SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
หนังสือชุด สุขภาพดีและความงามเริ่มจากข้างใน
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
หนังสือชุด สุขภาพดีและความงามเริ่มจากข้างใน
ผู้เขียน 	 ผศ.ดร. ไชยวัฒน์ ไชยสุต
บรรณาธิการ	 ศศิธร เทศน์อรรถภาคย์ อุไรพรรณ ปรางอุดมทรัพย์ และจินตนา นาคสมบูรณ์
ISBN 	 978-616-12-0074-9
พิมพ์ครั้งที่ 1 	 มิถุนายน 2553
จำนวน	 3,000 เล่ม
ราคา	 90 บาท		
รูปเล่มและปก	 ศิลปวัตร วิศาลศักดิ์
ผู้ผลิต	 ศูนย์หนังสือ สวทช. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
	 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง
	 อำเภอคลองหลวง ปทุมธานี 12120
	 โทรศัพท์ 0 2564 7000 โทรสาร 0 2564 7015
	 อีเมล์ cyberbookstore@nstda.or.th
ผู้จัดพิมพ์ 	 บริษัท ไทยเอฟเฟคท์ สตูดิโอ จำกัด
	 5/80 หมู่ที่ 1 บางบอน กรุงเทพมหานคร 10150
ผู้จัดจำหน่าย	 บริษัท โอเชี่ยน บุ๊ค มาร์ท จำกัด โทรศัพท์ 0 2417 1133
สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2553 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งชาติ
ไชยวัฒน์ ไชยสุต
	 สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก / ผู้เขียน: ไชยวัฒน์ ไชยสุต ; บรรณาธิการ: ศศิธร เทศน์อรรถ
ภาคย์ อุไรพรรณ ปรางอุดมทรัพย์ และจินตนา นาคสมบูรณ์. ปทุมธานี : ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เพื่อสังคม สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2553.
	 หน้า : ภาพประกอบ - - (ชุดสุขภาพดีและความงามเริ่มจากข้างใน) ; เล่ม 1
	 ISBN: 978-616-12-0074-9
	 1.สุขภาพ 2.ระบบทางเดินอาหาร 3.ระบบขับถ่าย 4.โปรไบโอติก I.ศศิธรเทศน์อรรถภาคย์
II. อุไรพรรณ ปรางอุดมทรัพย์ III. จินตนา นาคสมบูรณ์ IV. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง
ชาติ. ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสังคม V. ชื่อชุด: สุขภาพดีและความงามเริ่มจากข้างใน
	 613		 RA773
คำนำ สวทช.
มนุษย์ทุกคนล้วนมุ่งหวังที่จะมีสุขภาพที่ดีแต่ขณะเดียวกันการใช้ชีวิตของคนใน
ปัจจุบันกลับไม่ใส่ใจในเรื่องสุขภาพเท่าที่ควร มักแสวงหาอาหารการกินที่อร่อยและถูกปาก
ใช้ชีวิตอย่างรีบเร่งและเคร่งเครียด จนกระทั่งเมื่อมีสัญญาณบ่งบอกถึงความผิดปกติทาง
ร่างกาย จึงจะเริ่มหาหนทางแก้ไข อันเป็นการแก้ที่ปลายเหตุ ซึ่งปัญหาสุขภาพต่างๆ นี้
ล้วนเป็นปัญหาระดับโลกที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
ความเป็นจริงแล้วการมีสุขภาพดีมักจะเริ่มต้นจากข้างในระบบภายในร่างกาย
หากได้ทำความเข้าใจถึงสภาพภายในจิตใจและร่างกายซึ่งมีความสัมพันธ์กัน โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งหากได้เรียนรู้และเข้าใจถึงระบบการทำงานของร่างกายที่มุ่งเน้นการดูแลสุขภาพ
ของลำไส้ ระบบทางเดินอาหารที่มีผลต่อสุขภาพโดยรวม ตลอดจนเข้าใจการทำงานของ
สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่เรียกว่า “จุลินทรีย์โปรไบโอติก” ที่ช่วยเหลือเกื้อกูลและเป็นประโยชน์
ต่อสุขภาพมนุษย์ ก็จะช่วยให้เรารู้จักวิธีดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องมากขึ้น
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.)ตระหนักถึงความ
สำคัญของเรื่องดังกล่าวนี้ จึงได้จัดทำหนังสือชุด “สุขภาพดีและความงามเริ่มจากข้างใน”
ประกอบด้วย เล่มที่ 1 สุขภาพดีจากข้างใน และเล่มที่ 2 น้ำหมักชีวภาพ โดยเนื้อหาสาระของ
เล่มที่ 1 มุ่งเน้นให้ความรู้ ความเข้าใจ และความสำคัญเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร ระบบ
ขับถ่าย และจุลินทรีย์โปรไบโอติก นอกจากนี้ตอนท้ายของหนังสือยังได้รวบรวมผลการศึกษา
ที่เกี่ยวข้องซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการค้นคว้าและอ้างอิงต่อไป
สุดท้ายนี้ขอขอบคุณผศ.ดร.ไชยวัฒน์ไชยสุตและคณะที่ได้จัดทำต้นฉบับเพื่อ
เผยแพร่ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจทั่วไป หรือนักเรียน
นักศึกษาเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการศึกษา และขอขอบคุณผู้ร่วมจัดทำหนังสือเล่มนี้จน
เสร็จสมบูรณ์ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
	 (ศ.ดร.มรกต ตันติเจริญ)
	 ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสังคม
	 สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
คำนำผู้เขียน
สุขภาพดีความไม่มีโรคคือสิ่งที่ทุกคนปรารถนาแต่ด้วยรูปแบบการดำรงชีวิตปัจจัย
แวดล้อมที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย และสภาวะทางสังคม ทำให้ระบบการทำงานของอวัยวะ
ต่างๆ ในร่างกายถดถอยลง จึงทำให้คนในยุคปัจจุบันมักพบกับปัญหาสุขภาพต่างๆ ติดตามมา
เป็นเงา แม้กระทั่งปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินอาหาร เช่น โรคกระเพาะอาหาร
โรคลำไส้ มะเร็งลำไส้ และความผิดปกติเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารที่อาจส่งผลต่อปัญหา
สุขภาพของระบบอวัยวะอื่นๆ ตามมา นับเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญและมีอัตราเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี
ซึ่งแต่ก่อนนั้น โรคระบบทางเดินอาหารมักพบเป็นปัญหาสำคัญของประชากรในประเทศแถบ
ตะวันตก แต่ในปัจจุบันชาวโลกตะวันออกรวมทั้งคนไทยก็มักพบกับปัญหาสุขภาพในเรื่อง
ดังกล่าว เนื่องจากความนิยมมีพฤติกรรมการบริโภคตามอย่างชาวตะวันตก นิยมบริโภคอาหาร
จานด่วน อาหารขยะ อาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง ซึ่งหาได้ง่ายยิ่งกว่าอาหารประเภทข้าว
และอาหารที่มีเส้นใยอาหารสูงเสียอีก ประกอบกับแนวทางการดูแลสุขภาพหรือแก้ไขปัญหา
สุขภาพของคนยุคนี้ มักจะเน้นรูปแบบที่ไม่ต้องอาศัยเวลามากนัก ทำให้กระแสความนิยม
ในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพในรูปแบบต่างๆ ในปัจจุบันสูงขึ้นมากกว่าการหันมาใส่ใจ
ปรับปรุงรูปแบบการดำรงชีวิตให้มีความสมดุล ทั้งในเรื่องการออกกำลังกาย การปรับ
พฤติกรรมการบริโภคให้เหมาะสม การดูแลระบบขับถ่ายให้เป็นปกติ เพราะแท้ที่จริงแล้วระบบ
ทางเดินอาหารและระบบขับถ่ายนั้นมีอิทธิพลสูงต่อสุขภาพที่ดีและไม่ดีของคนเรา
เปรียบเสมือนคันฉ่องส่องสุขภาพได้เป็นอย่างดี
หนังสือเล่มนี้จัดทำขึ้นโดยมีเนื้อหาประกอบด้วยความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสำคัญ
ของระบบทางเดินอาหาร ระบบขับถ่าย กับแนวทางในการดูแลสุขภาพให้เกิดความสมดุลโดย
เริ่มตั้งแต่การดูแลระบบทางเดินอาหารไปจนถึงระบบขับถ่าย และแนวทางเลือกสำหรับผู้ที่
ต้องการดูแลสุขภาพในเชิงป้องกันมากกว่าการบำบัดรักษา ซึ่งเป็นเรื่องที่ทุกคนควรให้ความ
สนใจมากขึ้น
ท้ายนี้ผู้เขียนขอขอบคุณฝ่ายชุมชนและผู้ด้อยโอกาสศูนย์วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีเพื่อสังคม สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ที่ได้
สนับสนุนคณะทำงานโดยตลอด และขอขอบคุณ น.ส.ศศิธร ศิริลุน น.ส.ยศวีร์ ดวงจิตต์เจริญ
และ น.ส.นันทิยา พาหุมันโต นักศึกษาปริญญาเอก หน่วยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ทุ่มเทและเสียสละช่วยจัดเตรียมต้นฉบับจน
เสร็จสมบูรณ์					
						
					 (ผศ.ดร. ไชยวัฒน์ ไชยสุต)
สารบัญ
ตอนที่ 1 อุจจาระกับสุขภาพ
มารู้จักกับลำไส้ของเราและสิ่งที่ซ่อนอยู่ในนั้นกันเถอะ 	 9
รู้หรือไม่ว่าอะไรดีหรือไม่ดีต่อลำไส้ของเรา	 13
สารที่เกิดขึ้นในลำไส้ใหญ่ ส่งผลกระทบต่อร่างกายอย่างไร 	 15
มนุษย์ยังจะบริโภคอาหารประเภทโปรตีนได้อีกหรือ	 17
สุขภาพดีและความงามของมนุษย์ เริ่มต้นที่ลำไส้	 20
ความงามเกี่ยวข้องกับสุขภาพลำไส้อย่างไร	 21
การดูแลสุขภาพลำไส้	 22
คุณรู้จักอุจจาระดีแค่ไหน?	 25
รูปลักษณ์ของอุจจาระส่องสุขภาพของเราอย่างไร	 25
การเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่และการป้องกัน 	 29
ตอนที่ 2 โปรไบโอติก
จุลินทรีย์คืออะไร	 36
จุลินทรีย์ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด	 37
จุลินทรีย์เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร	 39
โปรไบโอติกคืออะไรกันแน่	 41
โปรไบโอติกหน้าตาเป็นแบบใด และจุลินทรีย์ทุกชนิดเป็นโปรไบโอติกได้หรือไม่?	46
ตัวอย่างแบคทีเรียโปรไบโอติกที่มีการนำมาใช้จริง	 52
เมื่อโปรไบโอติกเป็นจุลินทรีย์ แล้วจะบริโภคด้วยวิธีใด?	 53
โปรไบโอติกรักษาโรคอะไร	 56
กลไกการทำงานของโปรไบโอติก	 59
โปรไบโอติกที่ดีหาได้จากที่ไหน	 60
คนที่มีสุขภาพดีจำเป็นต้องบริโภคโปรไบโอติกหรือไม่	 61
เหตุผลที่โปรไบโอติกช่วยส่งเสริมสุขภาพ	 62
โปรไบโอติกมีประโยชน์ต่อผู้บริโภคอย่างไร	 63
สมมติฐานของโปรไบโอติกต่อสุขภาพ	 66
โปรไบโอติกใช้ในผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืชหรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ ได้ไหม	 71
เอกสารอ้างอิง	 72
16
การหมักย่อยสารอาหารในสภาวะที่ไม่ใช้อากาศแล้วได้
สารที่ทำให้เกิดกลิ่นเหม็น
ที่มา : ดัดแปลงจาก Mackie และคณะ (1998)
คาร์โบไฮเดรต
ไขมัน โปรตีน
กรดไขมัน
อินโดลและฟีนอล
สารที่มีซัลเฟอร์
เป็นองค์ประกอบ
เกิดการย่อย (degradation) และนำไปใช้ (utilization) ในการสร้างเป็นเซลล์จุลินทรีย์
เซล์จุลินทรีย์ แก๊สมีเทน แก๊สคาร์บอน
ไดออกไซด์
น้ำ
เกิดการสลาย
(ปฏิกิริยาไฮโดรไลซีส)
หรือเกิดการหมัก
(เฟอร์เมนเตชัน)
แอมโมเนียและเอมีน
ได้สารที่ทำให้เกิด
กลิ่นเหม็นและอาจ
เป็นพิษต่อร่างกายได้
17
อุจจาระกับสุขภาพ
สุขภาพดี ด้วยโปรไบโอติก
มนุษย์ยังจะบริโภคอาหารประเภทโปรตีนได้อีกหรือ
ถ้าเราสามารถควบคุมให้ระบบทางเดินอาหารของเรามีปริมาณจุลินทรีย์ชนิดที่มี
ประโยชน์ (จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เรียกว่า โปรไบโอติก) ให้มีมากกว่าหรือ
สมดุลกับจุลินทรีย์ชนิดที่เป็นโทษได้ ควบคู่กับการบริโภคอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อ
ร่างกาย ก็จะสามารถควบคุมปัญหาสุขภาพและการเกิดความเสื่อมต่อระบบทางเดิน
อาหารตลอดจนระบบอื่นๆ ของร่างกายให้มีสุขภาพดีได้
สารอินโดลเกิดจากการหมักย่อยกรดอะมิโนทริปโตแฟนโดยเอนไซม์ที่พบใน
แบคทีเรียบางชนิดที่อยู่ในลำไส้ เช่น แบคทีเรีย แบคเทอรอยเดส ทีต้าไอโอตาไมครอน
(Bacteroides thetaiotamicron) และยิ่งมีการบริโภคเนื้อมากขึ้นก็จะยิ่งเกิดสารอินโดล
เพิ่มมากขึ้นด้วย
กรดอะมิโนชนิดต่างๆ ที่เกิดจากการสลายโปรตีน
ไทโรซีน ฟีนิลอลานีน ทริปโตแฟน
ฟีนอล
พาราครีซอล กรดเบนโซอิก อินโดล สแกโตล
การหมักย่อยสารอาหารประเภทโปรตีนแล้วได้สารที่
ทำให้เกิดกลิ่นเหม็นและอาจเป็นสารพิษ
ที่มา : ดัดแปลงจาก Mackie และคณะ (1998)
18
สารฟีนอลและพาราครีซอลเกิดจากการหมักย่อยกรดอะมิโนไทโรซีนโดย
เอนไซม์ที่พบในแบคทีเรียบางชนิดที่อยู่ในลำไส้ชนิดที่ต้องการอากาศและไม่ต้องการ
อากาศในการเจริญ ซึ่งฟีนอลสามารถเกิดจากการหมักย่อยโปรตีนโดยแบคทีเรีย
อี โคไล (E. coli) และพาราครีซอลเกิดจากการหมักย่อยโปรตีนโดยแบคทีเรีย แบคเทอรอยเดส
ฟราจิลิส (Bacteroides fragilis) และสารสแกโตลเกิดจากการหมักย่อยกรดอะมิโนทริป
โตแฟนด้วยเช่นกัน ดังนั้นหากยิ่งบริโภคเนื้อสัตว์มากขึ้นสารเหล่านี้จะถูกผลิตมากขึ้น
และจะลดลงเมื่อบริโภคเส้นใยมากขึ้น
กลิ่นของอุจจาระจะเป็นเสมือนดัชนีช่วยชี้บ่งการเกิดสาร
เหล่านี้ขึ้นภายในลำไส้ใหญ่ของมนุษย์
กินเนื้อทีไร เหม็น
ตลบอบอวลทุกที...
จะเป็นลม...
โอย...
ลำไส้ไม่สบาย
19
อุจจาระกับสุขภาพ
สุขภาพดี ด้วยโปรไบโอติก
นอกจากนี้ยังมีสารเมแทบอไลท์(metabolites)ชนิดอื่นๆอีกมากมายที่ไม่ได้
เป็นประโยชน์หรือก่อให้เกิดผลเสียต่อร่างกาย ซึ่งเกิดจากสารอาหารประเภทโปรตีนและ
ไขมันที่ถูกย่อยโดยจุลินทรีย์บางชนิดในลำไส้ ทำให้เกิดแก๊สหรือสารต่างๆ เช่น แก๊ส
ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (Hydrogen sulphide) หรือแก๊สไข่เน่า แก๊สมีเทน แก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์ กรดไขมันชนิดระเหย แอมโมเนีย เอมีน เป็นต้น ซึ่งสารเหล่านี้มัก
เป็นต้นเหตุทำให้เกิดกลิ่นเหม็น ทั้งที่ปนมากับอุจจาระ หรือออกมาทางลมหายใจ
ลมปาก (กลิ่นปาก) และทางผิวหนัง (กลิ่นตัว) สะท้อนถึงบุคลิกภาพภายนอกของคนเรา
ได้ด้วย นอกจากอาหารโปรตีน ไขมันแล้ว อาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตบางชนิดที่
ร่างกายไม่สามารถย่อยได้และไม่มีจุลินทรีย์ชนิดที่เป็นประโยชน์ในลำไส้มาช่วยย่อย ก็
สามารถทำให้เกิดกลิ่นได้เช่นกัน
ทำไมกลิ่นปากแรงเหมือน
ผายลมทางปากแบบนี้นะ...
20
สุขภาพดีและความงามของมนุษย์ เริ่มต้นที่ลำไส้
จากรูปแบบการดำรงชีวิตแบบขาดความสมดุลของคนในยุคปัจจุบันที่มีการ
แข่งขันอยู่ตลอดเวลา การดิ้นรนเพื่อความอยู่รอด ขาดการเอาใจใส่ในเรื่องสุขภาพ ส่งผล
ต่อพฤติกรรมการบริโภค มีความนิยมบริโภคที่เน้นไปทางตะวันตกมากขึ้น บริโภคอาหาร
ประเภทนม เนย เนื้อ ขนมปังขาว ซึ่งเรียกว่าเป็นอาหารขยะกันมากขึ้น โดยละเลยการ
รับประทานอาหารจำพวกที่มีเส้นใย ประกอบกับสภาวะกดดันต่างๆ จนเป็นที่มาของ
ปัญหาการทำงานของลำไส้ เกิดภาวะลำไส้ทำงานผิดปกติ เช่น ท้องผูกหรือท้องเสีย
เป็นประจำ ซึ่งถ้ามีอาการร้ายแรงก็อาจลามจนถึงขั้นเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ ปัจจุบัน
คนไทยเองเริ่มมีอัตราการเป็นโรคนี้เพิ่มขึ้น จนติดอันดับที่ 3 ของโรคมะเร็งต่างๆ การดูแล
สุขภาพลำไส้ และระบบทางเดินอาหารจึงมีบทบาทสำคัญต่อสุขภาพโดยรวม
เป็นอะไรล่ะ ร้อง
ครวญครางเชียว
เจ้านายฉันนะสิ กินแต่ของ
ไม่มีประโยชน์ ขับถ่ายไม่เป็น
เวลา ขยะเต็มท้องของฉันแล้ว
เจ้านายฉัน
ทานผัก ผลไม้
ขับถ่ายเป็น
เวลา ฉันเลย
มีความสุข
นี่ถ้าได้ขูดเอาสิ่ง
ปฏิกูลไปกอง
รวมกันคงได้
หลายกิโล ฉัน
คงสบายตัว
และมีความสุข
อย่างเธอ
21
อุจจาระกับสุขภาพ
สุขภาพดี ด้วยโปรไบโอติก
ความงามเกี่ยวข้องกับสุขภาพลำไส้อย่างไร
ลำไส้ใหญ่เปรียบเสมือนถังขยะในตัวเราคอยสะสมกากอาหารที่เหลือจากการ
ดูดซึมสารอาหารไปใช้ ซึ่งถ้าระบบการกำจัดขยะไม่มีประสิทธิภาพ อุจจาระที่เปรียบ
เสมือนขยะที่ต้องกำจัดก็จะคั่งค้างอยู่ในลำไส้ใหญ่ ประกอบกับการรับประทานอาหารที่
ไม่ได้สัดส่วน คือรับประทานอาหารประเภทโปรตีนจากเนื้อสัตว์ ไขมัน หรือแป้งมากเกิน
ไป เมื่อกากอาหารเหล่านี้ผ่านไปตามลำไส้ จะเกาะติดกับผนังลำไส้ และอาจติดค้าง
ทับถมจนหนาขึ้นเรื่อยๆ เป็นตะกรัน (Chronic dunk) ทำให้ช่องว่างระหว่างรอยพับใน
ลำไส้แคบลง ขัดขวางการดูดซึมสารอาหารที่ดี ทำให้กากอาหารที่ติดอยู่เกิดการบูดเน่า
และถูกเปลี่ยนเป็นสารที่เป็นโทษต่อร่างกายได้ เมื่อลำไส้ดูดซึมสารอาหารก็จะดูดเอาสาร
ที่เป็นโทษหรือสารพิษที่ตกค้างนี้กลับเข้าสู่ร่างกาย ทำให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ และเมื่อ
ร่างกายไม่ยอมให้สารพิษไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือดร่างกายจะต้องการขับถ่ายส่วนเกิน
มาเป็นของเสียในรูปของเหงื่อ อุจจาระและปัสสาวะ เพื่อที่จะทำให้ร่างกายปลอดภัย ดัง
นั้นในผู้ที่มีอาการท้องผูก ไม่ขับถ่ายของเสียทุกวัน อาจมีผิวพรรณไม่ผ่องใส เกิดสิว และ
ปัญหาสุขภาพอื่นๆ ได้
เธอกับฉันมีหน้าที่คล้ายกันเลยนะ
ลำไส้ ถังขยะ

More Related Content

What's hot

PROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for HealthPROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for HealthUtai Sukviwatsirikul
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมายร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมายUtai Sukviwatsirikul
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02oranuch_u
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Utai Sukviwatsirikul
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 

What's hot (20)

PROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for HealthPROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมายร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
ร้านขายยากับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตที่สอดคล้องกับกฏหมาย
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต02
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 
ใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหารใบความรู้การย่อยอาหาร
ใบความรู้การย่อยอาหาร
 
Presentation haccp
Presentation haccpPresentation haccp
Presentation haccp
 
Pop oui
Pop ouiPop oui
Pop oui
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5  (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 

Similar to สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก

อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1Utai Sukviwatsirikul
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5Utai Sukviwatsirikul
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดVorawut Wongumpornpinit
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1Utai Sukviwatsirikul
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Vida Yosita
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารThira Woratanarat
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธีเอิท. เอิท
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกโครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกiooido
 
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกโครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกiooido
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30Chanathip Loahasakthavorn
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพrubtumproject.com
 

Similar to สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก (20)

อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1อาหารสุขภาพ 1
อาหารสุขภาพ 1
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 การออกกำลังกายที่ถูกวิธี การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
การออกกำลังกายที่ถูกวิธี
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกโครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
 
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกโครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
โครงงานคอมพิวเตอร์ 6/3.26.30
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก

  • 2. สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก หนังสือชุด สุขภาพดีและความงามเริ่มจากข้างใน ผู้เขียน ผศ.ดร. ไชยวัฒน์ ไชยสุต บรรณาธิการ ศศิธร เทศน์อรรถภาคย์ อุไรพรรณ ปรางอุดมทรัพย์ และจินตนา นาคสมบูรณ์ ISBN 978-616-12-0074-9 พิมพ์ครั้งที่ 1 มิถุนายน 2553 จำนวน 3,000 เล่ม ราคา 90 บาท รูปเล่มและปก ศิลปวัตร วิศาลศักดิ์ ผู้ผลิต ศูนย์หนังสือ สวทช. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 111 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง ปทุมธานี 12120 โทรศัพท์ 0 2564 7000 โทรสาร 0 2564 7015 อีเมล์ cyberbookstore@nstda.or.th ผู้จัดพิมพ์ บริษัท ไทยเอฟเฟคท์ สตูดิโอ จำกัด 5/80 หมู่ที่ 1 บางบอน กรุงเทพมหานคร 10150 ผู้จัดจำหน่าย บริษัท โอเชี่ยน บุ๊ค มาร์ท จำกัด โทรศัพท์ 0 2417 1133 สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2553 ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 โดยสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ ไชยวัฒน์ ไชยสุต สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก / ผู้เขียน: ไชยวัฒน์ ไชยสุต ; บรรณาธิการ: ศศิธร เทศน์อรรถ ภาคย์ อุไรพรรณ ปรางอุดมทรัพย์ และจินตนา นาคสมบูรณ์. ปทุมธานี : ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อสังคม สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, 2553. หน้า : ภาพประกอบ - - (ชุดสุขภาพดีและความงามเริ่มจากข้างใน) ; เล่ม 1 ISBN: 978-616-12-0074-9 1.สุขภาพ 2.ระบบทางเดินอาหาร 3.ระบบขับถ่าย 4.โปรไบโอติก I.ศศิธรเทศน์อรรถภาคย์ II. อุไรพรรณ ปรางอุดมทรัพย์ III. จินตนา นาคสมบูรณ์ IV. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ชาติ. ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสังคม V. ชื่อชุด: สุขภาพดีและความงามเริ่มจากข้างใน 613 RA773
  • 3. คำนำ สวทช. มนุษย์ทุกคนล้วนมุ่งหวังที่จะมีสุขภาพที่ดีแต่ขณะเดียวกันการใช้ชีวิตของคนใน ปัจจุบันกลับไม่ใส่ใจในเรื่องสุขภาพเท่าที่ควร มักแสวงหาอาหารการกินที่อร่อยและถูกปาก ใช้ชีวิตอย่างรีบเร่งและเคร่งเครียด จนกระทั่งเมื่อมีสัญญาณบ่งบอกถึงความผิดปกติทาง ร่างกาย จึงจะเริ่มหาหนทางแก้ไข อันเป็นการแก้ที่ปลายเหตุ ซึ่งปัญหาสุขภาพต่างๆ นี้ ล้วนเป็นปัญหาระดับโลกที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ความเป็นจริงแล้วการมีสุขภาพดีมักจะเริ่มต้นจากข้างในระบบภายในร่างกาย หากได้ทำความเข้าใจถึงสภาพภายในจิตใจและร่างกายซึ่งมีความสัมพันธ์กัน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งหากได้เรียนรู้และเข้าใจถึงระบบการทำงานของร่างกายที่มุ่งเน้นการดูแลสุขภาพ ของลำไส้ ระบบทางเดินอาหารที่มีผลต่อสุขภาพโดยรวม ตลอดจนเข้าใจการทำงานของ สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ที่เรียกว่า “จุลินทรีย์โปรไบโอติก” ที่ช่วยเหลือเกื้อกูลและเป็นประโยชน์ ต่อสุขภาพมนุษย์ ก็จะช่วยให้เรารู้จักวิธีดูแลสุขภาพอย่างถูกต้องมากขึ้น สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.)ตระหนักถึงความ สำคัญของเรื่องดังกล่าวนี้ จึงได้จัดทำหนังสือชุด “สุขภาพดีและความงามเริ่มจากข้างใน” ประกอบด้วย เล่มที่ 1 สุขภาพดีจากข้างใน และเล่มที่ 2 น้ำหมักชีวภาพ โดยเนื้อหาสาระของ เล่มที่ 1 มุ่งเน้นให้ความรู้ ความเข้าใจ และความสำคัญเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร ระบบ ขับถ่าย และจุลินทรีย์โปรไบโอติก นอกจากนี้ตอนท้ายของหนังสือยังได้รวบรวมผลการศึกษา ที่เกี่ยวข้องซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการค้นคว้าและอ้างอิงต่อไป สุดท้ายนี้ขอขอบคุณผศ.ดร.ไชยวัฒน์ไชยสุตและคณะที่ได้จัดทำต้นฉบับเพื่อ เผยแพร่ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่สนใจทั่วไป หรือนักเรียน นักศึกษาเพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการศึกษา และขอขอบคุณผู้ร่วมจัดทำหนังสือเล่มนี้จน เสร็จสมบูรณ์ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ (ศ.ดร.มรกต ตันติเจริญ) ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อสังคม สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
  • 4. คำนำผู้เขียน สุขภาพดีความไม่มีโรคคือสิ่งที่ทุกคนปรารถนาแต่ด้วยรูปแบบการดำรงชีวิตปัจจัย แวดล้อมที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย และสภาวะทางสังคม ทำให้ระบบการทำงานของอวัยวะ ต่างๆ ในร่างกายถดถอยลง จึงทำให้คนในยุคปัจจุบันมักพบกับปัญหาสุขภาพต่างๆ ติดตามมา เป็นเงา แม้กระทั่งปัญหาสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินอาหาร เช่น โรคกระเพาะอาหาร โรคลำไส้ มะเร็งลำไส้ และความผิดปกติเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารที่อาจส่งผลต่อปัญหา สุขภาพของระบบอวัยวะอื่นๆ ตามมา นับเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญและมีอัตราเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี ซึ่งแต่ก่อนนั้น โรคระบบทางเดินอาหารมักพบเป็นปัญหาสำคัญของประชากรในประเทศแถบ ตะวันตก แต่ในปัจจุบันชาวโลกตะวันออกรวมทั้งคนไทยก็มักพบกับปัญหาสุขภาพในเรื่อง ดังกล่าว เนื่องจากความนิยมมีพฤติกรรมการบริโภคตามอย่างชาวตะวันตก นิยมบริโภคอาหาร จานด่วน อาหารขยะ อาหารที่มีไขมันและน้ำตาลสูง ซึ่งหาได้ง่ายยิ่งกว่าอาหารประเภทข้าว และอาหารที่มีเส้นใยอาหารสูงเสียอีก ประกอบกับแนวทางการดูแลสุขภาพหรือแก้ไขปัญหา สุขภาพของคนยุคนี้ มักจะเน้นรูปแบบที่ไม่ต้องอาศัยเวลามากนัก ทำให้กระแสความนิยม ในการบริโภคผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพในรูปแบบต่างๆ ในปัจจุบันสูงขึ้นมากกว่าการหันมาใส่ใจ ปรับปรุงรูปแบบการดำรงชีวิตให้มีความสมดุล ทั้งในเรื่องการออกกำลังกาย การปรับ พฤติกรรมการบริโภคให้เหมาะสม การดูแลระบบขับถ่ายให้เป็นปกติ เพราะแท้ที่จริงแล้วระบบ ทางเดินอาหารและระบบขับถ่ายนั้นมีอิทธิพลสูงต่อสุขภาพที่ดีและไม่ดีของคนเรา เปรียบเสมือนคันฉ่องส่องสุขภาพได้เป็นอย่างดี หนังสือเล่มนี้จัดทำขึ้นโดยมีเนื้อหาประกอบด้วยความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับความสำคัญ ของระบบทางเดินอาหาร ระบบขับถ่าย กับแนวทางในการดูแลสุขภาพให้เกิดความสมดุลโดย เริ่มตั้งแต่การดูแลระบบทางเดินอาหารไปจนถึงระบบขับถ่าย และแนวทางเลือกสำหรับผู้ที่ ต้องการดูแลสุขภาพในเชิงป้องกันมากกว่าการบำบัดรักษา ซึ่งเป็นเรื่องที่ทุกคนควรให้ความ สนใจมากขึ้น ท้ายนี้ผู้เขียนขอขอบคุณฝ่ายชุมชนและผู้ด้อยโอกาสศูนย์วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีเพื่อสังคม สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ที่ได้ สนับสนุนคณะทำงานโดยตลอด และขอขอบคุณ น.ส.ศศิธร ศิริลุน น.ส.ยศวีร์ ดวงจิตต์เจริญ และ น.ส.นันทิยา พาหุมันโต นักศึกษาปริญญาเอก หน่วยวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ที่ได้ทุ่มเทและเสียสละช่วยจัดเตรียมต้นฉบับจน เสร็จสมบูรณ์ (ผศ.ดร. ไชยวัฒน์ ไชยสุต)
  • 5. สารบัญ ตอนที่ 1 อุจจาระกับสุขภาพ มารู้จักกับลำไส้ของเราและสิ่งที่ซ่อนอยู่ในนั้นกันเถอะ 9 รู้หรือไม่ว่าอะไรดีหรือไม่ดีต่อลำไส้ของเรา 13 สารที่เกิดขึ้นในลำไส้ใหญ่ ส่งผลกระทบต่อร่างกายอย่างไร 15 มนุษย์ยังจะบริโภคอาหารประเภทโปรตีนได้อีกหรือ 17 สุขภาพดีและความงามของมนุษย์ เริ่มต้นที่ลำไส้ 20 ความงามเกี่ยวข้องกับสุขภาพลำไส้อย่างไร 21 การดูแลสุขภาพลำไส้ 22 คุณรู้จักอุจจาระดีแค่ไหน? 25 รูปลักษณ์ของอุจจาระส่องสุขภาพของเราอย่างไร 25 การเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่และการป้องกัน 29 ตอนที่ 2 โปรไบโอติก จุลินทรีย์คืออะไร 36 จุลินทรีย์ไม่ได้น่ากลัวอย่างที่คิด 37 จุลินทรีย์เกี่ยวข้องกับเราอย่างไร 39 โปรไบโอติกคืออะไรกันแน่ 41 โปรไบโอติกหน้าตาเป็นแบบใด และจุลินทรีย์ทุกชนิดเป็นโปรไบโอติกได้หรือไม่? 46 ตัวอย่างแบคทีเรียโปรไบโอติกที่มีการนำมาใช้จริง 52 เมื่อโปรไบโอติกเป็นจุลินทรีย์ แล้วจะบริโภคด้วยวิธีใด? 53 โปรไบโอติกรักษาโรคอะไร 56 กลไกการทำงานของโปรไบโอติก 59 โปรไบโอติกที่ดีหาได้จากที่ไหน 60 คนที่มีสุขภาพดีจำเป็นต้องบริโภคโปรไบโอติกหรือไม่ 61 เหตุผลที่โปรไบโอติกช่วยส่งเสริมสุขภาพ 62 โปรไบโอติกมีประโยชน์ต่อผู้บริโภคอย่างไร 63 สมมติฐานของโปรไบโอติกต่อสุขภาพ 66 โปรไบโอติกใช้ในผลิตภัณฑ์ที่ได้จากพืชหรือผลิตภัณฑ์อื่นๆ ได้ไหม 71 เอกสารอ้างอิง 72
  • 6. 16 การหมักย่อยสารอาหารในสภาวะที่ไม่ใช้อากาศแล้วได้ สารที่ทำให้เกิดกลิ่นเหม็น ที่มา : ดัดแปลงจาก Mackie และคณะ (1998) คาร์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน กรดไขมัน อินโดลและฟีนอล สารที่มีซัลเฟอร์ เป็นองค์ประกอบ เกิดการย่อย (degradation) และนำไปใช้ (utilization) ในการสร้างเป็นเซลล์จุลินทรีย์ เซล์จุลินทรีย์ แก๊สมีเทน แก๊สคาร์บอน ไดออกไซด์ น้ำ เกิดการสลาย (ปฏิกิริยาไฮโดรไลซีส) หรือเกิดการหมัก (เฟอร์เมนเตชัน) แอมโมเนียและเอมีน ได้สารที่ทำให้เกิด กลิ่นเหม็นและอาจ เป็นพิษต่อร่างกายได้
  • 7. 17 อุจจาระกับสุขภาพ สุขภาพดี ด้วยโปรไบโอติก มนุษย์ยังจะบริโภคอาหารประเภทโปรตีนได้อีกหรือ ถ้าเราสามารถควบคุมให้ระบบทางเดินอาหารของเรามีปริมาณจุลินทรีย์ชนิดที่มี ประโยชน์ (จุลินทรีย์ที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย เรียกว่า โปรไบโอติก) ให้มีมากกว่าหรือ สมดุลกับจุลินทรีย์ชนิดที่เป็นโทษได้ ควบคู่กับการบริโภคอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อ ร่างกาย ก็จะสามารถควบคุมปัญหาสุขภาพและการเกิดความเสื่อมต่อระบบทางเดิน อาหารตลอดจนระบบอื่นๆ ของร่างกายให้มีสุขภาพดีได้ สารอินโดลเกิดจากการหมักย่อยกรดอะมิโนทริปโตแฟนโดยเอนไซม์ที่พบใน แบคทีเรียบางชนิดที่อยู่ในลำไส้ เช่น แบคทีเรีย แบคเทอรอยเดส ทีต้าไอโอตาไมครอน (Bacteroides thetaiotamicron) และยิ่งมีการบริโภคเนื้อมากขึ้นก็จะยิ่งเกิดสารอินโดล เพิ่มมากขึ้นด้วย กรดอะมิโนชนิดต่างๆ ที่เกิดจากการสลายโปรตีน ไทโรซีน ฟีนิลอลานีน ทริปโตแฟน ฟีนอล พาราครีซอล กรดเบนโซอิก อินโดล สแกโตล การหมักย่อยสารอาหารประเภทโปรตีนแล้วได้สารที่ ทำให้เกิดกลิ่นเหม็นและอาจเป็นสารพิษ ที่มา : ดัดแปลงจาก Mackie และคณะ (1998)
  • 8. 18 สารฟีนอลและพาราครีซอลเกิดจากการหมักย่อยกรดอะมิโนไทโรซีนโดย เอนไซม์ที่พบในแบคทีเรียบางชนิดที่อยู่ในลำไส้ชนิดที่ต้องการอากาศและไม่ต้องการ อากาศในการเจริญ ซึ่งฟีนอลสามารถเกิดจากการหมักย่อยโปรตีนโดยแบคทีเรีย อี โคไล (E. coli) และพาราครีซอลเกิดจากการหมักย่อยโปรตีนโดยแบคทีเรีย แบคเทอรอยเดส ฟราจิลิส (Bacteroides fragilis) และสารสแกโตลเกิดจากการหมักย่อยกรดอะมิโนทริป โตแฟนด้วยเช่นกัน ดังนั้นหากยิ่งบริโภคเนื้อสัตว์มากขึ้นสารเหล่านี้จะถูกผลิตมากขึ้น และจะลดลงเมื่อบริโภคเส้นใยมากขึ้น กลิ่นของอุจจาระจะเป็นเสมือนดัชนีช่วยชี้บ่งการเกิดสาร เหล่านี้ขึ้นภายในลำไส้ใหญ่ของมนุษย์ กินเนื้อทีไร เหม็น ตลบอบอวลทุกที... จะเป็นลม... โอย... ลำไส้ไม่สบาย
  • 9. 19 อุจจาระกับสุขภาพ สุขภาพดี ด้วยโปรไบโอติก นอกจากนี้ยังมีสารเมแทบอไลท์(metabolites)ชนิดอื่นๆอีกมากมายที่ไม่ได้ เป็นประโยชน์หรือก่อให้เกิดผลเสียต่อร่างกาย ซึ่งเกิดจากสารอาหารประเภทโปรตีนและ ไขมันที่ถูกย่อยโดยจุลินทรีย์บางชนิดในลำไส้ ทำให้เกิดแก๊สหรือสารต่างๆ เช่น แก๊ส ไฮโดรเจนซัลไฟด์ (Hydrogen sulphide) หรือแก๊สไข่เน่า แก๊สมีเทน แก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์ กรดไขมันชนิดระเหย แอมโมเนีย เอมีน เป็นต้น ซึ่งสารเหล่านี้มัก เป็นต้นเหตุทำให้เกิดกลิ่นเหม็น ทั้งที่ปนมากับอุจจาระ หรือออกมาทางลมหายใจ ลมปาก (กลิ่นปาก) และทางผิวหนัง (กลิ่นตัว) สะท้อนถึงบุคลิกภาพภายนอกของคนเรา ได้ด้วย นอกจากอาหารโปรตีน ไขมันแล้ว อาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตบางชนิดที่ ร่างกายไม่สามารถย่อยได้และไม่มีจุลินทรีย์ชนิดที่เป็นประโยชน์ในลำไส้มาช่วยย่อย ก็ สามารถทำให้เกิดกลิ่นได้เช่นกัน ทำไมกลิ่นปากแรงเหมือน ผายลมทางปากแบบนี้นะ...
  • 10. 20 สุขภาพดีและความงามของมนุษย์ เริ่มต้นที่ลำไส้ จากรูปแบบการดำรงชีวิตแบบขาดความสมดุลของคนในยุคปัจจุบันที่มีการ แข่งขันอยู่ตลอดเวลา การดิ้นรนเพื่อความอยู่รอด ขาดการเอาใจใส่ในเรื่องสุขภาพ ส่งผล ต่อพฤติกรรมการบริโภค มีความนิยมบริโภคที่เน้นไปทางตะวันตกมากขึ้น บริโภคอาหาร ประเภทนม เนย เนื้อ ขนมปังขาว ซึ่งเรียกว่าเป็นอาหารขยะกันมากขึ้น โดยละเลยการ รับประทานอาหารจำพวกที่มีเส้นใย ประกอบกับสภาวะกดดันต่างๆ จนเป็นที่มาของ ปัญหาการทำงานของลำไส้ เกิดภาวะลำไส้ทำงานผิดปกติ เช่น ท้องผูกหรือท้องเสีย เป็นประจำ ซึ่งถ้ามีอาการร้ายแรงก็อาจลามจนถึงขั้นเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้ ปัจจุบัน คนไทยเองเริ่มมีอัตราการเป็นโรคนี้เพิ่มขึ้น จนติดอันดับที่ 3 ของโรคมะเร็งต่างๆ การดูแล สุขภาพลำไส้ และระบบทางเดินอาหารจึงมีบทบาทสำคัญต่อสุขภาพโดยรวม เป็นอะไรล่ะ ร้อง ครวญครางเชียว เจ้านายฉันนะสิ กินแต่ของ ไม่มีประโยชน์ ขับถ่ายไม่เป็น เวลา ขยะเต็มท้องของฉันแล้ว เจ้านายฉัน ทานผัก ผลไม้ ขับถ่ายเป็น เวลา ฉันเลย มีความสุข นี่ถ้าได้ขูดเอาสิ่ง ปฏิกูลไปกอง รวมกันคงได้ หลายกิโล ฉัน คงสบายตัว และมีความสุข อย่างเธอ
  • 11. 21 อุจจาระกับสุขภาพ สุขภาพดี ด้วยโปรไบโอติก ความงามเกี่ยวข้องกับสุขภาพลำไส้อย่างไร ลำไส้ใหญ่เปรียบเสมือนถังขยะในตัวเราคอยสะสมกากอาหารที่เหลือจากการ ดูดซึมสารอาหารไปใช้ ซึ่งถ้าระบบการกำจัดขยะไม่มีประสิทธิภาพ อุจจาระที่เปรียบ เสมือนขยะที่ต้องกำจัดก็จะคั่งค้างอยู่ในลำไส้ใหญ่ ประกอบกับการรับประทานอาหารที่ ไม่ได้สัดส่วน คือรับประทานอาหารประเภทโปรตีนจากเนื้อสัตว์ ไขมัน หรือแป้งมากเกิน ไป เมื่อกากอาหารเหล่านี้ผ่านไปตามลำไส้ จะเกาะติดกับผนังลำไส้ และอาจติดค้าง ทับถมจนหนาขึ้นเรื่อยๆ เป็นตะกรัน (Chronic dunk) ทำให้ช่องว่างระหว่างรอยพับใน ลำไส้แคบลง ขัดขวางการดูดซึมสารอาหารที่ดี ทำให้กากอาหารที่ติดอยู่เกิดการบูดเน่า และถูกเปลี่ยนเป็นสารที่เป็นโทษต่อร่างกายได้ เมื่อลำไส้ดูดซึมสารอาหารก็จะดูดเอาสาร ที่เป็นโทษหรือสารพิษที่ตกค้างนี้กลับเข้าสู่ร่างกาย ทำให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ และเมื่อ ร่างกายไม่ยอมให้สารพิษไหลเวียนอยู่ในกระแสเลือดร่างกายจะต้องการขับถ่ายส่วนเกิน มาเป็นของเสียในรูปของเหงื่อ อุจจาระและปัสสาวะ เพื่อที่จะทำให้ร่างกายปลอดภัย ดัง นั้นในผู้ที่มีอาการท้องผูก ไม่ขับถ่ายของเสียทุกวัน อาจมีผิวพรรณไม่ผ่องใส เกิดสิว และ ปัญหาสุขภาพอื่นๆ ได้ เธอกับฉันมีหน้าที่คล้ายกันเลยนะ ลำไส้ ถังขยะ