SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส (โรคไข้ฉี่หนู) ในภาวะน้ําท่วม สําหรับเจ้าหน้าที่

            โรคเลปโตสไปโรสิส (Leptospirosis) หรือโรคฉี่หนู เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) ติดต่อ
โดยการสัมผัสกับปัสสาวะ หรือสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่มีการปนเปื้อนของเชื้อ ผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้ฉี่หนู ได้แก่ ผู้ที่
ลุยน้ําหรือแช่น้ํานานๆ ผู้ที่เดินลุยน้ําท่วม คนงานบ่อปลา ชาวสวน ชาวนา คนงานขุดลอกท่อระบายน้ํา และประชาชน
ทั่วไป โดยเฉพาะช่วงน้ําท่วมและหลังน้ําท่วม เพราะพื้นดินแฉะ มีน้ําขัง เอื้ออํานวยต่อการเจริญเติบโตและสะสม
ของเชื้อในธรรมชาติ จึงควรมีมาตรการป้องกันและการเฝ้าระวังโรคอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เกิดอุทกภัย

การติดตอ
         เชื้อไข้ฉี่หนูในสิ่งแวดล้อมจะเข้าสู่ร่างกายได้โดยการไชเข้าทางบาดแผลหรือเข้าทางเยื่อบุอ่อนๆ เช่น
ง่ามมือ ง่ามเท้า เยื่อบุตา ขณะที่แช่น้ํา หรือรับประทานอาหารหรือน้ําที่ปนเปื้อนเชื้อไข้ฉี่หนู
อาการ
         มักเริ่มมีอาการหลังได้รับเชื้อ 2 – 10 วัน
         o โดยเริ่มมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะน่องและโคนขา ต่อมาอาจมีเยื่อบุตาแดง เจ็บ

คอ เบื่ออาหาร ท้องเดิน
         o หากมีอาการที่กล่าวมาหลังจากไปแช่น้ํา ย่ําโคลนมา 2-26 วัน (เฉลี่ย 10 วัน) ควรนึกถึงโรคนี้ ไม่ควร

หายามากินเอง ต้องรีบไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล หรือหน่วยแพทย์ที่ออกมาให้บริการในพื้นที่
         o ถ้าไม่รีบรักษา บางรายอาจมีจุดเลือดออกตามผิวหนัง ไอมีเลือดปน หรือตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะน้อย

ซึม สับสน เนื่องจากเยื่อหุ้มสมองอักเสบ อาจมีกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบและเสียชีวิตได้
มาตรการปองกันควบคุมโรค
  เฝ้าระวังโรคและรายงานโดยเร็วหากพบผู้ป่วยหรือสงสัยป่วย ร่วมกับการสอบสวนโรค พร้อมทั้งรวบรวมข้อมูล
  ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับการระบาดของโรคเลปโตสไปโรสิส
  ดําเนินมาตรการ 4 E + 2 C ได้แก่
       1. Early Detection ค้นหาผู้ป่วยที่อาจเป็นโรค แนะนําให้รีบไปพบแพทย์ และรายงานโรคโดยเร็ว
       2. Early Diagnosis การวินิจฉัยโรคอย่างรวดเร็ว โดยใช้หลักมีประวัติลุยน้ํา มีไข้สง ปวดศีรษะรุนแรง
                                                                                        ู
  ปวดเจ็บกล้ามเนื้อ
       3. Early Treatment รักษาเบื้องต้นโดยเร็ว ดังนี้
          (1) ให้รักษาเบื้องต้นด้วย Doxycycline (100) 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง เช้า - เย็น นาน 5 – 7 วัน
                ติดตามการรักษาทุกวัน
          (2) ให้รีบนําผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยด่วน ถ้าผู้ป่วยรู้สึกไม่ดีขนภายใน 3 วัน หรือ
                                                                        ึ้
                ความดันโลหิต ≤ 90-60 mmHg. หรือ อัตราการหายใจ ≥ 24 ครั้งนาที
       4. Early Control การดําเนินงานป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่เสี่ยงอย่างรวดเร็ว โดยสอบสวนโรค
  ทุกราย เพือให้ทราบปัจจัยเสี่ยงที่ทําให้เกิดโรค ดําเนินการป้องกันควบคุมลดการแพร่กระจายของเชื้อและ
                 ่
  โอกาสติดเชื้อในคน รวมทั้งเฝ้าระวังผู้ป่วยรายอื่นในพื้นที่
       5. Coordination ความร่วมมือในการดําเนินการเพื่อป้องกันควบคุมโรคจากทุกภาคส่วน
       6. Community Involvement การมีส่วนร่วมของชุมชน ให้ประชาชนรับรู้และตระหนักถึงอันตรายของโรค
  ระมัดระวังป้องกันตนเอง และสังเกตอาการผิดปกติของตนเอง หากสงสัยรีบไปพบแพทย์โดยเร็ว
เรียบเรียงโดย : กลุ่มพัฒนาวิชาการที่ 3 (โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน) สํานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
                โทร 0 2590 3177-8 โทรสาร 0 2965 9484 eMail : zoo_cdc@yahoo.com
แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส (โรคไข้ฉี่หนู) ในพื้นที่น้ําท่วม สําหรับเจ้าหน้าที่


                                                                               -2-

คําแนะนําระยะน้ําทวม
    o หลีกเลี่ยงการแช่น้ํา ย่ําโคลนนานๆ เมื่อขึ้นจากน้ําแล้ว ต้องรีบอาบน้ําชําระร่างกายให้สะอาด ซับให้แห้ง
      โดยเร็วที่สุด
    o ควรสวมรองเท้า หรือรองเท้าบู๊ทที่เหมาะสมสามารถป้องกันน้ําได้ หากต้องลุยน้ําย่ําโคลน เดินบนที่ชื้น
      แฉะ โดยเฉพาะถ้ามีบาดแผลควรระมัดระวังเป็นพิเศษ
    o รับประทานอาหารที่สะอาด และเก็บอาหารในภาชนะที่มิดชิด
    o เก็บกวาดขยะใส่ถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่น ไม่ให้เป็นแหล่งอาหารของหนู
    o ดูแลที่พักให้สะอาดไม่ให้เป็นที่อาศัยของหนู

คําแนะนําระยะหลังน้ําทวม
    เมื่อระดับน้ําลดลง ในการบูรณะซ่อมแซมสิงของต่างๆ ควรปฏิบัติดังนี้
                                                ่
    o    สํารวจพื้นที่และปรับสภาพสิ่งแวดล้อม เช่น ทําทางเดินเท้าให้สูงกว่าพื้นปกติ ระบบท่อระบายน้ําและส้วม
         เป็นต้น
    o    เก็บกวาดขยะใส่ถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่น ไม่ให้เป็นแหล่งอาหารของหนูและสัตว์อื่นๆ
    o    สวมถุงมือยางในการเก็บกวาดบ้านเรือน ถนนและสิ่งสาธารณะประโยชน์
    o    สวมรองเท้า หรือรองเท้าบู๊ทที่เหมาะสมสามารถป้องกันน้ําได้ หากต้องลุยน้ําย่ําโคลน เดินบนที่ชื้นแฉะ
    o    เมื่อเสร็จภารกิจต้องรีบอาบน้ําชําระร่างกายให้สะอาด ซับให้แห้งโดยเร็วที่สุด
    o    รับประทานอาหารที่สะอาด และเก็บอาหารในภาชนะที่มิดชิด
    o    ดูแลที่พักให้สะอาดไม่ให้เป็นที่อาศัยของหนู
    o    หากมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะน่องและโคนขา ไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง
         ควรรีบไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล หรือหน่วยแพทย์ที่ออกมาให้บริการในพื้นที่


                                                                   ☯☯☯☯ ☯☯☯☯ ☯☯☯☯




เรียบเรียงโดย : กลุ่มพัฒนาวิชาการที่ 3 (โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน) สํานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค
                โทร 0 2590 3177-8 โทรสาร 0 2965 9484 eMail : zoo_cdc@yahoo.com

More Related Content

Viewers also liked

Dmc offline
Dmc offlineDmc offline
Dmc offline
Ko Kung
 
โรงเรียน
โรงเรียนโรงเรียน
โรงเรียน
nam-kaew_25
 

Viewers also liked (19)

Proverb8
Proverb8Proverb8
Proverb8
 
Google Docs
Google DocsGoogle Docs
Google Docs
 
ความเป็นเลิศเรื่องการมุ่งเน้นลูกค้า Baldrige awareness series 2 customer dr...
ความเป็นเลิศเรื่องการมุ่งเน้นลูกค้า Baldrige awareness series 2   customer dr...ความเป็นเลิศเรื่องการมุ่งเน้นลูกค้า Baldrige awareness series 2   customer dr...
ความเป็นเลิศเรื่องการมุ่งเน้นลูกค้า Baldrige awareness series 2 customer dr...
 
E book
E bookE book
E book
 
Unit2 feb201301
Unit2 feb201301Unit2 feb201301
Unit2 feb201301
 
Opensource1
Opensource1Opensource1
Opensource1
 
6 2
6 26 2
6 2
 
การปฐมนิเทศนักศึกษาปริญญาตรี 14-16 มิ.ย. 56
การปฐมนิเทศนักศึกษาปริญญาตรี 14-16 มิ.ย. 56การปฐมนิเทศนักศึกษาปริญญาตรี 14-16 มิ.ย. 56
การปฐมนิเทศนักศึกษาปริญญาตรี 14-16 มิ.ย. 56
 
journal ited85 p 23-30wera_panita
 journal ited85 p 23-30wera_panita journal ited85 p 23-30wera_panita
journal ited85 p 23-30wera_panita
 
ชุด1ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ แหล่งเรียนรู้สร้างสรรค์ที่มีผลงานเด่นตามแบบวิถีไทยเพื...
ชุด1ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ แหล่งเรียนรู้สร้างสรรค์ที่มีผลงานเด่นตามแบบวิถีไทยเพื...ชุด1ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ แหล่งเรียนรู้สร้างสรรค์ที่มีผลงานเด่นตามแบบวิถีไทยเพื...
ชุด1ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ แหล่งเรียนรู้สร้างสรรค์ที่มีผลงานเด่นตามแบบวิถีไทยเพื...
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
 
B1 2
B1 2B1 2
B1 2
 
ไตร่ตรองงานวิจัยครูแดง
ไตร่ตรองงานวิจัยครูแดงไตร่ตรองงานวิจัยครูแดง
ไตร่ตรองงานวิจัยครูแดง
 
Plataformas Digitales
Plataformas DigitalesPlataformas Digitales
Plataformas Digitales
 
Dmc offline
Dmc offlineDmc offline
Dmc offline
 
Ivan.H 8.2
Ivan.H    8.2Ivan.H    8.2
Ivan.H 8.2
 
YouTube
YouTubeYouTube
YouTube
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โรงเรียน
โรงเรียนโรงเรียน
โรงเรียน
 

Similar to Lepto flood officer

คู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมคู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วม
nhs0
 
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
Aimmary
 
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
Loveis1able Khumpuangdee
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
Poramate Minsiri
 
Protect after morewater
Protect after morewaterProtect after morewater
Protect after morewater
Aimmary
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
sivapong klongpanich
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
Adisorn Tanprasert
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
Loveis1able Khumpuangdee
 
การจมน้ำ
การจมน้ำการจมน้ำ
การจมน้ำ
nhs0
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
Loveis1able Khumpuangdee
 

Similar to Lepto flood officer (20)

คู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วมคู่มือโรคน้ำท่วม
คู่มือโรคน้ำท่วม
 
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
 
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
คู่มือประชาชน สำหรับการป้องกันน้ำท่วม54
 
Mold remediation-after-flood
Mold remediation-after-floodMold remediation-after-flood
Mold remediation-after-flood
 
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วมวิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
วิธีกำจัดเชื้อในบ้านหลังน้ำท่วม
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
Protect after morewater
Protect after morewaterProtect after morewater
Protect after morewater
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdfโครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
โครงงานเครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก.pdf
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
การจมน้ำ
การจมน้ำการจมน้ำ
การจมน้ำ
 
Allergic rhinitis
Allergic rhinitisAllergic rhinitis
Allergic rhinitis
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 

More from Aimmary

งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
Aimmary
 
Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
Aimmary
 
Heal the mind_while_facing_sickness
Heal the mind_while_facing_sicknessHeal the mind_while_facing_sickness
Heal the mind_while_facing_sickness
Aimmary
 
Healed body healed_mind
Healed body healed_mindHealed body healed_mind
Healed body healed_mind
Aimmary
 
Narain c-spine injury 2
Narain c-spine injury 2Narain c-spine injury 2
Narain c-spine injury 2
Aimmary
 
Ed building-asea ncommunity-2
Ed building-asea ncommunity-2Ed building-asea ncommunity-2
Ed building-asea ncommunity-2
Aimmary
 
Chitlada upper gi bleeding 2
Chitlada upper gi bleeding 2Chitlada upper gi bleeding 2
Chitlada upper gi bleeding 2
Aimmary
 
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
Aimmary
 
Thai hiv guideline2010
Thai hiv guideline2010Thai hiv guideline2010
Thai hiv guideline2010
Aimmary
 
Oa knee guideline
Oa knee guidelineOa knee guideline
Oa knee guideline
Aimmary
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
Aimmary
 
Cpg cancer pain_2556
Cpg cancer pain_2556Cpg cancer pain_2556
Cpg cancer pain_2556
Aimmary
 
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
Aimmary
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
Aimmary
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
Aimmary
 

More from Aimmary (20)

Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
งานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้านงานเยี่ยมบ้าน
งานเยี่ยมบ้าน
 
Smoking cessation1
Smoking cessation1Smoking cessation1
Smoking cessation1
 
Heal the mind_while_facing_sickness
Heal the mind_while_facing_sicknessHeal the mind_while_facing_sickness
Heal the mind_while_facing_sickness
 
Healed body healed_mind
Healed body healed_mindHealed body healed_mind
Healed body healed_mind
 
Narain c-spine injury 2
Narain c-spine injury 2Narain c-spine injury 2
Narain c-spine injury 2
 
Ed building-asea ncommunity-2
Ed building-asea ncommunity-2Ed building-asea ncommunity-2
Ed building-asea ncommunity-2
 
Chitlada upper gi bleeding 2
Chitlada upper gi bleeding 2Chitlada upper gi bleeding 2
Chitlada upper gi bleeding 2
 
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษาการให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
การให้ความรู้เรื่องเพศศึกษา
 
Ped hiv
Ped  hivPed  hiv
Ped hiv
 
Thai hiv guideline2010
Thai hiv guideline2010Thai hiv guideline2010
Thai hiv guideline2010
 
Oa knee guideline
Oa knee guidelineOa knee guideline
Oa knee guideline
 
Hiv adult
Hiv adultHiv adult
Hiv adult
 
Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334Fooddiabe 03334
Fooddiabe 03334
 
Cpg cancer pain_2556
Cpg cancer pain_2556Cpg cancer pain_2556
Cpg cancer pain_2556
 
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
143.irritable bowel syndrome (guideline 2012)
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis ipv
Vis ipvVis ipv
Vis ipv
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 

Lepto flood officer

  • 1. แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส (โรคไข้ฉี่หนู) ในภาวะน้ําท่วม สําหรับเจ้าหน้าที่ โรคเลปโตสไปโรสิส (Leptospirosis) หรือโรคฉี่หนู เป็นโรคติดต่อจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) ติดต่อ โดยการสัมผัสกับปัสสาวะ หรือสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่มีการปนเปื้อนของเชื้อ ผู้ที่เสี่ยงต่อการเป็นโรคไข้ฉี่หนู ได้แก่ ผู้ที่ ลุยน้ําหรือแช่น้ํานานๆ ผู้ที่เดินลุยน้ําท่วม คนงานบ่อปลา ชาวสวน ชาวนา คนงานขุดลอกท่อระบายน้ํา และประชาชน ทั่วไป โดยเฉพาะช่วงน้ําท่วมและหลังน้ําท่วม เพราะพื้นดินแฉะ มีน้ําขัง เอื้ออํานวยต่อการเจริญเติบโตและสะสม ของเชื้อในธรรมชาติ จึงควรมีมาตรการป้องกันและการเฝ้าระวังโรคอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในพื้นที่ที่เกิดอุทกภัย การติดตอ เชื้อไข้ฉี่หนูในสิ่งแวดล้อมจะเข้าสู่ร่างกายได้โดยการไชเข้าทางบาดแผลหรือเข้าทางเยื่อบุอ่อนๆ เช่น ง่ามมือ ง่ามเท้า เยื่อบุตา ขณะที่แช่น้ํา หรือรับประทานอาหารหรือน้ําที่ปนเปื้อนเชื้อไข้ฉี่หนู อาการ มักเริ่มมีอาการหลังได้รับเชื้อ 2 – 10 วัน o โดยเริ่มมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะน่องและโคนขา ต่อมาอาจมีเยื่อบุตาแดง เจ็บ คอ เบื่ออาหาร ท้องเดิน o หากมีอาการที่กล่าวมาหลังจากไปแช่น้ํา ย่ําโคลนมา 2-26 วัน (เฉลี่ย 10 วัน) ควรนึกถึงโรคนี้ ไม่ควร หายามากินเอง ต้องรีบไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล หรือหน่วยแพทย์ที่ออกมาให้บริการในพื้นที่ o ถ้าไม่รีบรักษา บางรายอาจมีจุดเลือดออกตามผิวหนัง ไอมีเลือดปน หรือตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะน้อย ซึม สับสน เนื่องจากเยื่อหุ้มสมองอักเสบ อาจมีกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบและเสียชีวิตได้ มาตรการปองกันควบคุมโรค เฝ้าระวังโรคและรายงานโดยเร็วหากพบผู้ป่วยหรือสงสัยป่วย ร่วมกับการสอบสวนโรค พร้อมทั้งรวบรวมข้อมูล ข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับการระบาดของโรคเลปโตสไปโรสิส ดําเนินมาตรการ 4 E + 2 C ได้แก่ 1. Early Detection ค้นหาผู้ป่วยที่อาจเป็นโรค แนะนําให้รีบไปพบแพทย์ และรายงานโรคโดยเร็ว 2. Early Diagnosis การวินิจฉัยโรคอย่างรวดเร็ว โดยใช้หลักมีประวัติลุยน้ํา มีไข้สง ปวดศีรษะรุนแรง ู ปวดเจ็บกล้ามเนื้อ 3. Early Treatment รักษาเบื้องต้นโดยเร็ว ดังนี้ (1) ให้รักษาเบื้องต้นด้วย Doxycycline (100) 1 เม็ด วันละ 2 ครั้ง เช้า - เย็น นาน 5 – 7 วัน ติดตามการรักษาทุกวัน (2) ให้รีบนําผู้ป่วยส่งโรงพยาบาลโดยด่วน ถ้าผู้ป่วยรู้สึกไม่ดีขนภายใน 3 วัน หรือ ึ้ ความดันโลหิต ≤ 90-60 mmHg. หรือ อัตราการหายใจ ≥ 24 ครั้งนาที 4. Early Control การดําเนินงานป้องกันและควบคุมโรคในพื้นที่เสี่ยงอย่างรวดเร็ว โดยสอบสวนโรค ทุกราย เพือให้ทราบปัจจัยเสี่ยงที่ทําให้เกิดโรค ดําเนินการป้องกันควบคุมลดการแพร่กระจายของเชื้อและ ่ โอกาสติดเชื้อในคน รวมทั้งเฝ้าระวังผู้ป่วยรายอื่นในพื้นที่ 5. Coordination ความร่วมมือในการดําเนินการเพื่อป้องกันควบคุมโรคจากทุกภาคส่วน 6. Community Involvement การมีส่วนร่วมของชุมชน ให้ประชาชนรับรู้และตระหนักถึงอันตรายของโรค ระมัดระวังป้องกันตนเอง และสังเกตอาการผิดปกติของตนเอง หากสงสัยรีบไปพบแพทย์โดยเร็ว เรียบเรียงโดย : กลุ่มพัฒนาวิชาการที่ 3 (โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน) สํานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค โทร 0 2590 3177-8 โทรสาร 0 2965 9484 eMail : zoo_cdc@yahoo.com
  • 2. แนวทางการป้องกันควบคุมโรคเลปโตสไปโรสิส (โรคไข้ฉี่หนู) ในพื้นที่น้ําท่วม สําหรับเจ้าหน้าที่ -2- คําแนะนําระยะน้ําทวม o หลีกเลี่ยงการแช่น้ํา ย่ําโคลนนานๆ เมื่อขึ้นจากน้ําแล้ว ต้องรีบอาบน้ําชําระร่างกายให้สะอาด ซับให้แห้ง โดยเร็วที่สุด o ควรสวมรองเท้า หรือรองเท้าบู๊ทที่เหมาะสมสามารถป้องกันน้ําได้ หากต้องลุยน้ําย่ําโคลน เดินบนที่ชื้น แฉะ โดยเฉพาะถ้ามีบาดแผลควรระมัดระวังเป็นพิเศษ o รับประทานอาหารที่สะอาด และเก็บอาหารในภาชนะที่มิดชิด o เก็บกวาดขยะใส่ถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่น ไม่ให้เป็นแหล่งอาหารของหนู o ดูแลที่พักให้สะอาดไม่ให้เป็นที่อาศัยของหนู คําแนะนําระยะหลังน้ําทวม เมื่อระดับน้ําลดลง ในการบูรณะซ่อมแซมสิงของต่างๆ ควรปฏิบัติดังนี้ ่ o สํารวจพื้นที่และปรับสภาพสิ่งแวดล้อม เช่น ทําทางเดินเท้าให้สูงกว่าพื้นปกติ ระบบท่อระบายน้ําและส้วม เป็นต้น o เก็บกวาดขยะใส่ถุงพลาสติกมัดปากถุงให้แน่น ไม่ให้เป็นแหล่งอาหารของหนูและสัตว์อื่นๆ o สวมถุงมือยางในการเก็บกวาดบ้านเรือน ถนนและสิ่งสาธารณะประโยชน์ o สวมรองเท้า หรือรองเท้าบู๊ทที่เหมาะสมสามารถป้องกันน้ําได้ หากต้องลุยน้ําย่ําโคลน เดินบนที่ชื้นแฉะ o เมื่อเสร็จภารกิจต้องรีบอาบน้ําชําระร่างกายให้สะอาด ซับให้แห้งโดยเร็วที่สุด o รับประทานอาหารที่สะอาด และเก็บอาหารในภาชนะที่มิดชิด o ดูแลที่พักให้สะอาดไม่ให้เป็นที่อาศัยของหนู o หากมีไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะน่องและโคนขา ไม่ควรซื้อยามารับประทานเอง ควรรีบไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาล หรือหน่วยแพทย์ที่ออกมาให้บริการในพื้นที่ ☯☯☯☯ ☯☯☯☯ ☯☯☯☯ เรียบเรียงโดย : กลุ่มพัฒนาวิชาการที่ 3 (โรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน) สํานักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค โทร 0 2590 3177-8 โทรสาร 0 2965 9484 eMail : zoo_cdc@yahoo.com