั่งซื้อเป็นการลดปัญหาสินค้าคงคลังมีมากเกินไป
• คานวณปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ) เพื่อเป็นการป้องกันการสั่งที่ทาให้เกิด
ต้นทุนจมไปกับสินค้าโดยไม่จาเป็น อีกทั้งทาให้เกิดขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดต่อ
ครั้ง
• การจัดรูปแบบ การวางผังสินค้าใหม่ (Fixed ,Random Location) เพื่อการทางานที่
รวดเร็วขึ้น และถูกต้อง ลดความผิดพลาดในการจัดเก็บ การหาสินค้านานเกินไป รวมไป
ถึงการเช็คยอดสินค้าไม่ตรงตามที่บันทึก
• การทาป้ ายระบุตาแหน่งการวางสินค้าให้ชัดเจน ใช้หลักการ Visual Control ซึ่งจะ
เอื้อต่อการมองเห็นได้ง่าย และจะสามารถทราบได้ในการเช็คสต็อกว่าถึงจุดสั่งซื้อใหม่
เมื่อใด
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
งานวิจัยนี้ได้ทาการศึกษาทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มีดังนี้
งานวิจัยนี้ได้ทาการศึกษากรณีร้านปทุมธานี ที่ดาเนินธุรกิจบริการขายปลีกวัสดุก่อสร้าง
และเบ็ดเตล็ดฮาร์ดแวร์ จากการศึกษาสภาพปัญหาของทางร้านในเบื้องต้นมีแนวทางที่จะพัฒนา
และปรับปรุงการดาเนินงานในส่วนงานคงคลังให้มีการทางานที่เป็นระบบ สะดวกและรวดเร็ว
คงไว้ซึ่งความถูกต้องแม่นยาในการทางานให้เกิดประสิทธิภาพ รวมถึงปรับปรุงระบบการสั่งซื้อ
การศึกษาค้นคว้าในบทนี้มีทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่นามาใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการศึกษา
การลดปริมาณพัสดุสารองคลังได้แก่ทฤษฎี ABC Classification System ทฤษฎีEconomic
5
Order Quantity (EOQ) ท ฤ ษ ฎี Reorder Point (ROP) ท ฤ ษ ฎี Engineering Economic
Analysis และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
การบริหารพัสดุเป็นสายงานหนึ่งในกระบวนการห่วงโซ่ของการสร้างมูลค่า (Value
Chain) และเป็นกิจกรรมหนึ่งในส่วนของโลจิสติกส์ภายใน(InboundLogistics)ถ้ากิจการได้รับการ
บริหารที่ดีถูกต้องแม่นยามากเพียงไรจะส่งผลไปยังโซ่อุปทาน (Supply Chain) ให้มี
ประสิทธิภาพมากเพียงนั้นกล่าวคือกิจการสามารถเพิ่มคุณภาพของผลิตภัณฑ์ลดค่าใช้จ่ายในแต่
ละกิจกรรมลงลดรอบระยะเวลาธุรกิจ(CycleTime)และได้ระดับบริการ (Service Level) ที่เพิ่มขึ้น
คาว่าพัสดุและวัสดุมีความหมายเดียวกัน (พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ, 2530 :
379)ภาษาอังกฤษใช้คาว่า Material ซึ่งสามารถใช้คาว่าพัสดุและวัสดุได้ตามความเหมาะสมหรือ
ตามความนิยมในแต่ละแห่งแต่ละที่
พัสดุมีความหมายกว้างครอบคลุมถึงสิ่งของเครื่องมือเครื่องใช้อุปกรณ์อะไหล่เครื่องจักร
เครื่องยนต์วัตถุดิบวัสดุก่อสร้างแม้สินค้าสาเร็จรูปก็ยังสามารถเรียกว่าพัสดุได้ในทางวิชาการควร
เรียกประเภทพัสดุนั้นให้เจาะจงถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งสามารถแยกได้ตามสากลดังนี้คือ 1) วัตถุดิบ
(Raw Material) 2) สินค้าสาเร็จรูป (Finished Goods) 3) พัสดุสาหรับหีบ-ห่อ (Packaging
Material) และ 4) พัสดุสาหรับซ่อมบารุงและปฏิบัติการ (Maintenance Repair and Operation
Items; MRO)
ระเบียบวิธีการศึกษาและผลการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้ผู้ทาการศึกษาค้นคว้าได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยขั้นตอนคือเริ่มจาก
การศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นก่อนหลังจากนั้นจึงนามาวิเคราะห์หาแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
ซึ่งแนวทางการแก้ไขปัญหานี้แบ่งออกเป็น 4 แนวทางในการปรับปรุงคือ
แนวทางที่ 1 การศึกษาครั้งนี้ได้รวบรวมข้อมูลและการทบทวนเอกสารต่างๆ นาข้อมูล
วัสดุคงคลังวัสดุก่อสร้าง และฮาร์ดแวร์ โดยมีการเริ่มต้นศึกษาการดาเนินการลดสินค้าคงคลัง
ด้วยวิธีการจัดประเภทสินค้าพิจารณาจากการจาแนกความเคลื่อนไหวของสินค้าโดยการแบ่ง
สินค้าเป็นประเภท Fast Moving(A), Medium Moving(B), Slow Moving(C) เพื่อใช้ในการ
ออกแบบพื้นที่ในการจัดวางสินค้าให้สอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของสินค้า และความสาคัญข้างต้น
โดยให้กลุ่มสินค้าที่มีความเคลื่อนไหวเร็วเป็นวัสดุคงคลังประเภท A ที่มีปริมาณ (5-15% ของ
สินค้าคงคลังทั้งหมด) พบว่ามี 36 รายการ ถัดมาเป็นกลุ่มสินค้าที่มีความเคลื่อนไหวปานกลาง
เป็นวัสดุคงคลังประเภท B ปริมาณปานกลาง (30% ของสินค้าคงคลังทั้งหมด) มีจานวน 105
รายการ กลุ่มสินค้าที่มีความเคลื่อนไหวช้าเป็นวัสดุคงคลังประเภท C ที่มีปริมาณมาก (50-60%
ของสินค้าคงคลังทั้งหมด) มีจานวน 136 รายการ สาหรับกลุ่ม A คือรายการที่มีความสาคัญมาก
6
และต้องการเอาใจใส่เป็นพิเศษ กลุ่ม B คือรายการที่มีความสาคัญปานกลาง และกลุ่ม C คือ
รายการที่มีความสาคัญน้อย
ตารางที่ 1 สรุปสินค้าในแผนกต่างๆ
สรุปผลการจัดแบ่งความสาคัญของสินค้าและค่าเฉลี่ยรวม (Inventory Turn Over)
ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ยรวมของ Inventory turn over
งานวิจัยนี้เลือกข้อมูลในกลุ่ม A มาศึกษาโดยใช้แนวคิดทฤษฎี EOQ เข้ามาช่วยแต่
สาหรับวัสดุคงคลังประเภท B หรือ C อาจจะคอยดูเป็นระยะๆ ไม่ต้องศึกษาอย่างละเอียด เพราะ
หากทาอย่างทุกรายการจะเป็นการเสียเวลาโดยไม่จาเป็น
แนวทางที่ 2 การคานวณปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Order Quantity:
EOQ) เพื่อเป็นการป้องกันการสั่งซื้อที่ทาให้เกิด ต้นทุนจมไปกับสินค้าโดยไม่จาเป็น อีกทั้งทาให้
เกิดขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดต่อครั้ง การกาหนดปริมาณของสินค้าคงคลังที่เหมาะสมโดย
คานึงถึงต้นทุนในการบริหารสินค้าคงคลังต้องพิจารณา ปริมาณการสั่งซื้อที่มีต้นทุนต่าที่สุด
(Economic Order Quantity: EOQ) ในแต่ละครั้งซึ่งสามารถคานวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ทาให้
ทั้งต้นทุนในการสั่งซื้อ และต้นทุนในการเก็บรักษา ทาให้ทราบว่าเมื่อสินค้าในคลังสินค้าถูกขาย
ออกไปจนหมด จะต้องสั่งซื้อสินค้าเข้ามาใหม่ในจานวนเท่าใด จึงจะประหยัดที่สุด
7
สรุปผลเปรียบเทียบการคานวณงานจริง
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบการสั่งซื้อและต้นทุนรวมของวัสดุคงคลัง (แผนกไฟฟ้า)
ตารางที่ 4 สรุปผลเปรียบเทียบการสั่งซื้อและต้นทุนรวมของวัสดุคงคลัง
จากข้อมูลที่ได้จากการเปรียบเทียบจะเห็นได้ว่า ค่าใช้จ่ายรวม (ต่อปี) ของแผนกไฟฟ้า
ซึ่งทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายรวมต่อปีลดลง 8,234.73 บาทต่อปี หรือคิดเป็น 21% ต่อปี
8
ตารางที่ 5 เปรียบเทียบการสั่งซื้อและต้นทุนรวมของวัสดุคงคลัง (แผนกประปา)
ตารางที่ 6 สรุปผลเปรียบเทียบการสั่งซื้อและต้นทุนรวมของวัสดุคงคลัง
จากข้อมูลที่ได้จากการเปรียบเทียบจะเห็นได้ว่า ค่าใช้จ่ายรวม (ต่อปี) ของแผนกประปา
ซึ่งทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายรวมต่อปีลดลง 7,511.72 บาทต่อปี หรือคิดเป็น 15% ต่อปี
9
แนวทางที่ 3 การจัดรูปแบบ การวางผังสินค้าใหม่ : เพื่อการทางานที่รวดเร็วขึ้น และ
ถูกต้อง ลดความผิดพลาดในการจัดเก็บ การหาสินค้านานเกินไป รวมไปถึงการเช็คยอดสินค้าไม่
ตรงตามที่บันทึกการจัดเก็บตามปริมาณการใช้งาน และแบ่งตามความถี่ในการเบิกจ่ายสินค้า
(Class Based Average) ซึ่งเป็นการประยุกต์การจัดกลุ่ม ABC (ABC Analysis) มาใช้กาหนด
ตาแหน่งจัดวางสินค้า เนื่องจากรายการสินค้ามีอัตราการเข้าออกที่ต่างกัน บางรายการถูกเก็บไว้
นานไม่มีการเคลื่อนไหว บางรายการมีการหมุนเวียนเข้าออกตลอดเวลาโดยจะถูกแบ่งเป็นกลุ่ม
ต่างๆ โดยสินค้าที่มีอัตราการหมุนเวียนเข้าออกเป็นประจา จะถูกจัดเก็บใกล้กับทางเข้าออก
ส่วนการจัดเรียงสินค้าในกลุ่ม A จะใช้ระบบจัดเรียงกาหนดตายตัวเพื่อให้หาสินค้าได้ง่าย ส่วน
กลุ่ม B และ C จะใช้ระบบการจัดเรียงแบบไม่กาหนดตาแหน่งตายตัว โดยจัดแบ่งประเภท
สินค้าออกเป็น 3 ประเภทตามเกรด A, B และ C ได้ดังนี้
ตารางที่ 7 แสดงการจัดประเภทสินค้าที่แบ่งเกรดตามระยะเวลาการหมุนของสินค้า
ระดับสินค้า ประเภทสินค้า ระยะการเคลื่อนไหว
สินค้าประเภท A สินค้ากลุ่มที่ 1 และ 2 2-3 ครั้ง / สัปดาห์
สินค้าประเภท B สินค้ากลุ่มที่ 3 2-3 สัปดาห์ / ครั้ง
สินค้าประเภท C สินค้ากลุ่มที่ 4 1-3 เดือน / ครั้ง
ซึ่งแผนผังคลังสินค้าใหม่จะเป็นดังนี้
ภาพที่ 2 แสดงผังคลังสินค้าใหม่
10
แนวทางที่ 4 การออกแบบรหัสระบุตาแหน่งการจัดเก็บ และป้ายชี้ตาแหน่งการจัดเก็บ
1. การออกแบบป้ายชี้ตาแหน่งการจัดเก็บ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบว่ารายการสินค้านี้
จัดเก็บที่ใด ส่งผลให้การปฏิบัติงานของส่วนงานคงคลังทั้งการรับเข้า เบิกใช้ เกิดความสะดวก
รวดเร็ว และถูกต้อง อีกทั้งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน ช่วยลดเวลาสูญเปล่าอันเกิด
จากการหาสินค้าไม่เจอ
2. ใช้หลักการ Visual Controlเป็นระบบควบคุมการทางานขั้นตอนการทางาน
เป้าหมาย ผลลัพธ์การทางานได้ง่ายและชัดเจน รวมถึงเห็นความผิดปกติต่าง ๆ และแก้ไขได้
อย่างรวดเร็วโดยใช้ บอร์ด ป้าย สัญลักษณ์สี และอื่น ๆเพื่อสื่อสารให้พนักงานทราบถึงสิ่งที่
ต้องการได้โดยง่ายที่สุด และถูกต้อง
ภาพที่ 3 ป้ายชี้ตาแหน่งการจัดเก็บ
3. จัดทาแผนผังของคลังสินค้า มาติดไว้ตรงทางเข้า-ออก ของคลัง เพื่อช่วยให้ทราบถึง
ตาแหน่งพื้นที่เก็บสินค้า
ภาพที่ 4 แผ่นป้ายแสดงพื้นที่ภายในคลัง
4. ชื่อชั้นวาง เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหาสินค้า และป้องกันไม่ให้พนักงานวางสินค้าผิด
ตาแหน่ง อีกทั้งยังสะดวกต่อการค้นหา
11
ภาพที่ 5 ชั้นวางมีการบอกป้ายล๊อค และโซนการเก็บสินค้า
5. ติดป้ายบอกพื้นที่แต่ละโซนที่วางสินค้าแบ่งตามสี โซน A จะใช้ป้าย สีฟ้า, โซน B จะใช้
ป้าย สีเหลือง และโซน C จะใช้ป้าย สีชมพู
ภาพที่ 6 ชื่อชั้นวางเพื่อให้หาสินค้าได้สะดวกขึ้น
สรุปการเปรียบเทียบแนวทางการแก้ไขปัญหาในส่วนของคลังสินค้า
ตารางที่ 8 ตารางเปรียบเทียบแนวทางการแก้ไขปัญหาในส่วนของคลังสินค้า
แนวทางการแก้ไขปัญหา ข้อดี ข้อเสีย
ปรับปรุงวิธีการและขั้นตอน
การทางานใหม่
- ทาให้การทางานมีการวางแผน
และขั้นตอนมากยิ่งขึ้น
- ลดเวลาในการทางาน ในขั้นตอน
ที่ไม่จาเป็นออกไปได้
เสียเวลาในการทดลอง
กระบวนการดาเนินงานใหม่
ห าก ยังไม่ดีต้องมีก าร
เปลี่ยนแปลงและทดลอง
กระบวนการใหม่ซ้าอีก
แบ่งตามอัตราการหมุนของ
สินค้า Inventory Turnover
- เพื่อง่ายต่อการวางผังในการ
จัดเก็บ และเบิกจ่าย
- ลด ภ าระก ารจัดเก็บ สิน ค้า
สินค้า ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการเช่าพื้นที่
หรือค่าเสียโอกาสในการใช้พื้นที่
12
ใช้หลักการ Fixed Location เพื่อการจัดวางที่เป็นระเบียบ ไม่
เกิดการสับสนในตัวสินค้าของ
พนักงาน สะดวกต่อการเบิก
สินค้า และการตรวจนับง่ายต่อ
การจัดตั้งคลังและดูแลรักษา
ประสิทธิภาพการใช้พื้นที่ต่า
ใช้หลักการ
Random Location
มีความยืดหยุ่นสูง ยากต่อการชี้ตาแหน่งของ
สินค้า
ใช้หลักการ FIFO
(FIRST-IN-FIRST-OUT)
- การจัดเก็บ หรือการนาสิ่งของที่
เก็บไว้ก่อนออกมาใช้ก่อน
- เพื่อลดความเสียหายจากสินค้า
หมดอายุและไม่เกิดการสูญเสีย
ใช้หลักการ Visual Control ช่วยให้การทางานมีประสิทธิภาพ
มากขึ้น ง่ายต่อการมองเห็น และชื่อ
สินค้าป้องกันการหยิบสินค้าผิด
ช่วยลดความเข้าใจผิดในตัวสินค้า
ต้องใช้เวลาทาความเข้าใจ
กับรหัสสินค้าให้มากขึ้น
อาจจะเสียเวลาในช่วงแรกๆ
แต่ต่อไปก็จะดีขึ้น
จัดผังคลังสินค้าใหม่ พนักงานมีความรวดเร็วในการ
ทางานมากขึ้นลดเวลา และ
ระยะทางในกระบวนการทางานได้
ถ้า Lay out ที่ออกแบบใหม่
ผิดพลาดจะทาให้
กระบวนการในการทางาน
ยุ่งยากขึ้นต้องมีผู้ที่เชี่ยวชาญ
และมีความชานาญในการ
ออกแบบคลังสินค้ามาช่วยใน
การออกแบบและบริหาร
จัดการ
จัดผังคลังสินค้าใหม่ เป็นการแบ่งเขตที่ตั้งของสินค้าขึ้นมาใหม่ ทาให้เกิดความง่ายและ
รวดเร็วในกระบวนการทางานรวมทั้งทาให้เกิดความผิดพลาดน้อยลง การจัดเก็บสินค้าตาม
ความถี่ของรายการจะช่วยให้เวลาในการค้นหาสินค้าและหยิบลดลง นอกจากนั้นพนักงานที่ไม่มี
ความชานาญจะสามารถหาสินค้าได้ง่ายขึ้น ทั้งนี้ได้มีการนาเอาการควบคุมด้วยการมองเห็น
(Visual Control) เข้ามาช่วยในการจัดเก็บด้วย หลังจากที่มีการปรับปรุงภายในคลังแล้วเวลา
เฉลี่ยทั้งหมดของวิธีการค้นหาสินค้านั้นลดลงจากที่ใช้เวลาผลการดาเนินงานส่วนงานคงคลังก่อน
และหลังการปรับปรุง สรุปผลได้ดังตารางที่ 9
ตารางที่ 9 สรุปผลการแก้ไขปัญหา
เกณฑ์วัดผล ผลการปรับปรุง(ก่อน) ผลการปรับปรุง(หลัง) สรุปผล
เวลาเฉลี่ย
ของกระบวนการ
เบิกจ่ายสินค้า(นาที)
20 11 ลดลง 9 นาที
13
ข้อเสนอแนะ
การหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Order Quantity; EOQ) จุดสั่งซื้อใหม่
(Reorder Point; ROP) และสต๊อกเพื่อความปลอดภัย (Safety Stock) ที่ได้จากการคานวณเป็น
เพียงการพยากรณ์ เพื่อช่วยในการตัดสินใจในการกาหนดปริมาณการสั่งซื้อต่อครั้งได้ล่วงหน้า
และจุดสั่งซื้อที่เหมาะสมเท่านั้น แต่เนื่องจากพัสดุคงคลังมีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นจึง
ต้องมีการตรวจสอบปริมาณการใช้พัสดุสานักงานอย่างสม่าเสมอ จึงจะทาให้การพยากรณ์มี
ความแม่นยาและเกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด ซึ่งจะทาให้การจัดเก็บพัสดุสารองคลังจะมีปริมาณ
เพียงพอต่อการใช้งาน และไม่ทาให้เกิดการขาดสต็อกของพัสดุสานักงาน
บรรณานุกรม
จินตนัย ไพรสณฑ์. 2551. การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ. กรุงเทพมหานคร:
บริษัท เพียร์สันเอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า.
ชิดชเนตร ศักดิ์โพธา. 2550. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินค้าคงคลังร้านค้าปลีก
อะไหล่รถยนต์กรณีศึกษาร้านกระป๋ อง อะไหล่ยนต์. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์
มหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัย
หอการค้าไทย.
ชาตรี เกียรติสมุทรธารา. 2547. การศึกษาวิเคราะห์ขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดของ
เคมีภัณฑ์ในแผนกคลังสินค้า. โครงการปัญหาพิเศษวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต.
สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม. บัณฑิตวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยี พระ
จอมเกล้าพระนครเหนือ.
ทิฆัมพร รอดเงิน. 2550. การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการพัสดุคงคลังของกองพัสดุ
มหาวิทยาลัยเอกชนชื่อดังย่านถนนวิภาวดีรังสิต. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ
มหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัย
หอการค้าไทย.
ศุภชัย นุตาดี. 2550. การจัดการสินค้าคงคลังของร้านแต้หน่ากี่. ภาควิชาวิทยาการ
คอมพิวเตอร์. คณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ศราวุธ อุดมรังสีสกุล. 2547. การจัดการคลังสินค้าสาหรับชิ้นส่วนมาตรฐานในการ
ประกอบแม่พิมพ์ฉีดอลูมิเนียม. โครงการปัญหาพิเศษวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต.
สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม. บัณฑิตวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยี พระ
จอมเกล้าพระนครเหนือ.
สุชาติ ศุภมงคล. 2547. การจัดการอะไหล่ให้เพิ่มผลผลิต. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ซีเอ็ด
ยูเคชั่น.

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลRungnapa Rungnapa
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาPavana Numampornsiri
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ใบงานที่ 6.2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
ใบงานที่  6.2   เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ตใบงานที่  6.2   เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
ใบงานที่ 6.2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ตโรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxบทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxpiyapongauekarn
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7Nookker Ktc
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูJaratpong Moonjai
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดNattakorn Sunkdon
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑bensee
 
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศtumetr
 
ใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับReungWora
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 

What's hot (20)

บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
ใบงานที่ 6.2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
ใบงานที่  6.2   เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ตใบงานที่  6.2   เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
ใบงานที่ 6.2 เรื่อง คุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเตอร์เน็ต
 
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptxบทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
บทที่ 1 คลังสินค้าและศูนย์กระจายสินค้า.pptx
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7รายงาน              น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
รายงาน น.ส.ณัฐชญา วรรณดี กศบ.5603ข.เลขที่ 7
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครูเอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
เอกสารประกอบการนิเทศการสอนฉบับครู
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
การเขียนรายงานทางวิชาการ ตอนที่ ๑
 
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
 
ใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับใบงานจำนวนนับ
ใบงานจำนวนนับ
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 

Similar to แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง

ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสงระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสงUtai Sukviwatsirikul
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาUtai Sukviwatsirikul
 
ISO27001_Army Audit Office
ISO27001_Army Audit OfficeISO27001_Army Audit Office
ISO27001_Army Audit OfficeRawee Sirichoom
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...Mnr Prn
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลNongpla Narak
 
งานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
งานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยางานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
งานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยาkruratch
 
New generation.pptx
New  generation.pptxNew  generation.pptx
New generation.pptxkruratch
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยาการพัฒนาระบบสารสนเทศงานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยาjaiyanisa
 
New generation.pptx
New  generation.pptxNew  generation.pptx
New generation.pptxjaiyanisa
 
กลุ่ม New generation.pptx งานธุรการ1 (nat)
กลุ่ม New  generation.pptx  งานธุรการ1 (nat)กลุ่ม New  generation.pptx  งานธุรการ1 (nat)
กลุ่ม New generation.pptx งานธุรการ1 (nat)บังอร พลหล้า
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาVisiene Lssbh
 

Similar to แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง (20)

ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสงระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
ระบบฐานข้อมูลสำหรับร้านค้าปลีก โดย สันติ พันไธสง
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
 
ISO27001_Army Audit Office
ISO27001_Army Audit OfficeISO27001_Army Audit Office
ISO27001_Army Audit Office
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
คอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาลคอมโรงพยาบาล
คอมโรงพยาบาล
 
EX
EXEX
EX
 
New generation
New  generationNew  generation
New generation
 
New generation nat
New  generation nat New  generation nat
New generation nat
 
งานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
งานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยางานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
งานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
 
New generation.pptx
New  generation.pptxNew  generation.pptx
New generation.pptx
 
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยาการพัฒนาระบบสารสนเทศงานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
การพัฒนาระบบสารสนเทศงานธุรการโรงเรียนโนนสะอาดชุมแสงวิทยา
 
New generation.pptx
New  generation.pptxNew  generation.pptx
New generation.pptx
 
กลุ่ม New generation.pptx งานธุรการ1 (nat)
กลุ่ม New  generation.pptx  งานธุรการ1 (nat)กลุ่ม New  generation.pptx  งานธุรการ1 (nat)
กลุ่ม New generation.pptx งานธุรการ1 (nat)
 
New generation nat
New  generation natNew  generation nat
New generation nat
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
 
Krapookya
KrapookyaKrapookya
Krapookya
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง

  • 1. 1 แนวทางการพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง พัชรี ช่วยประดิษฐ1, พงษ์ธนา วณิชย์กอบจินดา2 1บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์ คณะบัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โทรศัพท์ : 0894121183, Email: pat_ohyey@hotmail.com 2คณะวิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ถนนวิภาวดีรังสิต เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ : 0894771887, Email: Pongtana@gmail.com บทคัดย่อ ในการศึกษาเพื่อพัฒนาบริหารจัดการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง ของร้านปทุมธานีผู้ ศึกษาได้ทาการศึกษา สารวจและเก็บรวบรวมข้อมูล ที่เกี่ยวข้องพบว่าสาเหตุที่ทาให้การ ดาเนินงานของทางร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง ขาดประสิทธิภาพคือ การมีสินค้าคงคลังที่มีปริมาณ มากเกินไป เนื่องจากทางร้านค้าต้องการมีสินค้าที่จะเติมเต็มให้ครบตามที่ลูกค้าต้องการ จึง จาเป็นต้องการมีสต๊อกสินค้าไว้ทุกประเภท และในแต่ละประเภทมีหลาย SKUs ซึ่งทาให้ คลังสินค้ามีสต๊อกที่มากเกินไป ส่งผลต่อต้นทุนการจัดเก็บรักษาเพราะสินค้าบางประเภทมีความ เคลื่อนไหวที่ช้า (Slow-Movement) และคลังสินค้ามีการจัดเก็บและจัดวางไม่เหมาะสม รวมทั้ง การเบิกสินค้าเมื่อลูกค้ามีการสั่งซื้อใช้เวลานานและมีข้อผิดพลาดสูง ดังนั้นวัตถุประสงค์ของ งานวิจัย คือ เพื่อพัฒนาการจัดการสินค้าคงคลังอย่างมีประสิทธิภาพนั่นคือความสามารถในการ ควบคุมระดับสินค้าคงคลังเพื่อให้มีต้นทุนต่าที่สุดในขณะเดียวกันก็จะต้องมีสินค้าอยู่ในระดับที่ เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง ขั้นตอนเริ่มจากการศึกษาต้นทุน ค่าใช้จ่ายของระบบการสั่งซื้อในแต่ละครั้ง จานวนของการสั่งซื้อ การจัดเก็บสินค้าและทาการ วิเคราะห์สินค้าคงคลังโดยวิธีการสั่งซื้อประหยัดสุด EOQ (Economy Order Quantity) สต๊อก เพื่อความปลอดภัย (Safety Stock) และ จุดสั่งซื้อใหม่ (Reorder Point; ROP) จัดลาดับ ความสาคัญของสินค้าด้วยวิธี ABC ออกแบบแผนผังการจัดเก็บ ระบุตาแหน่งการจัดเก็บ การ จัดทา Visual Control ตามชั้นวางสินค้าทั้งหมด จากการศึกษาดังกล่าวพบว่าผลการปรับปรุง นั้นทาให้พัฒนาการจัดการสินค้าคงคลังอย่างมีประสิทธิภาพในการจัดการสินค้าคงคลังคือ สามารถทาให้มีการวางแผนการสั่งซื้อใหม่ได้เป็นระบบและประหยัดค่าใช้จ่ายมากยิ่งขึ้นโดย สามารถลดค่าใช้จ่ายรวมในแผนกไฟฟ้าได้ถึง 21% ต่อปีและแผนกประปาลดลงได้ 15% ต่อปี เป็นต้น
  • 2. 2 บทนา ในปัจจุบันนี้มีประชากรเพิ่มขึ้นจานวนมากเมื่อเปรียบเทียบจากในอดีตทาให้ร้านค้าปลีก มีจานวนเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วยอีกทั้งการปรับเปลี่ยนทางด้านเทคโนโลยีเป็นไปอย่างรวดเร็วทา ให้เกิดการแข่งขันกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้โดยผู้บริโภคมักจะเลือกใช้บริการในร้านค้าที่สามารถ ตอบสนองความต้องการของตนเองได้มากที่สุดส่งผลให้ธุรกิจจะต้องปรับตัวให้เข้ากับการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคของกลุ่มเป้าหมายซึ่งผู้ประกอบการร้านค้าปลีกวัสดุก่อสร้าง ที่อยู่รอดใต้ภาวะแรงกดดันทางการแข่งขันต้องสร้างเสริมกลยุทธ์ทางด้านต่าง ๆ ให้เป็นเลิศเพื่อ แสดงให้ลูกค้าเห็นถึงความแตกต่างทั้งในรูปแบบสินค้าและบริการที่ดีเมื่อเทียบกับคู่แข่งสาหรับ แนวทางที่ทาให้ประสบความสาเร็จ คือการจัดการร้านค้าให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด ซึ่งใน เรื่องของคลังสินค้านับว่าเป็นเรื่องที่สาคัญมากเนื่องจาก การวางแผนการบริหารจัดการ คลังสินค้าเป็นส่วนหนึ่งในยุทธศาสตร์การทางานที่มีความสาคัญที่จะช่วยให้ธุรกิจประสบ ความสาเร็จและสามารถต่อสู้กับคู่แข่งในด้านการแข่งขันทางธุรกิจได้ซึ่งคลังสินค้ามีความสาคัญ ที่สุดในระบบโลจิสติกส์ในการบริหารการจัดการคลังสินค้าซึ่งต้องมีองค์ประกอบที่สาคัญหลาย อย่างเข้ามาร่วมด้วยและความซับซ้อนที่ต้องการให้การบริหารงานที่มีคุณภาพซึ่งต้องอาศัย ระบบการทาประสิทธิภาพบุคคลากรที่เป็นมืออาชีพเพื่อให้เกิดการทางานที่เป็นระบบและมี ประสิทธิภาพ จากสาเหตุดังกล่าวร้านปทุมธานีจะต้องพยายามจัดการทางด้านการวางแผนในเรื่อง ของสินค้าให้เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าและเพื่อการประหยัดค่าใช้จ่ายให้ได้มากที่สุด เช่นมีการวางแผนการจัดทา EOQ, การคานวณ Safety Stock การหา ROP เพื่อที่จะสามารถ วางแผนทางด้านคลังสินค้าให้มีระบบมากขึ้น เพื่อให้สามารถยืนหยัดอยู่รอดได้ในปัจจุบันและใน อนาคตผู้ประกอบการจึงจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ในการดาเนินงานใหม่ให้สอดคล้องกับ การแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงการดาเนินงานและปัญหาของร้าน ปทุมธานี และ ผลของการศึกษาครั้งนี้จะเป็นแนวทางให้ผู้ประกอบการร้านปทุมธานีและธุรกิจค้า ปลีกอื่นๆสามารถใช้ในการพัฒนาปรับปรุงและประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในการดาเนินกิจการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป
  • 3. 3 ปัญหาและลักษณะของปัญหาที่สาคัญของบริษัท ปัญหาและผลกระทบของปัญหา การมีสินค้าคงคลังที่มากเกินไป เนื่องจากทางร้านต้องมีสินค้าที่จะเติมเต็มให้ครบตามที่ ลูกค้าต้องการ จึงจาเป็นต้องมีการสต็อกสินค้าไว้ทุกประเภท และในแต่ละประเภทมีหลาย SKUs ซึ่งทาให้คลังสินค้ามีสต๊อกที่มากเกินไป ส่งผลต่อต้นทุนการจัดเก็บรักษาเพราะสินค้าบางประเภท มีความเคลื่อนไหวที่ช้า (Slow-Movement) สามารถวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาก่อนการปรับปรุง ดังภาพต่อไปนี้ ภาพที่ 1 แสดงการวิเคราะห์ปัญหาและสาเหตุที่เกิดขึ้นในคลังสินค้า ในส่วนของคลังสินค้ามีปัญหาหลัก ๆ อยู่ 4 ส่วนคือ 1. MAN ขาดความเข้าใจในการบริหาร บุคลากรในองค์กรขาดความรู้ความเข้าใจในการ พยากรณ์สินค้า อีกทั้งอานาจการสั่งซื้อมีหลายบุคคล เนื่องจากเป็นร้านค้าที่มีรูปแบบการ บริหารงานยังไม่เป็นรูปธรรม ทาให้อานาจการสั่งซื้อไม่ได้ขึ้นอยู่กับแผนกการจัดซื้ออย่างเดียว 2. MACHINE องค์กรไม่มีระบบการเช็คสต๊อกสินค้า ใช้เอกสาร Documentary ในการ บันทึกและการเช็คสต๊อกทาให้ข้อมูลมีการผิดพลาดสูง 3. MATERIAL อุปกรณ์บางประเภทมีการเสื่อมสภาพ เนื่องจากสินค้าบางประเภทที่อยู่ ในคลังสินค้ามี อัตราการ Movement ที่ช้า ทาให้สินค้ามีการเสื่อมสภาพ 4. METHODS การจัดเก็บสินค้าไม่เป็นระบบ องค์กรไม่ได้มีการแยกจาแนกประเภทใน การจัดคลังสินค้า วิธีการรับสินค้าโดยไม่ได้ทาการจัดเก็บ หรือทาข้อมูล ทาให้การเช็คสต๊อก ผิดพลาด มีความคลาดเคลื่อนผลกระทบของปัญหา
  • 4. 4 ผลกระทบของปัญหา ระยะสั้น ด้านทุนหมุนเวียน ทาให้ขาดสภาพคล่องทางการเงิน ระยะยาว ความสามารถในการแข่งขันลดลงทั้งในด้านต้นทุน และการตอบสนอง ลูกค้า ทาให้โอกาสในการทากาไรน้อยลง ปัญหา และความสาคัญของปัญหาแนวทางแก้ไขปัญหา • การจัดลาดับความสาคัญของสินค้า (Movement) เพื่อให้ทราบว่าสินค้าตัวใดมีการ หมุนเวียนสูงสุดของรายการสินค้า และทาให้ทราบถึงการหมุนเวียนรอบสินค้า เพื่อช่วย ในการตัดสินใจต่อการสั่งซื้อเป็นการลดปัญหาสินค้าคงคลังมีมากเกินไป • คานวณปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ) เพื่อเป็นการป้องกันการสั่งที่ทาให้เกิด ต้นทุนจมไปกับสินค้าโดยไม่จาเป็น อีกทั้งทาให้เกิดขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดต่อ ครั้ง • การจัดรูปแบบ การวางผังสินค้าใหม่ (Fixed ,Random Location) เพื่อการทางานที่ รวดเร็วขึ้น และถูกต้อง ลดความผิดพลาดในการจัดเก็บ การหาสินค้านานเกินไป รวมไป ถึงการเช็คยอดสินค้าไม่ตรงตามที่บันทึก • การทาป้ ายระบุตาแหน่งการวางสินค้าให้ชัดเจน ใช้หลักการ Visual Control ซึ่งจะ เอื้อต่อการมองเห็นได้ง่าย และจะสามารถทราบได้ในการเช็คสต็อกว่าถึงจุดสั่งซื้อใหม่ เมื่อใด แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยนี้ได้ทาการศึกษาทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มีดังนี้ งานวิจัยนี้ได้ทาการศึกษากรณีร้านปทุมธานี ที่ดาเนินธุรกิจบริการขายปลีกวัสดุก่อสร้าง และเบ็ดเตล็ดฮาร์ดแวร์ จากการศึกษาสภาพปัญหาของทางร้านในเบื้องต้นมีแนวทางที่จะพัฒนา และปรับปรุงการดาเนินงานในส่วนงานคงคลังให้มีการทางานที่เป็นระบบ สะดวกและรวดเร็ว คงไว้ซึ่งความถูกต้องแม่นยาในการทางานให้เกิดประสิทธิภาพ รวมถึงปรับปรุงระบบการสั่งซื้อ การศึกษาค้นคว้าในบทนี้มีทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่นามาใช้เป็นข้อมูลอ้างอิงในการศึกษา การลดปริมาณพัสดุสารองคลังได้แก่ทฤษฎี ABC Classification System ทฤษฎีEconomic
  • 5. 5 Order Quantity (EOQ) ท ฤ ษ ฎี Reorder Point (ROP) ท ฤ ษ ฎี Engineering Economic Analysis และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ การบริหารพัสดุเป็นสายงานหนึ่งในกระบวนการห่วงโซ่ของการสร้างมูลค่า (Value Chain) และเป็นกิจกรรมหนึ่งในส่วนของโลจิสติกส์ภายใน(InboundLogistics)ถ้ากิจการได้รับการ บริหารที่ดีถูกต้องแม่นยามากเพียงไรจะส่งผลไปยังโซ่อุปทาน (Supply Chain) ให้มี ประสิทธิภาพมากเพียงนั้นกล่าวคือกิจการสามารถเพิ่มคุณภาพของผลิตภัณฑ์ลดค่าใช้จ่ายในแต่ ละกิจกรรมลงลดรอบระยะเวลาธุรกิจ(CycleTime)และได้ระดับบริการ (Service Level) ที่เพิ่มขึ้น คาว่าพัสดุและวัสดุมีความหมายเดียวกัน (พจนานุกรมฉบับเฉลิมพระเกียรติ, 2530 : 379)ภาษาอังกฤษใช้คาว่า Material ซึ่งสามารถใช้คาว่าพัสดุและวัสดุได้ตามความเหมาะสมหรือ ตามความนิยมในแต่ละแห่งแต่ละที่ พัสดุมีความหมายกว้างครอบคลุมถึงสิ่งของเครื่องมือเครื่องใช้อุปกรณ์อะไหล่เครื่องจักร เครื่องยนต์วัตถุดิบวัสดุก่อสร้างแม้สินค้าสาเร็จรูปก็ยังสามารถเรียกว่าพัสดุได้ในทางวิชาการควร เรียกประเภทพัสดุนั้นให้เจาะจงถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งสามารถแยกได้ตามสากลดังนี้คือ 1) วัตถุดิบ (Raw Material) 2) สินค้าสาเร็จรูป (Finished Goods) 3) พัสดุสาหรับหีบ-ห่อ (Packaging Material) และ 4) พัสดุสาหรับซ่อมบารุงและปฏิบัติการ (Maintenance Repair and Operation Items; MRO) ระเบียบวิธีการศึกษาและผลการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ผู้ทาการศึกษาค้นคว้าได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลโดยขั้นตอนคือเริ่มจาก การศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นก่อนหลังจากนั้นจึงนามาวิเคราะห์หาแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งแนวทางการแก้ไขปัญหานี้แบ่งออกเป็น 4 แนวทางในการปรับปรุงคือ แนวทางที่ 1 การศึกษาครั้งนี้ได้รวบรวมข้อมูลและการทบทวนเอกสารต่างๆ นาข้อมูล วัสดุคงคลังวัสดุก่อสร้าง และฮาร์ดแวร์ โดยมีการเริ่มต้นศึกษาการดาเนินการลดสินค้าคงคลัง ด้วยวิธีการจัดประเภทสินค้าพิจารณาจากการจาแนกความเคลื่อนไหวของสินค้าโดยการแบ่ง สินค้าเป็นประเภท Fast Moving(A), Medium Moving(B), Slow Moving(C) เพื่อใช้ในการ ออกแบบพื้นที่ในการจัดวางสินค้าให้สอดคล้องกับการเคลื่อนที่ของสินค้า และความสาคัญข้างต้น โดยให้กลุ่มสินค้าที่มีความเคลื่อนไหวเร็วเป็นวัสดุคงคลังประเภท A ที่มีปริมาณ (5-15% ของ สินค้าคงคลังทั้งหมด) พบว่ามี 36 รายการ ถัดมาเป็นกลุ่มสินค้าที่มีความเคลื่อนไหวปานกลาง เป็นวัสดุคงคลังประเภท B ปริมาณปานกลาง (30% ของสินค้าคงคลังทั้งหมด) มีจานวน 105 รายการ กลุ่มสินค้าที่มีความเคลื่อนไหวช้าเป็นวัสดุคงคลังประเภท C ที่มีปริมาณมาก (50-60% ของสินค้าคงคลังทั้งหมด) มีจานวน 136 รายการ สาหรับกลุ่ม A คือรายการที่มีความสาคัญมาก
  • 6. 6 และต้องการเอาใจใส่เป็นพิเศษ กลุ่ม B คือรายการที่มีความสาคัญปานกลาง และกลุ่ม C คือ รายการที่มีความสาคัญน้อย ตารางที่ 1 สรุปสินค้าในแผนกต่างๆ สรุปผลการจัดแบ่งความสาคัญของสินค้าและค่าเฉลี่ยรวม (Inventory Turn Over) ตารางที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ยรวมของ Inventory turn over งานวิจัยนี้เลือกข้อมูลในกลุ่ม A มาศึกษาโดยใช้แนวคิดทฤษฎี EOQ เข้ามาช่วยแต่ สาหรับวัสดุคงคลังประเภท B หรือ C อาจจะคอยดูเป็นระยะๆ ไม่ต้องศึกษาอย่างละเอียด เพราะ หากทาอย่างทุกรายการจะเป็นการเสียเวลาโดยไม่จาเป็น แนวทางที่ 2 การคานวณปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Order Quantity: EOQ) เพื่อเป็นการป้องกันการสั่งซื้อที่ทาให้เกิด ต้นทุนจมไปกับสินค้าโดยไม่จาเป็น อีกทั้งทาให้ เกิดขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่สุดต่อครั้ง การกาหนดปริมาณของสินค้าคงคลังที่เหมาะสมโดย คานึงถึงต้นทุนในการบริหารสินค้าคงคลังต้องพิจารณา ปริมาณการสั่งซื้อที่มีต้นทุนต่าที่สุด (Economic Order Quantity: EOQ) ในแต่ละครั้งซึ่งสามารถคานวณหาปริมาณการสั่งซื้อที่ทาให้ ทั้งต้นทุนในการสั่งซื้อ และต้นทุนในการเก็บรักษา ทาให้ทราบว่าเมื่อสินค้าในคลังสินค้าถูกขาย ออกไปจนหมด จะต้องสั่งซื้อสินค้าเข้ามาใหม่ในจานวนเท่าใด จึงจะประหยัดที่สุด
  • 7. 7 สรุปผลเปรียบเทียบการคานวณงานจริง ตารางที่ 3 เปรียบเทียบการสั่งซื้อและต้นทุนรวมของวัสดุคงคลัง (แผนกไฟฟ้า) ตารางที่ 4 สรุปผลเปรียบเทียบการสั่งซื้อและต้นทุนรวมของวัสดุคงคลัง จากข้อมูลที่ได้จากการเปรียบเทียบจะเห็นได้ว่า ค่าใช้จ่ายรวม (ต่อปี) ของแผนกไฟฟ้า ซึ่งทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายรวมต่อปีลดลง 8,234.73 บาทต่อปี หรือคิดเป็น 21% ต่อปี
  • 8. 8 ตารางที่ 5 เปรียบเทียบการสั่งซื้อและต้นทุนรวมของวัสดุคงคลัง (แผนกประปา) ตารางที่ 6 สรุปผลเปรียบเทียบการสั่งซื้อและต้นทุนรวมของวัสดุคงคลัง จากข้อมูลที่ได้จากการเปรียบเทียบจะเห็นได้ว่า ค่าใช้จ่ายรวม (ต่อปี) ของแผนกประปา ซึ่งทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายรวมต่อปีลดลง 7,511.72 บาทต่อปี หรือคิดเป็น 15% ต่อปี
  • 9. 9 แนวทางที่ 3 การจัดรูปแบบ การวางผังสินค้าใหม่ : เพื่อการทางานที่รวดเร็วขึ้น และ ถูกต้อง ลดความผิดพลาดในการจัดเก็บ การหาสินค้านานเกินไป รวมไปถึงการเช็คยอดสินค้าไม่ ตรงตามที่บันทึกการจัดเก็บตามปริมาณการใช้งาน และแบ่งตามความถี่ในการเบิกจ่ายสินค้า (Class Based Average) ซึ่งเป็นการประยุกต์การจัดกลุ่ม ABC (ABC Analysis) มาใช้กาหนด ตาแหน่งจัดวางสินค้า เนื่องจากรายการสินค้ามีอัตราการเข้าออกที่ต่างกัน บางรายการถูกเก็บไว้ นานไม่มีการเคลื่อนไหว บางรายการมีการหมุนเวียนเข้าออกตลอดเวลาโดยจะถูกแบ่งเป็นกลุ่ม ต่างๆ โดยสินค้าที่มีอัตราการหมุนเวียนเข้าออกเป็นประจา จะถูกจัดเก็บใกล้กับทางเข้าออก ส่วนการจัดเรียงสินค้าในกลุ่ม A จะใช้ระบบจัดเรียงกาหนดตายตัวเพื่อให้หาสินค้าได้ง่าย ส่วน กลุ่ม B และ C จะใช้ระบบการจัดเรียงแบบไม่กาหนดตาแหน่งตายตัว โดยจัดแบ่งประเภท สินค้าออกเป็น 3 ประเภทตามเกรด A, B และ C ได้ดังนี้ ตารางที่ 7 แสดงการจัดประเภทสินค้าที่แบ่งเกรดตามระยะเวลาการหมุนของสินค้า ระดับสินค้า ประเภทสินค้า ระยะการเคลื่อนไหว สินค้าประเภท A สินค้ากลุ่มที่ 1 และ 2 2-3 ครั้ง / สัปดาห์ สินค้าประเภท B สินค้ากลุ่มที่ 3 2-3 สัปดาห์ / ครั้ง สินค้าประเภท C สินค้ากลุ่มที่ 4 1-3 เดือน / ครั้ง ซึ่งแผนผังคลังสินค้าใหม่จะเป็นดังนี้ ภาพที่ 2 แสดงผังคลังสินค้าใหม่
  • 10. 10 แนวทางที่ 4 การออกแบบรหัสระบุตาแหน่งการจัดเก็บ และป้ายชี้ตาแหน่งการจัดเก็บ 1. การออกแบบป้ายชี้ตาแหน่งการจัดเก็บ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ทราบว่ารายการสินค้านี้ จัดเก็บที่ใด ส่งผลให้การปฏิบัติงานของส่วนงานคงคลังทั้งการรับเข้า เบิกใช้ เกิดความสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง อีกทั้งเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน ช่วยลดเวลาสูญเปล่าอันเกิด จากการหาสินค้าไม่เจอ 2. ใช้หลักการ Visual Controlเป็นระบบควบคุมการทางานขั้นตอนการทางาน เป้าหมาย ผลลัพธ์การทางานได้ง่ายและชัดเจน รวมถึงเห็นความผิดปกติต่าง ๆ และแก้ไขได้ อย่างรวดเร็วโดยใช้ บอร์ด ป้าย สัญลักษณ์สี และอื่น ๆเพื่อสื่อสารให้พนักงานทราบถึงสิ่งที่ ต้องการได้โดยง่ายที่สุด และถูกต้อง ภาพที่ 3 ป้ายชี้ตาแหน่งการจัดเก็บ 3. จัดทาแผนผังของคลังสินค้า มาติดไว้ตรงทางเข้า-ออก ของคลัง เพื่อช่วยให้ทราบถึง ตาแหน่งพื้นที่เก็บสินค้า ภาพที่ 4 แผ่นป้ายแสดงพื้นที่ภายในคลัง 4. ชื่อชั้นวาง เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหาสินค้า และป้องกันไม่ให้พนักงานวางสินค้าผิด ตาแหน่ง อีกทั้งยังสะดวกต่อการค้นหา
  • 11. 11 ภาพที่ 5 ชั้นวางมีการบอกป้ายล๊อค และโซนการเก็บสินค้า 5. ติดป้ายบอกพื้นที่แต่ละโซนที่วางสินค้าแบ่งตามสี โซน A จะใช้ป้าย สีฟ้า, โซน B จะใช้ ป้าย สีเหลือง และโซน C จะใช้ป้าย สีชมพู ภาพที่ 6 ชื่อชั้นวางเพื่อให้หาสินค้าได้สะดวกขึ้น สรุปการเปรียบเทียบแนวทางการแก้ไขปัญหาในส่วนของคลังสินค้า ตารางที่ 8 ตารางเปรียบเทียบแนวทางการแก้ไขปัญหาในส่วนของคลังสินค้า แนวทางการแก้ไขปัญหา ข้อดี ข้อเสีย ปรับปรุงวิธีการและขั้นตอน การทางานใหม่ - ทาให้การทางานมีการวางแผน และขั้นตอนมากยิ่งขึ้น - ลดเวลาในการทางาน ในขั้นตอน ที่ไม่จาเป็นออกไปได้ เสียเวลาในการทดลอง กระบวนการดาเนินงานใหม่ ห าก ยังไม่ดีต้องมีก าร เปลี่ยนแปลงและทดลอง กระบวนการใหม่ซ้าอีก แบ่งตามอัตราการหมุนของ สินค้า Inventory Turnover - เพื่อง่ายต่อการวางผังในการ จัดเก็บ และเบิกจ่าย - ลด ภ าระก ารจัดเก็บ สิน ค้า สินค้า ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการเช่าพื้นที่ หรือค่าเสียโอกาสในการใช้พื้นที่
  • 12. 12 ใช้หลักการ Fixed Location เพื่อการจัดวางที่เป็นระเบียบ ไม่ เกิดการสับสนในตัวสินค้าของ พนักงาน สะดวกต่อการเบิก สินค้า และการตรวจนับง่ายต่อ การจัดตั้งคลังและดูแลรักษา ประสิทธิภาพการใช้พื้นที่ต่า ใช้หลักการ Random Location มีความยืดหยุ่นสูง ยากต่อการชี้ตาแหน่งของ สินค้า ใช้หลักการ FIFO (FIRST-IN-FIRST-OUT) - การจัดเก็บ หรือการนาสิ่งของที่ เก็บไว้ก่อนออกมาใช้ก่อน - เพื่อลดความเสียหายจากสินค้า หมดอายุและไม่เกิดการสูญเสีย ใช้หลักการ Visual Control ช่วยให้การทางานมีประสิทธิภาพ มากขึ้น ง่ายต่อการมองเห็น และชื่อ สินค้าป้องกันการหยิบสินค้าผิด ช่วยลดความเข้าใจผิดในตัวสินค้า ต้องใช้เวลาทาความเข้าใจ กับรหัสสินค้าให้มากขึ้น อาจจะเสียเวลาในช่วงแรกๆ แต่ต่อไปก็จะดีขึ้น จัดผังคลังสินค้าใหม่ พนักงานมีความรวดเร็วในการ ทางานมากขึ้นลดเวลา และ ระยะทางในกระบวนการทางานได้ ถ้า Lay out ที่ออกแบบใหม่ ผิดพลาดจะทาให้ กระบวนการในการทางาน ยุ่งยากขึ้นต้องมีผู้ที่เชี่ยวชาญ และมีความชานาญในการ ออกแบบคลังสินค้ามาช่วยใน การออกแบบและบริหาร จัดการ จัดผังคลังสินค้าใหม่ เป็นการแบ่งเขตที่ตั้งของสินค้าขึ้นมาใหม่ ทาให้เกิดความง่ายและ รวดเร็วในกระบวนการทางานรวมทั้งทาให้เกิดความผิดพลาดน้อยลง การจัดเก็บสินค้าตาม ความถี่ของรายการจะช่วยให้เวลาในการค้นหาสินค้าและหยิบลดลง นอกจากนั้นพนักงานที่ไม่มี ความชานาญจะสามารถหาสินค้าได้ง่ายขึ้น ทั้งนี้ได้มีการนาเอาการควบคุมด้วยการมองเห็น (Visual Control) เข้ามาช่วยในการจัดเก็บด้วย หลังจากที่มีการปรับปรุงภายในคลังแล้วเวลา เฉลี่ยทั้งหมดของวิธีการค้นหาสินค้านั้นลดลงจากที่ใช้เวลาผลการดาเนินงานส่วนงานคงคลังก่อน และหลังการปรับปรุง สรุปผลได้ดังตารางที่ 9 ตารางที่ 9 สรุปผลการแก้ไขปัญหา เกณฑ์วัดผล ผลการปรับปรุง(ก่อน) ผลการปรับปรุง(หลัง) สรุปผล เวลาเฉลี่ย ของกระบวนการ เบิกจ่ายสินค้า(นาที) 20 11 ลดลง 9 นาที
  • 13. 13 ข้อเสนอแนะ การหาปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (Economic Order Quantity; EOQ) จุดสั่งซื้อใหม่ (Reorder Point; ROP) และสต๊อกเพื่อความปลอดภัย (Safety Stock) ที่ได้จากการคานวณเป็น เพียงการพยากรณ์ เพื่อช่วยในการตัดสินใจในการกาหนดปริมาณการสั่งซื้อต่อครั้งได้ล่วงหน้า และจุดสั่งซื้อที่เหมาะสมเท่านั้น แต่เนื่องจากพัสดุคงคลังมีการเคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ดังนั้นจึง ต้องมีการตรวจสอบปริมาณการใช้พัสดุสานักงานอย่างสม่าเสมอ จึงจะทาให้การพยากรณ์มี ความแม่นยาและเกิดความผิดพลาดน้อยที่สุด ซึ่งจะทาให้การจัดเก็บพัสดุสารองคลังจะมีปริมาณ เพียงพอต่อการใช้งาน และไม่ทาให้เกิดการขาดสต็อกของพัสดุสานักงาน บรรณานุกรม จินตนัย ไพรสณฑ์. 2551. การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เพียร์สันเอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า. ชิดชเนตร ศักดิ์โพธา. 2550. การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินค้าคงคลังร้านค้าปลีก อะไหล่รถยนต์กรณีศึกษาร้านกระป๋ อง อะไหล่ยนต์. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร์ มหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย. ชาตรี เกียรติสมุทรธารา. 2547. การศึกษาวิเคราะห์ขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดของ เคมีภัณฑ์ในแผนกคลังสินค้า. โครงการปัญหาพิเศษวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม. บัณฑิตวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยี พระ จอมเกล้าพระนครเหนือ. ทิฆัมพร รอดเงิน. 2550. การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการพัสดุคงคลังของกองพัสดุ มหาวิทยาลัยเอกชนชื่อดังย่านถนนวิภาวดีรังสิต. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจ มหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัย หอการค้าไทย. ศุภชัย นุตาดี. 2550. การจัดการสินค้าคงคลังของร้านแต้หน่ากี่. ภาควิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์. คณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ศราวุธ อุดมรังสีสกุล. 2547. การจัดการคลังสินค้าสาหรับชิ้นส่วนมาตรฐานในการ ประกอบแม่พิมพ์ฉีดอลูมิเนียม. โครงการปัญหาพิเศษวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาวิศวกรรมการจัดการอุตสาหกรรม. บัณฑิตวิทยาลัย. สถาบันเทคโนโลยี พระ จอมเกล้าพระนครเหนือ. สุชาติ ศุภมงคล. 2547. การจัดการอะไหล่ให้เพิ่มผลผลิต. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ซีเอ็ด ยูเคชั่น.