SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
ระบบอาหาร
เพื่อการพัฒนาประชากรมีสุขภาพดีถ้วนหน้า
นายแพทย์ ชูชัย ศรชานิ
ประธานกลุ่มภารกิจสนับสนุนเครือข่ายระบบบริการ
สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
Universal Health and Wellbeing
3 ประเด็นอาหาร เพื่อคนไทย และ ประชากรโลก
สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ
สุขภาพ
(Environmental
Health)
พัฒนาการด้าน
เศรษฐกิจ
(Economic
Vitality)
ความเสมอภาค
เท่าเทียมกันใน
สังคมและ สภาวะ
สุขภาพของ
ประชากร (Social
Equity & Human
Health)
กระบวนการผลิตถึงบริโภค
ปัญหาคุณภาพอาหาร ความ
ปลอดภัยด้านอาหาร การจัด
จาหน่าย การตลาด
การบริโภคอาหารของประชากร
กับ มาตรการคุ้มครองผู้บริโภค
ความมั่นคงทางอาหาร
อาหารเพียงพอ ความเสมอภาค
เท่าเทียมในการเข้าถึงอาหารที่
ดี และการใช้ประโยชน์จาก
อาหาร
ความมั่นคงทางอาหาร
ประเด็น ทางนโยบาย :
อาหารเพียงพอ (พอเพียงเหมาะสม)
ความเสมอภาคเท่าเทียมในการเข้าถึงอาหารที่ดี และการใช้
ประโยชน์จากอาหาร
ความมั่นคงทางอาหาร
องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) พ.ศ. 2539
“สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อคนทุกคน ในทุกเวลา มีความสามารถทางกายภาพ
และทางเศรษฐกิจ ในการเข้าถึงอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการเพียงพอ
ปลอดภัย และสนองความต้องการประจาวัน และความชอบส่วนตัวของแต่ละ
คนเพื่อการมีร่างกายที่แข็งแรงและการดารงชีวิตอย่างมีสุขภาพ”
 พระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551
“การเข้าถึงอาหารที่มีอย่างเพียงพอสาหรับการบริโภคของประชาชนในประเทศ
อาหารมีความปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการ เหมาะสมตามความต้องการ
ตามวัย เพื่อการมีสุขภาวะที่ดี รวมทั้งมีระบบการผลิตที่เกื้อหนุนรักษาความ
สมดุลของระบบนิเวศวิทยา และความคงอยู่ของฐานทรัพยากรอาหารทาง
ธรรมชาติของประเทศ ทั้งในภาวะปกติหรือเกิดภัยพิบัติ สาธารณภัยหรือการก่อ
การร้ายอันเกี่ยวเนื่องจากอาหาร”
ดัชนีความมั่นคงทางอาหาร
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับ ดัชนีการพัฒนามนุษย์
HDI ประเทศไทย 2012 = 0.690
Food Security Index
ประเทศไทย 2012 = 57.9
ที่มา Economist Intelligence Unit 2012
ไทยได้ที่ 45 ความมั่นคงทางอาหารโลก
ที่มา Economist Intelligence Unit 2012
ความมั่นคงทางอาหารของประเทศไทย
มุมมอง 2 ด้าน
ไทย เป็นหนึ่งในประเทศผู้ส่งออก
อาหารมากเป็นอันดับต้นๆของโลก ปัญหาที่เผชิญ
 โดยเฉพาะ ข้าว ไก่ กุ้ง ปลาทู
น่ากระป๋ อง และสับปะรด
กระป๋ อง
 รายได้จากการส่งออกอาหาร
778,056 ล้านบาทหรือราว
ร้อยละ 13 ของมูลค่าสินค้า
ส่งออกทั้งหมด หรือคิดเป็น
ประมาณกว่าร้อยละ 2 ของ
มูลค่าส่งออกอาหารของทั้ง
โลก
 แม้ไทยได้ชื่อว่าเป็นประเทศส่งออกอาหารอันดับ
ต้นๆ ของโลก แต่ภาพลักษณ์ดังกล่าวเป็นเพียง
มายาภาพ ประชาชนอีกเป็นจานวนมากยังขาด
ความมั่นคงทางอาหาร
 ตัวเลขขององค์การอาหารและเกษตรแห่ง
สหประชาชาติที่รายงานว่าร้อยละ 17 ของคนไทยยัง
ไม่ได้รับอาหารที่เพียงพอ ข้อมูลของ
กระทรวงศึกษาธิการที่ระบุว่ายังมีเด็กนักเรียนอีกราว
ร้อยละ 7 ที่ไม่ได้รับอาหารเพียงพอต่อความต้องการ
 ปัญหาการเข้าถึงปัจจัยการผลิตของเกษตรกร
ปัญหาที่ดิน หนี้สิน ความเสื่อมโทรมของฐาน
ทรัพยากรเกษตร
นโยบายสาธารณะเพื่อ ความมั่นคงอาหาร
ด้านส่งเสริมสุขภาพประชากร ด้านปกป้ องสุขภาพประชากร
1. ราคาอาหารเพื่อสุขภาพ ให้
มีราคาไม่สูง ผู้บริโภคสามารถ
เข้าถึงอาหารเพื่อสุขภาพ
สามารถเข้าถึงได้
2. ส่งเสริมวิจัยและพัฒนาคุณภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารเพื่อ
การพึ่งต้นเอง จัดการ
สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยด้าน
อาหาร
3. ปกป้ อง ตรวจสอบ เพื่อไม่ให้
คนชั้นกลาง คนชั้นล่าง เข้าถึง
วัตถุดิบปรุงอาหาร อาหาร
สาเร็จรูป ที่ด้อยคุณภาพ
 แหล่งต้นกาเนิดอาหารข้ามชาติ ที่
ตกเกณฑ์คุณภาพอาหาร
 แหล่งต้นกาเนิดในประเทศ ที่ตก
เกณฑ์คุณภาพอาหาร
รัฐ รัฐ ร่วมเอกชน การค้าระหว่างประเทศ
กระบวนการผลิตถึงบริโภค
From Farm to Table
ประเด็น ทางนโยบาย :
โลกาภิวัตน์ กับ หลากหลายของ
•แหล่งผลิต
•การขนส่ง
•การเก็บรักษา
•การจาหน่ายที่ใช้วิธีการตลาด ตลาดเสรีกับการเคลื่อนย้ายอาหาร
•การเหนี่ยวนาผู้บริโภค
ผวาหนังหมูนาเข้า ปนเปื้อนสารพิษ!
 เจ้าของร้านแคบหมู ตลาดวโรรส กล่าวว่า คนไทยไม่รู้ว่าแคบหมูส่วน
หนึ่งมาจากการนาเข้าจากต่างประเทศ นิวซีแลนด์ ประเทศในแถบยุโรป
เช่น เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส จากประเทศจีน และมาเลเซีย
โดยมีผู้นาเข้าหลายราย
 หนังหมูที่นาเข้าจากต่างประเทศแช่แข็งในตู้คอนเทนเนอร์ ขนส่งมาทาง
เรือใช้เวลาตั้งแต่ 6-12 เดือน แต่มีปัญหาคือมักจะมีกลิ่นเหม็นหืน หาก
เทียบกับหนังหมูไทยที่สดใหม่กว่า เมื่อนาไปทอดจึงมีกลิ่นเหม็นหืนน้อย
กว่า สาเหตุที่ร้านค้าแคบหมูเลือกซื้อหนังหมูนาเข้า เพราะมีขนาดใหญ่
เมื่อทอดแล้วขายได้ราคาดี กาไรสูงกว่าหนังหมูไทย
พืช ผัก ผลไม้ :
แหล่งผลิตนานาชาติ นาเข้า – ส่งออก กับ สุขภาวะของประชาชน
•ปัญหาด้านภาษี
•ปัญหาสินค้าไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐาน
•ปัญหามาตรการกีดกันทางการค้า
•ปัญหาด้านสุขอนามัย
•ปัญหาการแข่งขันทางการค้า
•ปัญหาการขนส่ง
กระบวนการ กิจกรรมซึ่งนาอาหารจากฟาร์มจนถึงผู้บริโภค
โดยปลอดภัย และเอื้อต่อสุขภาพ : ความซับซ้อนในโลกาภิวัตน์
 ผลิตภัณฑ์อาหารในโลกทุนนิยมโลกาภิวัตน์ เป็นกระบวนการอัน
ซับซ้อน มีผู้ผลิตและบริษัทหลายรายจากหลากหลายแหล่ง เข้ามา
เกี่ยวข้อง
 ธุรกิจ เหล่านี้ไม่เพียงแต่เกี่ยวข้องเฉพาะเกษตรกรผู้ผลิตวัตถุดิบ
เท่านั้น แต่ยังรวมถึง ธุรกิจขนส่งส่วนประกอบอาหาร กระบวนการ
Logistic ทั้ง Transport การ Stock และ
Delivery
 ระบบการวางจาหน่ายอาหาร การพิมพ์ฉลาก การผลิตบรรจุภัณฑ์
การโฆษณา ที่เข้าลักษณะ Supplier induce demand
นโยบายสาธารณะ
From Farm to Table : practice ใน food systems
ด้านส่งเสริม ด้านปกป้ อง
1. ส่งเสริมระบบการตามสอบสินค้า
เกษตร Traceability ผู้ผลิต
วัตถุดิบ ผู้ผลิตสินค้า ผู้กระจาย
สินค้า ผู้บริโภค
2. ส่งเสริม International
relations ในด้านความ
ปลอดภัยอาหาร และการกาหนด
มาตรฐานร่วม Healthy
Food Pyramid ของ
ประเทศต่างๆ
1. ตรวจสอบสารพิษตกค้าง การ
กาหนดปริมาณค่า MRL
(Maximum Residue
Limits)
2. ตรวจสอบและรับรองโรงงานแปร
รูปอาหาร
3. ระบบป้ องกันอันตรายใน
อุตสาหกรรมอาหาร กระบวนการ
ผลิตอาหารในทุกขั้นตอน
(HACCP)
การบริโภคอาหารของประชากร
Consuming for Health
ประเด็น ทางนโยบาย :
•Literacy ของการบริโภคอาหาร
• การตลาด
•อุปทาน เหนี่ยวนา อุปสงค์ Supplier induce Demand
การสารวจพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชากร
พ.ศ.2556 สานักงานสถิติแห่งชาติ
เป็นที่น่าสังเกตว่าอาหาร
สาเร็จรูปแช่แข็งหรือ
อาหารพร้อมปรุงแช่เย็น
ตามร้านสะดวกซื้อกาลัง
เป็นที่นิยมของคนทั่วไป
ซึ่งทาน 1-2 วันต่อ
สัปดาห์ (ร้อยละ 38.6)
มาตรการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อสุขภาพประชากร
ด้านส่งเสริม ด้านปกป้ อง
1. ส่งเสริมตลาดปลอดภัย ตลาด
น่าซื้อ
2. มาตรการส่งเสริม (เช่น ด้าน
ภาษี, การรับรอง) สาหรับ
 อาหารเพื่อสุขภาพ
 ร้านอาหารเพื่อสุขภาพ
 โรงอาหารในโรงเรียน สถาน
ประกอบการ
3. อาหารชุมชน อาหารพื้นเมือง กับ
การตลาดเพื่อสังคม (Social
marketing)
1. การปฏิบัติการกับองค์กร
คุ้มครองผู้บริโภค
2. ฉลากอาหาร
3. การโฆษณาที่ไม่เหมาะสม
1. โภชนบาบัด
ในกลุ่มผู้ป่วย
2. ส่งเสริมโภชนาการ
ในญาติ
และผู้ดูแลผู้ป่วย
3. การตลาดเพื่อสังคมใน
คนปกติ เพื่อสร้างกระแส
“อาหารเป็นยา”
4. โภชนาการในชุมชนและ
เวชศาสตร์ครอบครัว (Family
Medicine and
Dietitian)
ทีมสหสาขาวิชาชีพ ในโรงพยาบาล ในระบบสุขภาพ
นักกาหนดอาหาร โภชนบาบัด ในศตวรรษที่ 21
1. โภชนบาบัด ในกลุ่มผู้ป่วย :
ต่อยอดความดีสู่ความเป็นเลิศ
 จากทีมสหสาขาวิชาชีพ ในโรงพยาบาลที่เป็นสถาบันการศึกษา
หรือ ในโรงพยาบาลเอกชน  ทีมสหสาขาวิชาชีพที่
โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชนและทีม
สุขภาพระดับอาเภอ (District Health System)
 จากการให้ข้อมูลอาหารเพื่อบาบัดและป้ องกันโรคเฉพาะ 
งานวิจัยและพัฒนา Nutrition Prescribing เพื่อให้
เกิด Change Agent ในผู้ป่วย ญาติ แพทย์ผู้ดูแล
พยาบาล และทีมสหสาขาวิชาชีพ
2. ส่งเสริมโภชนาการในญาติ และผู้ดูแลผู้ป่วย :
ผลกระทบทวีคูณเมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน
(Discharge and FU Plan Engagement)
 การปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารโดยการมีส่วนร่วมของ
ญาติผู้ป่วยและผู้ดูแล ในขณะที่ผู้ป่วยยังอยู่ในโรงพยาบาล เป็น
Case Demonstration ให้ครอบครัวสามารถกลับไป
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคในครัวเรือนอย่างดี
 การ Follow Up ด้านสถานภาพด้านโภชนาการผู้ป่วย โดย
ญาติหรือผู้ดูแลใกล้ชิด ในตารางเวลาเดียวกันกับการมา
Medical FU ด้วยนักกาหนดอาหาร (หรือผู้ช่วยที่ได้รับ
การฝึกอบรม) จะส่งผลกระทบในวงกว้างแก่ทั้งผู้ป่วยและคน
รอบข้าง
3. การตลาดเพื่อสังคมในคนปกติ เพื่อสร้างกระแส
“อาหารเป็นยา”
ส่งเสริม CSR ด้านอาหาร
ฉลากอาหาร การคุ้มครองผู้บริโภค
 เครือข่ายวิชาชีพนักกาหนดอาหาร ที่เชื่อมโยงประสานกับ กิจการ
หรือ สถานประกอบการที่มีการตรวจสุขภาพของลูกจ้างประจาปี (ตาม
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๑) เช่น ให้
คาปรึกษาอาหารเฉพาะตัวพนักงาน ให้คาแนะนาโรงอาหาร
 การส่งเสริม การมีบทบาทเชิงรุก ให้มีการติดฉลากอาหาร เฉพาะ
โรค และ การให้ข้อมูลอาหารครบถ้วน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ที่ตั้งวางในตลาด
ห้างสรรพสินค้า และให้บุคคลถ้วนหน้าสามารถเข้าถึงอาหารเพื่อสุขภาพโดย
ไม่มีอุปสรรคด้านค่าใช้จ่ายสูง หรือไม่มีสินค้าตั้งวาง
 พัฒนาการของ
 ระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัวในประเทศไทย และ
 การมีกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (99.7%)
 ทาให้หลายพื้นที่ สามารถตั้งเตียงแบบที่โรงพยาบาล และสามารถ
ให้ Medical Intervention ต่างๆ ที่บ้านได้
 นักกาหนดอาหาร รวมถึง ทีมสหสาขาวิชาชีพ สามารถใช้เทคโนโลยี
สื่อสาร (หรือฝึกอบรม หรือไปเยี่ยมบ้านด้วยตนเองเพื่อกาหนดอาหาร
เฉพาะ และสร้างโปรแกรมโภชนาการ) เพื่อการป้ องกันความเสี่ยงใน
ชุมชนได้
4. โภชนาการในชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว
(Family Medicine ; Medical Home Ward) :
นักกาหนดอาหารกับทีมสหสาขาวิชาชีพในเวชศาสตร์ครอบครัว
1.หัวใจและหลอดเลือด
2.มะเร็ง
3.อุบัติเหตุ
4.ทารกแรกเกิด
5.จิตเวช
6.ตาและไต
7.5สาขาหลัก
8.ทันตกรรม
9.บริการปฐมภูมิทุติยภูมิ
และสุขภาพองค์รวม
10.NCD
“ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยง
ที่ไร้รอยต่อสามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการ”
District Health System : DHS
VISION
Unity District
Health Team
Resource
Sharing
Essential
Care
Appreciation
& Quality
Partnerships
ตติยภูมิ
ทุติยภูมิ
ปฐมภูมิ
Service Plan
เป้ าหมายระบบสุขภาพอาเภอ
- สถานะสุขภาพ
- Self Care
- ทีมสุขภาพอาเภอเข้มแข็ง
DHS
Public Health Nutrition = ขอบฟ้ าใหม่
แห่งระบบห่วงโซ่อาหาร โภชนาการ โภชนบาบัด
เพื่อประชาชน มีสุขภาพดีถ้วนหน้า
สังคมดี มีความเป็นธรรมด้านอาหาร
23
Setting : โภชนบาบัดในกลุ่มผู้ป่ วย ส่งเสริมโภชนาการใน
ญาติ ผู้ดูแลผู้ป่ วย ร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ
Current Horizon : ความเป็นมืออาชีพ ความรู้ เครือข่าย งานวิจัย
Community :
โภชนาการ โภชนบาบัด บริการ
ในชุมชน
Advocacy : ข้อกาหนด กฎเกณฑ์ ระบบอาหารและโภชนาการ
Social service : บริการในชุมชน
Food for Universal Health and Wellness
• chuchai.s@nhso.go.th
• chuchai.sn@gmail.com Morchuchai

More Related Content

Similar to นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014

ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยVorawut Wongumpornpinit
 
กลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdf
กลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdfกลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdf
กลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdfRabbitBlock
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยแผนงาน นสธ.
 
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556Vorawut Wongumpornpinit
 
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...Vitsanu Nittayathammakul
 
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfมาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfPaanSuthahathai
 
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552Pavit Tansakul
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริCAPD AngThong
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขVorawut Wongumpornpinit
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้าโครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014 (20)

บท1
บท1บท1
บท1
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 
กลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdf
กลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdfกลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdf
กลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdf
 
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdfปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารคลีน (Clean Food).pdf
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัยดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
ดารณี หมู่ขจรพันธ์ ข้อเสนอต่อการปฏิรูประบบอาหารปลอดภัย
 
Test
TestTest
Test
 
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
แนวทางการใช้วัตถุเจือปนอาหารและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2556
 
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
แผนการตลาด TMA สร้างนักบริหาร ดีและเก่ง หัวข้อ “การประกวดแผนการตลาดเพื่อสังคม...
 
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdfมาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
มาตรฐานโรงพยาบาล Food Safety Hospital.pdf
 
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
Week 5 Nutrition And Sanitation In The Food Service Industry 2 2552
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.คู่มือโฆษณา อย.
คู่มือโฆษณา อย.
 
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขคู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือโฆษณา ผลิตภัณฑ์สุขภาพ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
 
Utilization management
Utilization managementUtilization management
Utilization management
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้าโครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
โครงการการจัดทำข้อเสนอร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสุขภาพถ้วนหน้า
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 

More from Chuchai Sornchumni

Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Chuchai Sornchumni
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว Chuchai Sornchumni
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCChuchai Sornchumni
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทางChuchai Sornchumni
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChuchai Sornchumni
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Chuchai Sornchumni
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศChuchai Sornchumni
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527Chuchai Sornchumni
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกาChuchai Sornchumni
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017Chuchai Sornchumni
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นChuchai Sornchumni
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกChuchai Sornchumni
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพChuchai Sornchumni
 

More from Chuchai Sornchumni (20)

Precision medicine
Precision medicinePrecision medicine
Precision medicine
 
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)Priorities with PHC (chuchai jun2018)
Priorities with PHC (chuchai jun2018)
 
UHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn ThailandUHC lesson learn Thailand
UHC lesson learn Thailand
 
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว ระบบประกันการดูแลระยะยาว
ระบบประกันการดูแลระยะยาว
 
New perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHCNew perspectives on global healthspending UHC
New perspectives on global healthspending UHC
 
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
2561จอร์แดนบันทึกการเดินทาง
 
Public finance
Public financePublic finance
Public finance
 
DiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSystDiseaseMntChrRespSyst
DiseaseMntChrRespSyst
 
ChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllnessChronicDzMntRespiratoryIllness
ChronicDzMntRespiratoryIllness
 
Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015Thailand situational assessment2015
Thailand situational assessment2015
 
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
ทบทวนประสบการณ์ Universal Health Coverage 11 ประเทศ
 
Welfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhcWelfare analysis for uhc
Welfare analysis for uhc
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริการ่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
ร่วมจ่ายทบทวนประสบการณ์ระบบสุขภาพอเมริกา
 
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
นักโภชนาการนักกำหนดอาหาร2017
 
Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559Final annual report nhso 2559
Final annual report nhso 2559
 
ช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็นช่วงนี้ มีประเด็น
ช่วงนี้ มีประเด็น
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
 
Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016Ncd nhes v_2016
Ncd nhes v_2016
 
ธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ
 

นโยบายด้านอาหาร ภูเก็ต 17 nov 2014

  • 2. Universal Health and Wellbeing 3 ประเด็นอาหาร เพื่อคนไทย และ ประชากรโลก สิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ สุขภาพ (Environmental Health) พัฒนาการด้าน เศรษฐกิจ (Economic Vitality) ความเสมอภาค เท่าเทียมกันใน สังคมและ สภาวะ สุขภาพของ ประชากร (Social Equity & Human Health) กระบวนการผลิตถึงบริโภค ปัญหาคุณภาพอาหาร ความ ปลอดภัยด้านอาหาร การจัด จาหน่าย การตลาด การบริโภคอาหารของประชากร กับ มาตรการคุ้มครองผู้บริโภค ความมั่นคงทางอาหาร อาหารเพียงพอ ความเสมอภาค เท่าเทียมในการเข้าถึงอาหารที่ ดี และการใช้ประโยชน์จาก อาหาร
  • 3. ความมั่นคงทางอาหาร ประเด็น ทางนโยบาย : อาหารเพียงพอ (พอเพียงเหมาะสม) ความเสมอภาคเท่าเทียมในการเข้าถึงอาหารที่ดี และการใช้ ประโยชน์จากอาหาร
  • 4. ความมั่นคงทางอาหาร องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) พ.ศ. 2539 “สถานการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อคนทุกคน ในทุกเวลา มีความสามารถทางกายภาพ และทางเศรษฐกิจ ในการเข้าถึงอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการเพียงพอ ปลอดภัย และสนองความต้องการประจาวัน และความชอบส่วนตัวของแต่ละ คนเพื่อการมีร่างกายที่แข็งแรงและการดารงชีวิตอย่างมีสุขภาพ”  พระราชบัญญัติคณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551 “การเข้าถึงอาหารที่มีอย่างเพียงพอสาหรับการบริโภคของประชาชนในประเทศ อาหารมีความปลอดภัย มีคุณค่าทางโภชนาการ เหมาะสมตามความต้องการ ตามวัย เพื่อการมีสุขภาวะที่ดี รวมทั้งมีระบบการผลิตที่เกื้อหนุนรักษาความ สมดุลของระบบนิเวศวิทยา และความคงอยู่ของฐานทรัพยากรอาหารทาง ธรรมชาติของประเทศ ทั้งในภาวะปกติหรือเกิดภัยพิบัติ สาธารณภัยหรือการก่อ การร้ายอันเกี่ยวเนื่องจากอาหาร”
  • 7. ความมั่นคงทางอาหารของประเทศไทย มุมมอง 2 ด้าน ไทย เป็นหนึ่งในประเทศผู้ส่งออก อาหารมากเป็นอันดับต้นๆของโลก ปัญหาที่เผชิญ  โดยเฉพาะ ข้าว ไก่ กุ้ง ปลาทู น่ากระป๋ อง และสับปะรด กระป๋ อง  รายได้จากการส่งออกอาหาร 778,056 ล้านบาทหรือราว ร้อยละ 13 ของมูลค่าสินค้า ส่งออกทั้งหมด หรือคิดเป็น ประมาณกว่าร้อยละ 2 ของ มูลค่าส่งออกอาหารของทั้ง โลก  แม้ไทยได้ชื่อว่าเป็นประเทศส่งออกอาหารอันดับ ต้นๆ ของโลก แต่ภาพลักษณ์ดังกล่าวเป็นเพียง มายาภาพ ประชาชนอีกเป็นจานวนมากยังขาด ความมั่นคงทางอาหาร  ตัวเลขขององค์การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติที่รายงานว่าร้อยละ 17 ของคนไทยยัง ไม่ได้รับอาหารที่เพียงพอ ข้อมูลของ กระทรวงศึกษาธิการที่ระบุว่ายังมีเด็กนักเรียนอีกราว ร้อยละ 7 ที่ไม่ได้รับอาหารเพียงพอต่อความต้องการ  ปัญหาการเข้าถึงปัจจัยการผลิตของเกษตรกร ปัญหาที่ดิน หนี้สิน ความเสื่อมโทรมของฐาน ทรัพยากรเกษตร
  • 8. นโยบายสาธารณะเพื่อ ความมั่นคงอาหาร ด้านส่งเสริมสุขภาพประชากร ด้านปกป้ องสุขภาพประชากร 1. ราคาอาหารเพื่อสุขภาพ ให้ มีราคาไม่สูง ผู้บริโภคสามารถ เข้าถึงอาหารเพื่อสุขภาพ สามารถเข้าถึงได้ 2. ส่งเสริมวิจัยและพัฒนาคุณภาพ อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารเพื่อ การพึ่งต้นเอง จัดการ สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยด้าน อาหาร 3. ปกป้ อง ตรวจสอบ เพื่อไม่ให้ คนชั้นกลาง คนชั้นล่าง เข้าถึง วัตถุดิบปรุงอาหาร อาหาร สาเร็จรูป ที่ด้อยคุณภาพ  แหล่งต้นกาเนิดอาหารข้ามชาติ ที่ ตกเกณฑ์คุณภาพอาหาร  แหล่งต้นกาเนิดในประเทศ ที่ตก เกณฑ์คุณภาพอาหาร รัฐ รัฐ ร่วมเอกชน การค้าระหว่างประเทศ
  • 9. กระบวนการผลิตถึงบริโภค From Farm to Table ประเด็น ทางนโยบาย : โลกาภิวัตน์ กับ หลากหลายของ •แหล่งผลิต •การขนส่ง •การเก็บรักษา •การจาหน่ายที่ใช้วิธีการตลาด ตลาดเสรีกับการเคลื่อนย้ายอาหาร •การเหนี่ยวนาผู้บริโภค
  • 10. ผวาหนังหมูนาเข้า ปนเปื้อนสารพิษ!  เจ้าของร้านแคบหมู ตลาดวโรรส กล่าวว่า คนไทยไม่รู้ว่าแคบหมูส่วน หนึ่งมาจากการนาเข้าจากต่างประเทศ นิวซีแลนด์ ประเทศในแถบยุโรป เช่น เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และฝรั่งเศส จากประเทศจีน และมาเลเซีย โดยมีผู้นาเข้าหลายราย  หนังหมูที่นาเข้าจากต่างประเทศแช่แข็งในตู้คอนเทนเนอร์ ขนส่งมาทาง เรือใช้เวลาตั้งแต่ 6-12 เดือน แต่มีปัญหาคือมักจะมีกลิ่นเหม็นหืน หาก เทียบกับหนังหมูไทยที่สดใหม่กว่า เมื่อนาไปทอดจึงมีกลิ่นเหม็นหืนน้อย กว่า สาเหตุที่ร้านค้าแคบหมูเลือกซื้อหนังหมูนาเข้า เพราะมีขนาดใหญ่ เมื่อทอดแล้วขายได้ราคาดี กาไรสูงกว่าหนังหมูไทย
  • 11. พืช ผัก ผลไม้ : แหล่งผลิตนานาชาติ นาเข้า – ส่งออก กับ สุขภาวะของประชาชน •ปัญหาด้านภาษี •ปัญหาสินค้าไม่ได้คุณภาพตามมาตรฐาน •ปัญหามาตรการกีดกันทางการค้า •ปัญหาด้านสุขอนามัย •ปัญหาการแข่งขันทางการค้า •ปัญหาการขนส่ง
  • 12. กระบวนการ กิจกรรมซึ่งนาอาหารจากฟาร์มจนถึงผู้บริโภค โดยปลอดภัย และเอื้อต่อสุขภาพ : ความซับซ้อนในโลกาภิวัตน์  ผลิตภัณฑ์อาหารในโลกทุนนิยมโลกาภิวัตน์ เป็นกระบวนการอัน ซับซ้อน มีผู้ผลิตและบริษัทหลายรายจากหลากหลายแหล่ง เข้ามา เกี่ยวข้อง  ธุรกิจ เหล่านี้ไม่เพียงแต่เกี่ยวข้องเฉพาะเกษตรกรผู้ผลิตวัตถุดิบ เท่านั้น แต่ยังรวมถึง ธุรกิจขนส่งส่วนประกอบอาหาร กระบวนการ Logistic ทั้ง Transport การ Stock และ Delivery  ระบบการวางจาหน่ายอาหาร การพิมพ์ฉลาก การผลิตบรรจุภัณฑ์ การโฆษณา ที่เข้าลักษณะ Supplier induce demand
  • 13. นโยบายสาธารณะ From Farm to Table : practice ใน food systems ด้านส่งเสริม ด้านปกป้ อง 1. ส่งเสริมระบบการตามสอบสินค้า เกษตร Traceability ผู้ผลิต วัตถุดิบ ผู้ผลิตสินค้า ผู้กระจาย สินค้า ผู้บริโภค 2. ส่งเสริม International relations ในด้านความ ปลอดภัยอาหาร และการกาหนด มาตรฐานร่วม Healthy Food Pyramid ของ ประเทศต่างๆ 1. ตรวจสอบสารพิษตกค้าง การ กาหนดปริมาณค่า MRL (Maximum Residue Limits) 2. ตรวจสอบและรับรองโรงงานแปร รูปอาหาร 3. ระบบป้ องกันอันตรายใน อุตสาหกรรมอาหาร กระบวนการ ผลิตอาหารในทุกขั้นตอน (HACCP)
  • 14. การบริโภคอาหารของประชากร Consuming for Health ประเด็น ทางนโยบาย : •Literacy ของการบริโภคอาหาร • การตลาด •อุปทาน เหนี่ยวนา อุปสงค์ Supplier induce Demand
  • 16. มาตรการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อสุขภาพประชากร ด้านส่งเสริม ด้านปกป้ อง 1. ส่งเสริมตลาดปลอดภัย ตลาด น่าซื้อ 2. มาตรการส่งเสริม (เช่น ด้าน ภาษี, การรับรอง) สาหรับ  อาหารเพื่อสุขภาพ  ร้านอาหารเพื่อสุขภาพ  โรงอาหารในโรงเรียน สถาน ประกอบการ 3. อาหารชุมชน อาหารพื้นเมือง กับ การตลาดเพื่อสังคม (Social marketing) 1. การปฏิบัติการกับองค์กร คุ้มครองผู้บริโภค 2. ฉลากอาหาร 3. การโฆษณาที่ไม่เหมาะสม
  • 17. 1. โภชนบาบัด ในกลุ่มผู้ป่วย 2. ส่งเสริมโภชนาการ ในญาติ และผู้ดูแลผู้ป่วย 3. การตลาดเพื่อสังคมใน คนปกติ เพื่อสร้างกระแส “อาหารเป็นยา” 4. โภชนาการในชุมชนและ เวชศาสตร์ครอบครัว (Family Medicine and Dietitian) ทีมสหสาขาวิชาชีพ ในโรงพยาบาล ในระบบสุขภาพ นักกาหนดอาหาร โภชนบาบัด ในศตวรรษที่ 21
  • 18. 1. โภชนบาบัด ในกลุ่มผู้ป่วย : ต่อยอดความดีสู่ความเป็นเลิศ  จากทีมสหสาขาวิชาชีพ ในโรงพยาบาลที่เป็นสถาบันการศึกษา หรือ ในโรงพยาบาลเอกชน  ทีมสหสาขาวิชาชีพที่ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชนและทีม สุขภาพระดับอาเภอ (District Health System)  จากการให้ข้อมูลอาหารเพื่อบาบัดและป้ องกันโรคเฉพาะ  งานวิจัยและพัฒนา Nutrition Prescribing เพื่อให้ เกิด Change Agent ในผู้ป่วย ญาติ แพทย์ผู้ดูแล พยาบาล และทีมสหสาขาวิชาชีพ
  • 19. 2. ส่งเสริมโภชนาการในญาติ และผู้ดูแลผู้ป่วย : ผลกระทบทวีคูณเมื่อผู้ป่วยกลับบ้าน (Discharge and FU Plan Engagement)  การปรับพฤติกรรมการบริโภคอาหารโดยการมีส่วนร่วมของ ญาติผู้ป่วยและผู้ดูแล ในขณะที่ผู้ป่วยยังอยู่ในโรงพยาบาล เป็น Case Demonstration ให้ครอบครัวสามารถกลับไป ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคในครัวเรือนอย่างดี  การ Follow Up ด้านสถานภาพด้านโภชนาการผู้ป่วย โดย ญาติหรือผู้ดูแลใกล้ชิด ในตารางเวลาเดียวกันกับการมา Medical FU ด้วยนักกาหนดอาหาร (หรือผู้ช่วยที่ได้รับ การฝึกอบรม) จะส่งผลกระทบในวงกว้างแก่ทั้งผู้ป่วยและคน รอบข้าง
  • 20. 3. การตลาดเพื่อสังคมในคนปกติ เพื่อสร้างกระแส “อาหารเป็นยา” ส่งเสริม CSR ด้านอาหาร ฉลากอาหาร การคุ้มครองผู้บริโภค  เครือข่ายวิชาชีพนักกาหนดอาหาร ที่เชื่อมโยงประสานกับ กิจการ หรือ สถานประกอบการที่มีการตรวจสุขภาพของลูกจ้างประจาปี (ตาม ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๕๑) เช่น ให้ คาปรึกษาอาหารเฉพาะตัวพนักงาน ให้คาแนะนาโรงอาหาร  การส่งเสริม การมีบทบาทเชิงรุก ให้มีการติดฉลากอาหาร เฉพาะ โรค และ การให้ข้อมูลอาหารครบถ้วน เพื่อส่งเสริมสุขภาพ ที่ตั้งวางในตลาด ห้างสรรพสินค้า และให้บุคคลถ้วนหน้าสามารถเข้าถึงอาหารเพื่อสุขภาพโดย ไม่มีอุปสรรคด้านค่าใช้จ่ายสูง หรือไม่มีสินค้าตั้งวาง
  • 21.  พัฒนาการของ  ระบบบริการปฐมภูมิและเวชศาสตร์ครอบครัวในประเทศไทย และ  การมีกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ (99.7%)  ทาให้หลายพื้นที่ สามารถตั้งเตียงแบบที่โรงพยาบาล และสามารถ ให้ Medical Intervention ต่างๆ ที่บ้านได้  นักกาหนดอาหาร รวมถึง ทีมสหสาขาวิชาชีพ สามารถใช้เทคโนโลยี สื่อสาร (หรือฝึกอบรม หรือไปเยี่ยมบ้านด้วยตนเองเพื่อกาหนดอาหาร เฉพาะ และสร้างโปรแกรมโภชนาการ) เพื่อการป้ องกันความเสี่ยงใน ชุมชนได้ 4. โภชนาการในชุมชนและเวชศาสตร์ครอบครัว (Family Medicine ; Medical Home Ward) : นักกาหนดอาหารกับทีมสหสาขาวิชาชีพในเวชศาสตร์ครอบครัว
  • 22. 1.หัวใจและหลอดเลือด 2.มะเร็ง 3.อุบัติเหตุ 4.ทารกแรกเกิด 5.จิตเวช 6.ตาและไต 7.5สาขาหลัก 8.ทันตกรรม 9.บริการปฐมภูมิทุติยภูมิ และสุขภาพองค์รวม 10.NCD “ประชาชนจะเข้าถึงบริการที่ได้มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยง ที่ไร้รอยต่อสามารถบริการเบ็ดเสร็จภายในเครือข่ายบริการ” District Health System : DHS VISION Unity District Health Team Resource Sharing Essential Care Appreciation & Quality Partnerships ตติยภูมิ ทุติยภูมิ ปฐมภูมิ Service Plan เป้ าหมายระบบสุขภาพอาเภอ - สถานะสุขภาพ - Self Care - ทีมสุขภาพอาเภอเข้มแข็ง DHS
  • 23. Public Health Nutrition = ขอบฟ้ าใหม่ แห่งระบบห่วงโซ่อาหาร โภชนาการ โภชนบาบัด เพื่อประชาชน มีสุขภาพดีถ้วนหน้า สังคมดี มีความเป็นธรรมด้านอาหาร 23 Setting : โภชนบาบัดในกลุ่มผู้ป่ วย ส่งเสริมโภชนาการใน ญาติ ผู้ดูแลผู้ป่ วย ร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ Current Horizon : ความเป็นมืออาชีพ ความรู้ เครือข่าย งานวิจัย Community : โภชนาการ โภชนบาบัด บริการ ในชุมชน Advocacy : ข้อกาหนด กฎเกณฑ์ ระบบอาหารและโภชนาการ Social service : บริการในชุมชน
  • 24. Food for Universal Health and Wellness • chuchai.s@nhso.go.th • chuchai.sn@gmail.com Morchuchai

Editor's Notes

  1. 23