SlideShare a Scribd company logo
1 of 80
HIV
รายชื่อสมาชิก
นางสาวอรพรรณ เย็นอก
รหัส 5209110032
นางสาวเบญจพร อุทกัง
รหัส 5209110039
นางสาวสุภัทรา ศรีรอด
รหัส 5209110043
นางสาววรัฏฐา แก้วช่วง รหัส 5209110056
นิสิตทันตแพทยศาสตร์ ชั้นปีที่ 3
มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
HIV คืออะไร ?
HIV = Human Immunodeficiency Virus
Retrovirus @ Sub.Fam. Lentivirus

AIDs
[Acquired Immune Dificiency Syndrome]
กลุ่มอาการของโรค
= อาการแสดง (Symptom)
= มีหลายอาการ ?
The Structure of HIV
•
•
•
•
•

Outside of a human cell
HIV exists as roughly spherical particles (sometimes called virions).
The surface of each particle is studded with lots of little spikes.
An HIV particle is around 100-150 billionths of a metre in diameter.
That's about the same as:
– 0.1 microns
– 4 millionths of an inch
– one twentieth of the length of an E. coli bacterium
– one seventieth of the diameter of a human CD4+ white blood cell.
Physical Structure Of HIV
เราสามารถติด HIV ได้อย่างไร
• Partway of HIV Transmission
–Sex  Homosexual [Gay&Lesbian]
–Blood  intravenous drug users (IVDC),
hemophiliacs, blood transfusions,
tattoos, piercings, and scarification
–Mother-to-child in utero (during
pregnancy), intrapartum (at childbirth), via breast
feeding
Partway of HIV Transmission
การติดเชื้อง่าย – ยาก ?
• ปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื่อง่าย – ยาก
–เนื้อเยื่อทีสัมผัส (เลือด/น้้าลาย/น้้ากาม)
่
–Viral concentration
–Partway of transmission
–ความถี่ของการสัมผัสโรค
–ระยะของโรค
–ปัจจัยอื่น เช่น สุขภาพ มีแผล ?
Cell ที่ติดเชื้อ HIV ได้ ?
• เซลล์ทมีการแสดงออกของโปรตีน CD4 (CD4+ Cell) ได้แก่
ี่
– T cell, B cell, Monocyte, Macrophage, Dendritic cell, Bone
marrow precursor, Langerhans cell
– Gila cell, Brain cappillary endothelium
• Cell อื่นๆ ได้แก่ Kuffer cell, Bowel, Cervical epithelium
Important Reservoirs of HIV @ Body
Brain ; microglia cell, macrophage
Bone marrow ; macrophage
Gut ; T cell, macrophage
ติด HIV แล้วมันไปท้าอะไรกับร่างกายเรา?
• Virus เกาะ @ recptor CD4 on cell surface
• Virus แทรกตัว ทะลุ cell wall
• Virus จะให้ enz. RT (Reverse Transcriptase) สร้าง RNA
 DNA
• Virus DNA เชื่อมกับ DNA of Cell Host
• Stimulation  Production of RNA

HIV Replication
การจ้าลองแบบของ HIV (HIV Replication)
•
•
•
•
•
•

Step
Step
Step
Step
Step
Step

1: Host cell binding and virus entry
2: Uncoating the viral capsid
3: Transcription
4: Integration into host cell DNA
5: Virus protein synthesis and assembly
6: Exocytosis or storage within the host cell

Mutations and latency as inhibiting factors of complete HIV
eradication
HIV เป็นการติดเชื้ออย่างถาวร!!!
• Provirus + DNA of Host cell เมื่อ Cell มีการแบ่งตัว จะมีการ Replicate
DNA of Host Cell โดย แบ่ง viral genome ไปอยู่ @Daughter cell เสมอ
ทุกครั้งไป กลายเป็นส่วนหนึ่งของ Cell ตลอดไป
Clinical Feature
หลังรับเชื้อ HIV เกิดอะไรในผู้ได้รับเชื้อ
• ระยะฟักตัว [Incubation Phase] (ระยะตั้งแต่รับเชื้อ HIV  แรกปรากฏอาการ)
–≈ 1-6 wk  มี virus peplication  viremia
–มีอาการของ acute infection
• ระยะติดเชือเฉียบพลัน [Acute Infection Phase]
้
–กินเวลา ≈ 2-4 wk มีอาการป่วย (ชัดเจนหรือไม่ก็ได้)
–อาการที่พบ  มีไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดตามข้อ ต่อมน้้าเหลืองโต อ่อนเพลีย
มีผื่นแดงตามผิวหนัง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
–ตรวจพบ  viral antigen, DNA, RNA และแยกเชื้อไวรัสได้
• ระยะไม่มอาการ [Asymptomatic Phase]
ี
–ตั้งแต่ > 4 mouth  5 years.  “ติดเชื้อแอบแฝง”
–เป็นช่วงหายจากระยะ Acute infection
–Viral antigen↓
–พบ antibody ↑
• ระยะเอดส์ [AIDs]
–Virus ↑↑↑ (uncontrol)
–Antibody + Immmune cell↓↓↓  None
–Pt. อาจตายจาก การติดเชื้อและมะเร็ง
Examples of opportunistic infections and cancers
System
Respiratory system

Gastro-intestinal system

Central/peripheral Nervous system

Skin

Examples of Infection/Cancer
Pneumocystis jirovecii Pneumonia (PCP)
Tuberculosis (TB)
Kaposi's Sarcoma (KS)
Cryptosporidiosis
Candida
Cytomegolavirus (CMV)
Isosporiasis
Kaposi's Sarcoma
Cytomegolavirus
Toxoplasmosis
Cryptococcosis
Non Hodgkin's lymphoma
Varicella Zoster
Herpes simplex
•Herpes simplex
•Kaposi's sarcoma
•Varicella Zoster
Opportunistic Infection
• Opportunistic Infection ของผู้ติดเชื้อ HIV และเป็นเอดส์ พบมาก
เป็นอันดับแรก (@ July 2010)
– Mycobacterium Tuberculosis (pulmonary & extrapulmonary)
≈ 30%
– ปอดบวมจาก Pneumocystic carinii ≈ 20%
– Wasting syndrome (emaciation, slim disease) ≈ 19%
– Crytococcal meningitis ≈ 13%
– Candidiasis (Oral, Trachea, Bronchi) ≈ 4.87%
WHO clinical staging of HIV disease in
adults and adolescents (2006 revision)
• In resource-poor settings, medical facilities are sometimes
poorly equipped and tests to measure CD4 count and viral
load are unavailable. In this case, another method to
determine whether an individual should begin treatment is
used.
• The World Health Organisation (WHO) developed a staging system
for HIV disease based on clinical symptoms, which may be used
to guide medical decision making.
© World Health Organization 2010
© World Health Organization 2010
© World Health Organization 2010
Oral Manifestations Associated with HIV/AIDs
http://www.bipai.org/HIV-curriculum/
http://www.bipai.org/HIV-curriculum/
ความรุนแรงของโรคระดับ 2
Herpes zoster

งูสวัด Herpes zoster มีตุ่มขึ้นตามแนวเส้นประสาท
ความรุนแรงของโรคระดับ 2
Angular chelitis

ปากนกกระจอก Angular cheilitis มุมปากแตกตอบสนองต่อยารักษาเชื้อรา
ความรุนแรงของโรคระดับ 2
Recurrent oral ulceration
ปัจจัยที่มักจะก่อให้เกิด ความเครียด เหนื่อยล้า
การนอนดึก การกัดโดน การเปลี่ยนแปลงของ
ฮอร์โมน การมีประจ้าเดือน การแพ้อาหาร หรือ
อาจเกิดจากการขาด วิตามิน B12 ธาตุเหล็ก
หรือ กรดโฟลิค อาจลด และป้องกัน การเกิด
แผลร้อนใน ได้ด้วยการไม่รับประทานน้้าใน
ปริมาณมากๆ หลังหรือพร้อมอาหารในทันที ควร
รับประทานน้้ามากๆ ระหว่างมื้อแทน เพราะช่วย
ให้ กรดในกระเพาะอาหารท้างานได้ดีขึ้น และลด
โอกาสที่ กรดจะเอ่อล้นขึ้นมาในท่อหลอดอาหาร
ซึ่งจะท้าให้ระคายเคืองเยื่อบุหลอดอาหารและช่อง
ปาก จนท้าให้เกิดแผลร้อนในได้ง่าย
ความรุนแรงของโรคระดับ 3
Persistent oral candidiasis

มีอาการเจ็บปากและมีคราบขาวๆในปากเป็นๆหายๆ
ความรุนแรงของโรคระดับ 3
Oral hairy leukoplakia

ผื่นขาวๆข้างลิ้น
ความรุนแรงของโรคระดับ 3
Acute necrotizing ulcerative stomatitis, gingivitis or periodontitis
Linear Gingival Erythema (LGE),
Red Band Gingivitis

Necrotizing Ulcerative Gingivitis

Necrotizing Ulcerative Periodontitis
ปาดอักเสบ มีแผล ฟันร่วง กลิ่นปากแรง
(NUP)
Acute Necrotizing Ulcerative Periodontitis
(ANUP)
ความรุนแรงของโรคระดับ 4
Chronic herpes simplex infection

Chronic herpes simplex infection

Herpes Simplex Virus (HSV), hard palate
ความรุนแรงของโรคระดับ 4
candidiasis

ติดเชื้อราตามอวัยวะต่างๆ มีอาการกลืนอาหารล้าบากและเจ็บหน้าอกเนื่องจากเชื้อราในหลอดอาหาร
Kaposi’s Sarcoma
Courtesy of Dr. Steve Debbink
Dental Director, AIDS Resource Center of Wisconsin
Kaposi’s Sarcoma- palate
Kaposi’s Sarcoma- palate
Kaposi’s Sarcoma - Attached gingiva
Kaposi’s Sarcoma
Kaposi’s Sarcoma
Immunodeficiency  พยาธิสภาพที่ส้าคัญของโรค
Pathology of Immuneity system ?
Pathology of Immuneity system ที่ลดลงของ pt. เนื่องมาจาก
• HIV ฆ่า T4 cell  T4 ↓ + ท้าให้เกิดผลเสียทั้งระบบ Immunity
– T8 specific cytotoxicity ↓ + การสร้าง T8↓
– NK  Dysfunction
– B-cell สร้าง Ig ต่อ specific Ig ↓ + ดื้อต่อการรับ Signal ต่างๆ
– Macrophage chemotaxis ↓ + การฆ่า parasite ↓
– T4 ตอบสนองต่อ Ag↓ + การสร้าง Lymphokines & T4 ↓
– เกิดการ apoptosis of CD4 cell ที่อยู่ใกล้ cell ที่ติดเชื้อ
• Syncytial formation
• Gp 120 mediated cytotoxicity
• Collapse of Immune system
• HIV infect stem cell
• Induce autoimmune mechanism
การวินิจฉัยโรคเอดส์
1.การตรวจหาส่วนประกอบของไวรัสจาก เลือด [viral ag. เช่น p24, p18 ,viral protcin]
ใช้ในการตรวจระยะแรกของการติดเชื้อ
2.การแยกเชื้อไวรัสจากผู้ป่วย (Isolate viruses and culture)
3.การตรวจสารพันธุกรรมของไวรัส (viral RNA, Provirus) จากเซลล์ หรือคือการตรวจหา
ปริมาณไวรัสที่มีอยู่ในกระแสเลือด ใช้ในการทานายโรด และ ติดตามการีรักษา
4.ตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อไวรัสจาก เลือด *เป็นวิธีที่ใช้ในทางปฎิบัติตามปกติ
(*หรือใช้จากน้าลาย แต่ยังไม่ใช้เป็นวิธีทั่วไปเพราพเหตุผลสาคัญหลายประการ) แบ่งเป็น
-Screening test ELISA (sensitivity 100%, specificity 98%)
-Confirmatory test :Western blot (specificity 100%)
-Rapid test (false+ve and false-ve ~ 2~3%)
ประโยชน์ทีผู้ที่ได้รับการตรวจเลือดหาภูมิต่อเชื้อ HIV
ประโยชน์ที่ผู้ที่ได้รับการตรวจเลือดหาภูมิต่อเชื้อ HIV แบ่งได้เป็น
• ผลเลือดบวกคือได้รับการติดเชื้อ HIV
– ผู้ป่วยจะได้รับการประเมิน การวางแผนการรักษา การรักษาด้วยยาต้านไวรัส HIV รวมทั้งการ
ติดเชื้อฉวยโอกาส
– มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดารงชีวิตเพื่อให้สุขภาพดีขึ้น เช่น การออกกาลังกาย การงด
บุหรี่ การอดแอลกอฮอร์ อาหาร
– เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อลดการติดเชื้อ หรือแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น เช่นการมีเพศสัมพันธ์ การฉีดยาเข้า
เส้น
– ลดความวิตกกังวล
– ลดการติดเชื้อจากแม่ไปลูก

• ผลเลือดให้ผลลบคือไม่ได้รับการติดเชื้อ HIV
– ผู้ที่ได้รับการตรวจก็จะสบายใจไม่ต้องวิตกกังวล
– ได้รับคาแนะนาการป้องกันการติดเชื้อ HIV
– ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์
ประโยชน์ในทางการแพทย์
ที่จะได้รับสาหรับผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ที่ไม่มีอาการ

•
•
•

•
•

อาการเนื่องจากการติดเชื้อ HIV มีได้หลายอย่างรูปแบบตังแต่ไม่มีอาการจนกระทั่งมีอาการอย่าง
้
อ่อนจนกระทั่งเป็นเอดส์เต็มขั้น และยาต้านไวรัสเอดส์ก็สามารถยับยังการเจริญเติบโตของเชื้อและ
ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส และลดอัตราการตายจากโรคแทรกซ้อน แต่การที่จะลดโรคแทรกซ้อน
จะต้องตรวจวินิจฉัยให้เร็ว ผู้ป่วยทราบว่าตัวเองอยู่ในระยะไหนของโรค การค้นพบว่าติดเชื้อ HIV ทา
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการรักษาหลายอย่าง เช่น
เมื่อเวลล์ CD4 น้อยกว่า 200 cells/mm มีความจาเป็นต้องให้ยาป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
Pneumocystis carinii
เมื่อเวลล์ CD4 น้อยกว่า 50 cells/mm มีความจาเป็นต้องให้ยาป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส
Mycobacterium avium complex (MAC)
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV และมีผลบวกต่อเชื้อซิฟิลิส Syphilis จะต้องเจาะหลังตรวจน้าไขสันหลังเพื่อดูว่า
เชื้อซิฟิลิสเข้าสมองหรือไม่
ผู้ป่วยติดเชื้อ HIV เมื่อทดสอบผิวหนังต่อเชื้อวัณโรคถ้าหากให้ผลมากกว่า 5 mm(คนปกติต้องมากกว่า
10 mm)จะต้องให้ยาป้องกันวัณโรค
ผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ทุกคนควรได้วัคซีนป้องกันโรคปอดบวมและไวรัสตับอักเสบ บี
ประโยชน์ในทางการแพทย์
ทีจะได้รับสาหรับผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ที่มอาการ
่
ี
ผู้ที่มีอาการมักจะมีภูมิคุ้มกันบางส่วนถูกทาลาย การรักษาโรคบางอย่างอาจจะต้อง
ให้ยาปฏิชีวนะนานขึ้นเช่น
• ผู้ที่เป็นปอดบวม ไซนัสอักเสบ ท้องร่วงจากไข้ไทฟอยด์ จะต้องให้ยาปฏิชีวนะนานกว่า
ปกติ
• มะเร็งต่อมน้าเหลืองต้องให้ยากดภูมิน้อยกว่าคนปกติ

การตรวจวินิจฉัยเบื้องต้น
ก่อนการรักษาแพทย์จะตรวจวินิจฉัยเบื้องต้นเป็นการตรวจเพื่อประเมินระยะของโรคโรค
ประจาตัว โรคแทรกซ้อน เพื่อวางแผนการรักษาซึ่งจะตรวจสิ่งต่อไปนี้
Drug and Treatment
HIV(human immuno- deficiency virus)
คือ ไวรัสที่ทาให้ระบบภูมคมกันของมนุษย์บกพร่องผิดปกติ โดยเข้าไป
ิ ุ้
ทาลาย T-lymphocyteหรือCD4 ทาให้มีปริมาณลดลงเรื่อยๆ ทาให้ภูมิคมกัน
ุ้
ของร่างกายลดลงเกิดการติดเชื้อได้ง่าย (โรคติดเชื้อ ฉวย โอกาส)เกิด
ภาวะแทรกซ้อน และถึงแก่ชวิตในที่สุด
ี
ตรงไปที่
T-lymphocyte
Virus
เริ่มกระบวนการ
ติดเชื้อและทาลาย
เซลล์
V.HIV

ซึมออกนอกเซลล์
ไปติดเชื้อเซลล์อนต่อไป
ื่

T-lymphocyte ที่ถูกติด
เชื้อแล้วก็จะตาย

สร้างเสร็จ ก็นามา
ประกอบกันเป็นตัว
ของไวรัสHIV
จานวนมหาศาล

แทรกซึมเข้าไปในเซลล์

+
สั่งให้เซลล์สร้างองค์ประกอบของไวรัส
(พวก RNA โปรตีน หรือเยื่อหุ้ม ฯลฯ )
•

การตรวจหาระดับความรุนแรงของโรคเอดส์ จึงสามารถตรวจด้วย การตรวจหา
ปริมาณ T-lymphocyte หรือเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 (CD4 + T-cell) ที่เรียกว่า

"ระดับเม็ดเลือดขาวชนิดซีด4" ซึ่งถ้ามีการติดเชื้อ ไวรัสHIV รุนแรงมากขึ้น
ี
ระดับเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 ก็จะมีปริมาณลดต่าลงเรื่อยๆ

• ในทางตรงกันข้ามอาจตรวจวัดระดับความรุนแรงของโรคเอดส์ได้จาก
ปริมาณไวรัส ซึ่งเรียกว่า
”การตรวจหาปริมาณไวรัสในกระแสเลือด (viral load)”
– ถ้ามีการติดเชื้อไวรัสHIV รุนแรงมากขึ้น ปริมาณไวรัสชนิดนี้ในกระแสเลือดก็จะ
มีปริมาณมากขึ้น ซึ่งเป็นไปในทางตรงกันข้ามกับระดับCD4 เสมอ
ประเภทของยาต้านไวรัส (HAART: Highly-Active Anti-Retrovirus)
• Antiretroviral Drugs เป็นยาที่ใช้รักษาการติดเชื้อ retrovirus โดยเฉพาะ
อย่างยิ่ง HIV
• Combination therapy
• สูตรของการให้ยาแบบ HAART
– 2 Nucleoside-analogue RTIs + 1 non- nucleoside-analogue RTI OR
– 2 Nucleoside-analogue RTIs + protease inhibitor
Triple cocktail
Nowadays  FixednDose Combination
-> Pt. รับประทานยาเม็ดน้อยลง + ถี่น้อยลง
-> Pt. ร่วมมือในการรับประทานยาดียิ่งขึ้น

ผลการรักษาดีขนในระยะยาว +
ึ้
การดือยาน้อยลงด้วย
้
Antiretroviral (ARV) Druds
[ขึ้นอยู่กับระดับการออกฤทธิ์ในวงจรการการติดเชื้อของ HIV]
หลักการใช้ยาต้านเชื้อไวรัสHIV ที่ดี
• ลดจานวนเชื้อไวรัสและเพิ่มจานวนเม็ดเลือดขาวซีดี4 ทาให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายดีขึ้น
ติดเชื้อโรคฉวยโอกาสลดลงและสามารถดาเนินชีวิตได้เป็นปกติ
• ผู้ติดเชื้อไวรัสHIV ที่เริ่มใช้ยาต้องใช้ยาติดต่อกันอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ เพื่อยับยั้ง
ควบคุมไม่ให้เชื้อ เพิ่มจานวนมากขึ้น
• ต้องใช้ยาต้านเชื้อไวรัสHIV อย่างน้อย ๓ ชนิด เพื่อให้เกิดผลดี
• กินยาตรงเวลาสม่าเสมอทุกวัน ป้องกันปัญหาการดื้อยา เพราะถ้าเกิดการดื้อยา
จะต้องเปลี่ยนไปใช้ยาชนิดอื่นๆ ที่ให้ผลการรักษาเท่าเทียมกันหรือด้อยกว่า
แต่มีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้น อาจมีอาการอันไม่พึงประสงค์หรือผลข้างเคียงจากยาที่พบ
ได้บ่อยกว่าและ/หรือมีอาการข้างเคียงที่รุนแรงกว่าด้วย
ดังนั้น ก่อนเริมใช้ยาต้านเชื้อไวรัสHIV ผู้ป่วยควรได้มีความรู้และความเข้าใจ
่
เรื่องการใช้ยากลุ่มนี้อย่างชัดเจน ซึ่งสรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้
๑. การเริ่มใช้ยาต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด
๒. ผู้ติดเชื้อไวรัสHIV ต้องมีค่าระดับเม็ดเลือดขาวCD4 ต่ากว่า ๒๐๐ หรือเมื่อผู้ป่วยเริ่มมี
อาการอื่นๆ ผิดปกติ อันใดอันหนึ่งของโรคติดเชื้อฉวยโอกาส
๓. ผู้ใช้ยาควรมีความรู้และความเข้าใจเรื่องการใช้ยากลุ่มนี้อย่างชัดเจน และมีความพร้อม
ปฏิบัติตามการใช้ยาอย่างถูกต้อง ตรงเวลา สม่าเสมอ และต่อเนื่อง
๔. ต้องใช้ยาอย่างน้อย ๓ ชนิดร่วมกัน ตามคาแนะนาของแพทย์
๕. ผู้ใช้ยาควรมีความรู้ถึงผลดีของการรักษา และผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นได้ เพื่อเฝ้าระวัง
สังเกต และดูแลตนเองขณะใช้ยา หรือไปพบแพทย์เมื่ออาการรุนแรงมากขึ้น
รู้ได้อย่างไรว่าใช้แล้วได้ผลหรือไม่?
• เมื่อเริ่มใช้ยาต้านเชื้อไวรัสHIV อย่างถูกต้องและ เหมาะสมไปแล้วสัก
ระยะหนึ่ง จะสังเกตว่ายาเริมเห็นผลได้จาก
่
– น้าหนักตัวที่เริ่มเพิ่มขึ้น
– โรคฉวยโอกาสที่เคยเป็นจะมีอาการดีขึ้น ลดความรุนแรงลง หรือไม่มี
– ระดับเม็ดเลือดขาวCD4 มีปริมาณเพิ่มขึ้น
– ปริมาณไวรัสในเลือด ลดน้อยลง
– คุณภาพชีวิตก็จะดีขึ้น
มีรายงานว่า มีผู้ป่วยที่ใช้ยาอย่างสม่าเสมอและมีอายุยืนยาว จนถึงปัจจุบันก็เกิน
กว่า ๑๐ ปีแล้ว และยังสามารถดาเนินชีวิตได้เป็นปกติ
ผลข้างเคียงของการใช้ยา HAART
วัคซีนรักษาโรคเอดส์
• วัคซีนก็เป็นอีกทางเลือกหนึงในการรักษาโรคเอดส์ มีการพัฒนาวัคซีน
่
ขึ้นเพื่อประโยชน์ของชาวโลก แต่ในข้อมูลปัจจุบันพบว่า การทดลองใช้
วัคซีนโรคเอดส์ ยังไม่ค่อยได้ผลดีในระดับที่น่าพอใจนัก คงต้องรอ คอย
เวลาให้กับนักวิจัยและพัฒนาวัคซีนต่อไปในอนาคต
การเลือกใช้ยารักษา
• การจะเลือกใช้ยารักษาขึ้นกับปัจจัยดังต่อไปนี้
– ปริมาณเซลล์ CD4 และปริมาณเชื้อHIV ( viral load )
– ประวัติการรักษาโรคติดเชื้อ HIV
– ปริมาณยาที่ใช้และราคายา
– ผลข้างเคียงของยา
– การออกฤทธิ์ต้านกันของยา
เมือไรจะเริ่มรักษา...
่
ผู้เชี่ยวชาญลงความเห็นเหมือนกันว่าจะเริมรักษาโรคเมือ ผู้ป่วยมีอาการของโรค
่
่
เอดส์ เซลล์ CD4 ลดลงมีปริมาณเชื้อมาก(viral load)

การรักษาผู้ป่วยจะแยกเป็นกรณี
• การรักษาหลังสัมผัสโรคติดเชือ HIV ( Post-Exposure Prophylaxis )
้
ผู้ที่ได้รับสัมผัสเชื้อภายใน 72 ชั่วโมง เช่นการที่ถกเข็มที่เปื้อนเลือดผู้ป่วยHIVตา
ู
การเจาะเลือดหา viral load หลังสัมผัสเชือHIV จะยังไม่พบ
้
• Primary Infection หมายถึงภาวะตังแต่เริมได้รับเชื้อจนกระทั้งภูมิต่อเชื้อ
้
่
HIV เพิ่มจนสามารถตรวจพบได้ ระยะนี้มีเวลาประมาณ 12-20 สัปดาห์
หากพบผู้ป่วยระยะนี้ต้องรีบให้การรักษาโดยเร็ว แพทย์ส่วนใหญ่แนะนา
ว่าให้รับประทานตลอดชีวิต แต่บางท่านแนะนาให้รับประทานยา 24
เดือนแล้วลองหยุดยา

• ผูทตดเชือ HIV โดยทีไม่มอาการ (Asymptomatic Patients with
้ ี่ ิ ้
่ ี
Established Infection ) การรักษาผู้ที่ติดเชื้อซึ่งไม่มีอาการยังเป็นที่
ถกเถียงกันว่าจะมีประโยชน์หรือไม่ แต่ก็มคาแนะนาในการรักษาตาม
ี
ตารางข้างล่าง
ระยะของโรค

ปริมาณเซลล์CD4+ T-Cell

ปริมาณHIV RNA

คาแนะนา

มีอาการของโรคเอดส์
ไม่ต้องดูค่า
ไม่ต้องดูค่า
ให้การรักษา
(เชื้อราในปาก ไข้เรื้อรัง)
เป็นโรคเอดส์
เป็นโรคเอดส์ แต่ไม่มีอาการ CD4+ T cells <200/mm3
ไม่ต้องดูค่า
ให้การรักษา
ไม่มีอาการ
CD4+ T cells >200
ไม่ต้องดูค่า
ควรให้การรักษา
แต่ <350 /mm3
ไม่มีอาการ
CD4+ T cells >350/mm3 HIV RNA (bDNA) >30,000 ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้รกษา
ั
copies/ml or(RT-PCR) เนื่องจากผู้ป่วยจะกลายเป็น
>55,000 copies/ml เอดส์ร้อยละ30 ในเวลา 3 ปี:
แต่ถ้าปริมาณ HIV RNA ไม่
สูงมากก็แนะนาว่ายังไม่ต้อง
รักษาแต่ต้องตรวจเลือดถี่ขึ้น
ไม่มีอาการ
CD4+ T cells >350/mm3 HIV RNA (bDNA) <30,000 ผู้เชี่ยวชาญแนะนายังไม่ต้อง
copies/ml or (RT-PCR) ให้การรักษาเพราะจะ
<55,000 copies/ml
กลายเป็นโรคเอดส์ร้อยละ
<15 ในระยะเวลา3 ปี
การรักษา
• ก่อนการรักษาผู้ป่วยต้องเรียนรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อในหลายๆแง่มุม
รวมทั้งการดาเนินของโรค การดื้อยา ผลข้างเคียงของยา ราคายา การ
ติดเชื้อฉวยโอกาส และเมื่อตัดสินใจรักษาแล้วแพทย์จะจ่ายยาที่คิดว่าดี
ที่สุดเพื่อป้องกันการดื้อยา ผูป่วยต้องให้คามั่นสัญญาว่าจะรักษาเพราะ
้
การขาดยาแม้เพียงมื้อใดมื้อหนึงก็จะทาให้ระดับยาในเลือดลดลงซึ่งทาให้
่
เชื้อดื้อยาได้ ผู้ป่วยต้องปรึกษากับแพทย์ถึงราคายาเนื่องจากขณะนี้ราคา
ยังแพงอยู่
เป้าหมายในการรักษา
• เชื้อ HIV เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคเอดส์ การยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อ HIV
จะทาให้หยุดหรือชะลอ
การดาเนินของโรคเอดส์โดยมีเป้าหมายการรักษาดังนี้
–
–
–
–

เพื่อยืดอายุและทาให้คุณภาพชีวตดีขึ้นในระยะยาว
ิ
หยุดการแบ่งตัวของไวรัสให้เหลือน้อยที่สุด(น้อยกว่า 50) และนานที่สด
ุ
สามารถใช้ยาได้อย่างมีประสิทธิภาพให้นานที่สด
ุ
ลดผลข้างเคียงของยา

ข้อสาคัญผู้ท่ีติดเชื้อ HIV สามารถมีชีวิตอยู่ได้ระยะยาวโดยที่ไม่ได้รักษาโดยที่
ไม่เกิดอาการ ดังนั้นผู้ป่วยบางรายยังไม่จาเป็นต้องรีบรักษา ควรปรึกษาแพทย์
การติดตามการรักษา
• ก่อนการรักษาแพทย์จะตรวจจานวน CD4-T และ viral load
(HIV RNA testing) 2 ครั้งเพื่อเป็นค่าไว้สาหรับเปรียบเทียบ
• หลังการรักษา 4-8 สัปดาห์แพทย์จะเจาะเลือดอีก
• ถ้าได้ผลดีและอาการผู้ป่วยคงที่ก็จะเจาะเลือดทุก 2-4 เดือน
• แต่ถ้ามีการลดลงของ CD-T แพทย์ก็จะเจาะเลือดบ่อยขึ้น
การติดตามการรักษา
หลังการรักษาด้วยยาต้านไวรัส HIV เมื่อผูป่วยอาการดีขึ้นแพทย์อาจจะนัด
้
ตรวจทุก 3-6 เดือน แพทย์จะนัดตรวจเพื่อประเมินสิ่งต่อไปนี้
• ดูประสิทธิผลของยา หากได้ผลดี CD4-T และ viral load ควรจะอยู่ใน
เกณฑ์ดี
• ผลข้างเคียงของยา และปัญหาเกี่ยวกับผู้ปวย
่
• ดูการดาเนินของโรคว่าเป็นไปเป็นโรคเอดส์หรือยัง
• ดูว่ามีโรคฉวยโอกาสเกิดขึ้นหรือยัง
• ดูแลสุขภาพทั่วไป
สามารถป้องกันโรคเอดส์ได้อย่างไร?
• เพราะโรคเอดส์แพร่เชื้อด้วยเพศสัมพันธ์ ยูเอ็นเอดส์(UNAIDS) มี
ข้อเสนอแนะเพื่อความปลอดภัยในการป้องกัน คือ ข้อเสนอ
ปฏิบัติ ABCD ดังนี้
A (Abstain) การมีเพศสัมพันธ์ที่มีการควบคุมและไม่สาส่อน
B (Be faithful) การมีเพศสัมพันธ์กบคู่ร่วมสัมพันธ์ที่เชื่อใจได้
ั
C (Condom Use) การใช้ถุงยางอนามัย
D (Do Pre-test) การได้รับการตรวจเอดส์
C (Condom Use) การใช้ถงยางอนามัย
ุ
ประโยชน์ของการใช้ถุงยางอนามัยสามารถป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
อื่นๆ และความไม่พร้อมในการตั้งครรภ์ได้ การใช้ถุงยางอนามัยจึงเป็นวิธีการป้องกันที่ง่ายและได้
ผลประโยชน์ของการใช้ และวิธีการใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันโรคเอดส์
1. พยายามอย่าให้เล็บจิกโดนถุงยางอนามัย
2. จับและดึงตรงปลายสุดของถุงยางอนามัย
3. ใส่ถุงยางอนามัยในขณะที่อวัยวะเพศกาลังแข็งตัว จากนั้นดึงให้สุด
4. หลังจากเสร็จกิจจากการมีเพศสัมพันธ์แล้วกรุณาถอดถุงยางอนามัยอย่างระมัดระวัง
5. ถุงยางอนามัยที่ใช้แล้ว กรุณามัดแล้วห่อด้วยกระดาษชาระก่อนทิ้งทุกครั้ง

D (Do Pre-test) การได้รบการตรวจเอดส์
ั
ในกรณีที่มีความวิตกกังวลหลังจากที่ได้มีเพศสัมพันธ์ที่น่าสงสัยว่าอาจจะติดเชื้อเอดส์ จะต้องเข้า
รับการตรวจเอดส์หลังจากที่ได้มีพฤติกรรมเสี่ยงนี้แล้วประมาณ 12 สัปดาห์(ประมาณ 3 เดือน) จึงจะ
ได้ผลตรวจที่แน่นอนและชัดเจน คุณสามารถเข้ารับการตรวจเอดส์ฟรี โดยไม่เปิดเผยรายชื่อได้ที่คิวซี
(KHAP) หรือสถานีอนามัย
หากได้รับเชือโรคเอดส์แล้วสามารถรักษาให้หายได้หรือไม่?
้
โรคเอดส์ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่หาก.....
-ได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี จะทาให้มีสุขภาพที่ดและมีชวิตอยู่ได้นานใน
ี
ี
-ต้องใช้ยาหลายๆ ชนิด ในเวลาเดียวกัน เพื่อควบคุมการเพิ่มขึ้นของเชื้อ
HIV
- รับประทานอานอาหารที่มคุณค่าทางโภชนาการ
ี
- ออกกาลังกายอย่างถูกต้องและพักผ่อนให้เพียงพอ
- ทาจิตใจให้สบาย
Occupational exposure
[อุบัติเหตุเข็มตาในขณะทางานในคลินิก]
มีอัตราเสี่ยงในการติดเชื้อ แต่จากการศึกษาพบว่าโอกาส ในการติดเชือ
้
ค่อนข้างต่า
แต่อัตราการติดเชือนี้จะสูงขึนถ้าอุบัตเหตุ นันๆ เกิดขึ้นโดย :
้
้
ิ
้
1. เป็น Deep injury (จะมีโอกาสติดเชื้อสูงขึ้น 16 เท่า
2. มีเลือดติดชัดเจนที่เครื่องมือ
3. ทิมตรง เข้า vein หรือ artery
่
4. contamination มาจาก ผู้ป่วย AIDS ระยะสุดท้าย (จะมีโอกาสติดเชื้อสูงขึ้น
6 เท่า )
Post-exposure management
เมื่อเกิดอุบัติเหตุขณะทางาน ไม่ ควรตกใจ ลนลานจนเกิดเหตุ ควรตั้งสติให้ดี และ
ทบทวนเหตุการณ์อย่างสุขุม เพื่อประโยชน์ในการพิจารณารูปแบบของ prophylactic
treatment ที่เหมาะสมกับสถานการณ์
ตามปกติในการทางานนั้น ต้องมี protocol ทีset ไว้ ประให้ทันตแพทย์ และ
่
ผู้ปฏิบัติงานซึ่งมีความเสี่ยงบต่ออุบัติการณ์ทุกคนรับทราบ โดยทั้วไปมักมีขั้นตอนการปฏิบัติ
ตัวลาดับดังนี้
1. ล้างแผล 5 นาที (สบู่,alcohol,betadine) บีบเลือดออก,]ล้าง,ใส่แผลด้วย i2 2.5%
2. รายงานด่วนต่ออาจารย์หรือ ต่อแพทย์ผู้ที่รับผิดชอบการรายงานตาม protocol ที่
เขียนไว้
3. ตรวจคนไข้ต้นเหตุ (ควรตรวจทั้ง HIV, Hep B,Hep C) ถ้าผล positive มีข้นตอน
ั
ต่อไปคือ
ตรวจผูถกเข็มตา เพื่อทา baseline ไว้ก่อนที่จะ consult แพทย์เพื่อพิจารณาความเสี่ยง
ู้
ต่อการติดเชื้อ
คาแนะนาสาหรับการให้ยาป้องกัน
• เมื่อท่านสัมผัสกับสารคัดหลั่งเช่น เลือด น้าเชื้อ หรือสารคัดหลั่งอื่นของผู้ที่เป็นโรค
เอดส์ และให้พบแพทย์ให้เร็วที่สุดก่อน 72 ชั่วโมงควรจะได้รับยาป้องกันการติดเชื้อ
ตามแนวทางแนะนาและควรจะให้ยานาน 28 วัน
• ยังไม่มีหลักฐานว่าการใช้ยาตัวไหนดีที่สุด
• ยังไม่มีหลักฐานว่าการใช้ยา 3 ชนิดจะดีกว่า 2 ชนิด แพทย์และผูป่วยต้องปรึกษาว่า
้
ถึงผลดีผลเสียของการใช้ยา 3 ชนิด
• หากได้ประวัติจากผู้ให้เชื้อ ต้องซักประวัติว่าเคยได้ยาต้านไวรัสมาก่อนหรือไม่ เจาะดู
ปริมาณเชื้อเมื่อใด ดื้อต่อยาชนิดไหนเพื่อที่จะได้ปรับการให้ยาป้องกัน
• ถ้าไม่ทราบว่าผู้ที่เราสัมผัสติดเชื้อหรือไม่ การสัมผัสไม่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ
การให้ยาป้องกันอาจจะเกิดผลเสียมากกว่าผลดี
• หากวิธการได้รับเชื้อ เสี่ยงต่อการติดเชื้อต่า หรือพบแพทย์เกิน 72
ี
ชั่วโมงหลังการสัมผัสไม่แนะนาให้รับยาป้องกันเพราะไม่ได้ผล
ผู้ที่ได้รับยาป้องกันต้องปฏิบัตตัวอย่างไรบ้าง
ิ
• ยาที่ได้ช่วงแรกไม่เกิน 3-5 วันเพื่อดูว่ามีผลข้างเคียงอย่างไรบ้าง ผลเลือดที่ตรวจ
เป็นอย่างไร และได้รับคาปรึกษาเกี่ยวการใช้ยาหรือโรค
• หากแพทย์ไม่คุ้นกับการใช้ยา ควรจะปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สาหรับรายที่คิดว่า
เชื้อจะดื้อยา เด็ก คนท้องต้องปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ

• ผู้ที่ได้รับยาไม่ควรจะหยุดยาเอง หากมีอาการจากยาให้ปรึกษาแพทย์
• ผู้ที่สัมผัสโรคควรจะได้รับการตรวจหาภูมิต่อเชื้อไวรัส HIV ที่ 4-6
สัปดาห์ 3และ6 เดือนหลังจากสัมผัสเพื่อดูว่าได้รับเชื้อไปหรือเปล่า
นอกจากนั้นยังต้องตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ซี การตั้งครรภ์
• ผู้ที่สัมผัสโรคควรจะรู้เกี่ยวกับอาการแสดงของการติดเชื้อ HIV
• ผู้ที่สัมผัสโรคต้องป้องกันการติดเชื้อไปสู่คนอื่นโดยการงดหรือสวม
ถุงยางหากมีเพศสัมพันธ์ จนกระทั่งพิสูจน์ว่าไม่ได้รับเชื้อจากคนป่วย
• สาหรับผู้ที่นาเชื้อมาแพร่ก็ควรที่จะได้รับการรักษาและคาแนะนาเพื่อ
ป้องกันมิให้แพร่เชื้อไปสู่ผ้อ่น
ูื
แนวทางปฏิบัตเมือคุณมีพฤติกรรมเสียงต่อการติดเชือเอดส์ เช่นร่วมเพศกับคนอืน
ิ ่
่
้
่
• เจาะเลือดตัวคุณเองก่อนเพื่อดูว่าตัวคุณเองเคยได้รับเชื้อมาก่อนหรือไม่
• หากไม่ทราบว่าคนที่คุณยุ่งเกี่ยวด้วยติดเชื้อหรือไม่ ก็ให้นาคนนั้นมาเจาะเลือดเช็คอย่าง
รีบด่วน
• หากทราบว่าเป็นโรคเอดส์หรือผลเลือดบอกว่าเป็นโรคนี้ และคุณพบแพทย์ก่อน 72
ชั่วโมงก็พิจารณาให้ยาป้องกัน หากคุณพบแพทย์หลังสัมผัสโรคเกิน 72 ชั่วโมงก็ไม่ต้อง
ให้

• หากคุณมีพฤติกรรมเสี่ยงบ่อยๆ การให้ยาอาจจะให้ผลไม่ดี

More Related Content

What's hot

โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใสDbeat Dong
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน sucheera Leethochawalit
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงRachanont Hiranwong
 

What's hot (20)

โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็กโรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
โรคติดต่อที่สำคัญในเด็ก
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ปริทันต์
ปริทันต์ปริทันต์
ปริทันต์
 
ภูมิแพ้
ภูมิแพ้ภูมิแพ้
ภูมิแพ้
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
อีสุก อีใส
อีสุก อีใสอีสุก อีใส
อีสุก อีใส
 
CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
คางทูม
คางทูมคางทูม
คางทูม
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
 
6วงจรชีวิตยุงลาย 2
6วงจรชีวิตยุงลาย 26วงจรชีวิตยุงลาย 2
6วงจรชีวิตยุงลาย 2
 
ไข้เลือดออก2556
ไข้เลือดออก2556ไข้เลือดออก2556
ไข้เลือดออก2556
 
ปริทันต์
ปริทันต์ปริทันต์
ปริทันต์
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 

Similar to HIV

Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemictaem
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสWitsanu Rungsichatchawal
 
common CNS disease in pediatric
common CNS disease in pediatriccommon CNS disease in pediatric
common CNS disease in pediatricSakda Taw
 
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)Nonglak Ban
 

Similar to HIV (20)

Laboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infectionLaboratory diagnosis of viral infection
Laboratory diagnosis of viral infection
 
Epstein Barr Virus
Epstein Barr VirusEpstein Barr Virus
Epstein Barr Virus
 
Ebola virus disease
Ebola virus disease Ebola virus disease
Ebola virus disease
 
Ebola virus disease
Ebola virus disease Ebola virus disease
Ebola virus disease
 
Meningitis
MeningitisMeningitis
Meningitis
 
Meningitis And Encephalitis
Meningitis And EncephalitisMeningitis And Encephalitis
Meningitis And Encephalitis
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 
Emerging infectious disease
Emerging infectious diseaseEmerging infectious disease
Emerging infectious disease
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 
plague
plagueplague
plague
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัส
 
common CNS disease in pediatric
common CNS disease in pediatriccommon CNS disease in pediatric
common CNS disease in pediatric
 
Hiv รพช2015 2.ppt
Hiv รพช2015  2.pptHiv รพช2015  2.ppt
Hiv รพช2015 2.ppt
 
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Factsheet
FactsheetFactsheet
Factsheet
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
Dangue fever pp
Dangue fever ppDangue fever pp
Dangue fever pp
 

HIV

  • 1. HIV
  • 2. รายชื่อสมาชิก นางสาวอรพรรณ เย็นอก รหัส 5209110032 นางสาวเบญจพร อุทกัง รหัส 5209110039 นางสาวสุภัทรา ศรีรอด รหัส 5209110043 นางสาววรัฏฐา แก้วช่วง รหัส 5209110056 นิสิตทันตแพทยศาสตร์ ชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น
  • 3. HIV คืออะไร ? HIV = Human Immunodeficiency Virus Retrovirus @ Sub.Fam. Lentivirus AIDs [Acquired Immune Dificiency Syndrome] กลุ่มอาการของโรค = อาการแสดง (Symptom) = มีหลายอาการ ?
  • 4. The Structure of HIV • • • • • Outside of a human cell HIV exists as roughly spherical particles (sometimes called virions). The surface of each particle is studded with lots of little spikes. An HIV particle is around 100-150 billionths of a metre in diameter. That's about the same as: – 0.1 microns – 4 millionths of an inch – one twentieth of the length of an E. coli bacterium – one seventieth of the diameter of a human CD4+ white blood cell.
  • 6. เราสามารถติด HIV ได้อย่างไร • Partway of HIV Transmission –Sex  Homosexual [Gay&Lesbian] –Blood  intravenous drug users (IVDC), hemophiliacs, blood transfusions, tattoos, piercings, and scarification –Mother-to-child in utero (during pregnancy), intrapartum (at childbirth), via breast feeding
  • 7. Partway of HIV Transmission
  • 8.
  • 9. การติดเชื้อง่าย – ยาก ? • ปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื่อง่าย – ยาก –เนื้อเยื่อทีสัมผัส (เลือด/น้้าลาย/น้้ากาม) ่ –Viral concentration –Partway of transmission –ความถี่ของการสัมผัสโรค –ระยะของโรค –ปัจจัยอื่น เช่น สุขภาพ มีแผล ?
  • 10. Cell ที่ติดเชื้อ HIV ได้ ? • เซลล์ทมีการแสดงออกของโปรตีน CD4 (CD4+ Cell) ได้แก่ ี่ – T cell, B cell, Monocyte, Macrophage, Dendritic cell, Bone marrow precursor, Langerhans cell – Gila cell, Brain cappillary endothelium • Cell อื่นๆ ได้แก่ Kuffer cell, Bowel, Cervical epithelium Important Reservoirs of HIV @ Body Brain ; microglia cell, macrophage Bone marrow ; macrophage Gut ; T cell, macrophage
  • 11. ติด HIV แล้วมันไปท้าอะไรกับร่างกายเรา? • Virus เกาะ @ recptor CD4 on cell surface • Virus แทรกตัว ทะลุ cell wall • Virus จะให้ enz. RT (Reverse Transcriptase) สร้าง RNA  DNA • Virus DNA เชื่อมกับ DNA of Cell Host • Stimulation  Production of RNA HIV Replication
  • 12. การจ้าลองแบบของ HIV (HIV Replication) • • • • • • Step Step Step Step Step Step 1: Host cell binding and virus entry 2: Uncoating the viral capsid 3: Transcription 4: Integration into host cell DNA 5: Virus protein synthesis and assembly 6: Exocytosis or storage within the host cell Mutations and latency as inhibiting factors of complete HIV eradication
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16. HIV เป็นการติดเชื้ออย่างถาวร!!! • Provirus + DNA of Host cell เมื่อ Cell มีการแบ่งตัว จะมีการ Replicate DNA of Host Cell โดย แบ่ง viral genome ไปอยู่ @Daughter cell เสมอ ทุกครั้งไป กลายเป็นส่วนหนึ่งของ Cell ตลอดไป
  • 18. หลังรับเชื้อ HIV เกิดอะไรในผู้ได้รับเชื้อ • ระยะฟักตัว [Incubation Phase] (ระยะตั้งแต่รับเชื้อ HIV  แรกปรากฏอาการ) –≈ 1-6 wk  มี virus peplication  viremia –มีอาการของ acute infection • ระยะติดเชือเฉียบพลัน [Acute Infection Phase] ้ –กินเวลา ≈ 2-4 wk มีอาการป่วย (ชัดเจนหรือไม่ก็ได้) –อาการที่พบ  มีไข้ ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดตามข้อ ต่อมน้้าเหลืองโต อ่อนเพลีย มีผื่นแดงตามผิวหนัง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ –ตรวจพบ  viral antigen, DNA, RNA และแยกเชื้อไวรัสได้
  • 19.
  • 20. • ระยะไม่มอาการ [Asymptomatic Phase] ี –ตั้งแต่ > 4 mouth  5 years.  “ติดเชื้อแอบแฝง” –เป็นช่วงหายจากระยะ Acute infection –Viral antigen↓ –พบ antibody ↑ • ระยะเอดส์ [AIDs] –Virus ↑↑↑ (uncontrol) –Antibody + Immmune cell↓↓↓  None –Pt. อาจตายจาก การติดเชื้อและมะเร็ง
  • 21. Examples of opportunistic infections and cancers System Respiratory system Gastro-intestinal system Central/peripheral Nervous system Skin Examples of Infection/Cancer Pneumocystis jirovecii Pneumonia (PCP) Tuberculosis (TB) Kaposi's Sarcoma (KS) Cryptosporidiosis Candida Cytomegolavirus (CMV) Isosporiasis Kaposi's Sarcoma Cytomegolavirus Toxoplasmosis Cryptococcosis Non Hodgkin's lymphoma Varicella Zoster Herpes simplex •Herpes simplex •Kaposi's sarcoma •Varicella Zoster
  • 22. Opportunistic Infection • Opportunistic Infection ของผู้ติดเชื้อ HIV และเป็นเอดส์ พบมาก เป็นอันดับแรก (@ July 2010) – Mycobacterium Tuberculosis (pulmonary & extrapulmonary) ≈ 30% – ปอดบวมจาก Pneumocystic carinii ≈ 20% – Wasting syndrome (emaciation, slim disease) ≈ 19% – Crytococcal meningitis ≈ 13% – Candidiasis (Oral, Trachea, Bronchi) ≈ 4.87%
  • 23. WHO clinical staging of HIV disease in adults and adolescents (2006 revision) • In resource-poor settings, medical facilities are sometimes poorly equipped and tests to measure CD4 count and viral load are unavailable. In this case, another method to determine whether an individual should begin treatment is used. • The World Health Organisation (WHO) developed a staging system for HIV disease based on clinical symptoms, which may be used to guide medical decision making.
  • 24. © World Health Organization 2010
  • 25. © World Health Organization 2010
  • 26. © World Health Organization 2010
  • 30. ความรุนแรงของโรคระดับ 2 Herpes zoster งูสวัด Herpes zoster มีตุ่มขึ้นตามแนวเส้นประสาท
  • 31. ความรุนแรงของโรคระดับ 2 Angular chelitis ปากนกกระจอก Angular cheilitis มุมปากแตกตอบสนองต่อยารักษาเชื้อรา
  • 32. ความรุนแรงของโรคระดับ 2 Recurrent oral ulceration ปัจจัยที่มักจะก่อให้เกิด ความเครียด เหนื่อยล้า การนอนดึก การกัดโดน การเปลี่ยนแปลงของ ฮอร์โมน การมีประจ้าเดือน การแพ้อาหาร หรือ อาจเกิดจากการขาด วิตามิน B12 ธาตุเหล็ก หรือ กรดโฟลิค อาจลด และป้องกัน การเกิด แผลร้อนใน ได้ด้วยการไม่รับประทานน้้าใน ปริมาณมากๆ หลังหรือพร้อมอาหารในทันที ควร รับประทานน้้ามากๆ ระหว่างมื้อแทน เพราะช่วย ให้ กรดในกระเพาะอาหารท้างานได้ดีขึ้น และลด โอกาสที่ กรดจะเอ่อล้นขึ้นมาในท่อหลอดอาหาร ซึ่งจะท้าให้ระคายเคืองเยื่อบุหลอดอาหารและช่อง ปาก จนท้าให้เกิดแผลร้อนในได้ง่าย
  • 33. ความรุนแรงของโรคระดับ 3 Persistent oral candidiasis มีอาการเจ็บปากและมีคราบขาวๆในปากเป็นๆหายๆ
  • 34. ความรุนแรงของโรคระดับ 3 Oral hairy leukoplakia ผื่นขาวๆข้างลิ้น
  • 35. ความรุนแรงของโรคระดับ 3 Acute necrotizing ulcerative stomatitis, gingivitis or periodontitis Linear Gingival Erythema (LGE), Red Band Gingivitis Necrotizing Ulcerative Gingivitis Necrotizing Ulcerative Periodontitis ปาดอักเสบ มีแผล ฟันร่วง กลิ่นปากแรง (NUP) Acute Necrotizing Ulcerative Periodontitis (ANUP)
  • 36. ความรุนแรงของโรคระดับ 4 Chronic herpes simplex infection Chronic herpes simplex infection Herpes Simplex Virus (HSV), hard palate
  • 38. Kaposi’s Sarcoma Courtesy of Dr. Steve Debbink Dental Director, AIDS Resource Center of Wisconsin
  • 41. Kaposi’s Sarcoma - Attached gingiva
  • 45. Pathology of Immuneity system ? Pathology of Immuneity system ที่ลดลงของ pt. เนื่องมาจาก • HIV ฆ่า T4 cell  T4 ↓ + ท้าให้เกิดผลเสียทั้งระบบ Immunity – T8 specific cytotoxicity ↓ + การสร้าง T8↓ – NK  Dysfunction – B-cell สร้าง Ig ต่อ specific Ig ↓ + ดื้อต่อการรับ Signal ต่างๆ – Macrophage chemotaxis ↓ + การฆ่า parasite ↓ – T4 ตอบสนองต่อ Ag↓ + การสร้าง Lymphokines & T4 ↓ – เกิดการ apoptosis of CD4 cell ที่อยู่ใกล้ cell ที่ติดเชื้อ • Syncytial formation • Gp 120 mediated cytotoxicity • Collapse of Immune system • HIV infect stem cell • Induce autoimmune mechanism
  • 46. การวินิจฉัยโรคเอดส์ 1.การตรวจหาส่วนประกอบของไวรัสจาก เลือด [viral ag. เช่น p24, p18 ,viral protcin] ใช้ในการตรวจระยะแรกของการติดเชื้อ 2.การแยกเชื้อไวรัสจากผู้ป่วย (Isolate viruses and culture) 3.การตรวจสารพันธุกรรมของไวรัส (viral RNA, Provirus) จากเซลล์ หรือคือการตรวจหา ปริมาณไวรัสที่มีอยู่ในกระแสเลือด ใช้ในการทานายโรด และ ติดตามการีรักษา 4.ตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อไวรัสจาก เลือด *เป็นวิธีที่ใช้ในทางปฎิบัติตามปกติ (*หรือใช้จากน้าลาย แต่ยังไม่ใช้เป็นวิธีทั่วไปเพราพเหตุผลสาคัญหลายประการ) แบ่งเป็น -Screening test ELISA (sensitivity 100%, specificity 98%) -Confirmatory test :Western blot (specificity 100%) -Rapid test (false+ve and false-ve ~ 2~3%)
  • 47. ประโยชน์ทีผู้ที่ได้รับการตรวจเลือดหาภูมิต่อเชื้อ HIV ประโยชน์ที่ผู้ที่ได้รับการตรวจเลือดหาภูมิต่อเชื้อ HIV แบ่งได้เป็น • ผลเลือดบวกคือได้รับการติดเชื้อ HIV – ผู้ป่วยจะได้รับการประเมิน การวางแผนการรักษา การรักษาด้วยยาต้านไวรัส HIV รวมทั้งการ ติดเชื้อฉวยโอกาส – มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการดารงชีวิตเพื่อให้สุขภาพดีขึ้น เช่น การออกกาลังกาย การงด บุหรี่ การอดแอลกอฮอร์ อาหาร – เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเพื่อลดการติดเชื้อ หรือแพร่เชื้อสู่ผู้อื่น เช่นการมีเพศสัมพันธ์ การฉีดยาเข้า เส้น – ลดความวิตกกังวล – ลดการติดเชื้อจากแม่ไปลูก • ผลเลือดให้ผลลบคือไม่ได้รับการติดเชื้อ HIV – ผู้ที่ได้รับการตรวจก็จะสบายใจไม่ต้องวิตกกังวล – ได้รับคาแนะนาการป้องกันการติดเชื้อ HIV – ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคเอดส์
  • 48. ประโยชน์ในทางการแพทย์ ที่จะได้รับสาหรับผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ที่ไม่มีอาการ • • • • • อาการเนื่องจากการติดเชื้อ HIV มีได้หลายอย่างรูปแบบตังแต่ไม่มีอาการจนกระทั่งมีอาการอย่าง ้ อ่อนจนกระทั่งเป็นเอดส์เต็มขั้น และยาต้านไวรัสเอดส์ก็สามารถยับยังการเจริญเติบโตของเชื้อและ ป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส และลดอัตราการตายจากโรคแทรกซ้อน แต่การที่จะลดโรคแทรกซ้อน จะต้องตรวจวินิจฉัยให้เร็ว ผู้ป่วยทราบว่าตัวเองอยู่ในระยะไหนของโรค การค้นพบว่าติดเชื้อ HIV ทา ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงการรักษาหลายอย่าง เช่น เมื่อเวลล์ CD4 น้อยกว่า 200 cells/mm มีความจาเป็นต้องให้ยาป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส Pneumocystis carinii เมื่อเวลล์ CD4 น้อยกว่า 50 cells/mm มีความจาเป็นต้องให้ยาป้องกันการติดเชื้อฉวยโอกาส Mycobacterium avium complex (MAC) ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV และมีผลบวกต่อเชื้อซิฟิลิส Syphilis จะต้องเจาะหลังตรวจน้าไขสันหลังเพื่อดูว่า เชื้อซิฟิลิสเข้าสมองหรือไม่ ผู้ป่วยติดเชื้อ HIV เมื่อทดสอบผิวหนังต่อเชื้อวัณโรคถ้าหากให้ผลมากกว่า 5 mm(คนปกติต้องมากกว่า 10 mm)จะต้องให้ยาป้องกันวัณโรค ผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ทุกคนควรได้วัคซีนป้องกันโรคปอดบวมและไวรัสตับอักเสบ บี
  • 49. ประโยชน์ในทางการแพทย์ ทีจะได้รับสาหรับผู้ป่วยติดเชื้อ HIV ที่มอาการ ่ ี ผู้ที่มีอาการมักจะมีภูมิคุ้มกันบางส่วนถูกทาลาย การรักษาโรคบางอย่างอาจจะต้อง ให้ยาปฏิชีวนะนานขึ้นเช่น • ผู้ที่เป็นปอดบวม ไซนัสอักเสบ ท้องร่วงจากไข้ไทฟอยด์ จะต้องให้ยาปฏิชีวนะนานกว่า ปกติ • มะเร็งต่อมน้าเหลืองต้องให้ยากดภูมิน้อยกว่าคนปกติ การตรวจวินิจฉัยเบื้องต้น ก่อนการรักษาแพทย์จะตรวจวินิจฉัยเบื้องต้นเป็นการตรวจเพื่อประเมินระยะของโรคโรค ประจาตัว โรคแทรกซ้อน เพื่อวางแผนการรักษาซึ่งจะตรวจสิ่งต่อไปนี้
  • 50.
  • 51.
  • 53. HIV(human immuno- deficiency virus) คือ ไวรัสที่ทาให้ระบบภูมคมกันของมนุษย์บกพร่องผิดปกติ โดยเข้าไป ิ ุ้ ทาลาย T-lymphocyteหรือCD4 ทาให้มีปริมาณลดลงเรื่อยๆ ทาให้ภูมิคมกัน ุ้ ของร่างกายลดลงเกิดการติดเชื้อได้ง่าย (โรคติดเชื้อ ฉวย โอกาส)เกิด ภาวะแทรกซ้อน และถึงแก่ชวิตในที่สุด ี
  • 55. • การตรวจหาระดับความรุนแรงของโรคเอดส์ จึงสามารถตรวจด้วย การตรวจหา ปริมาณ T-lymphocyte หรือเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 (CD4 + T-cell) ที่เรียกว่า "ระดับเม็ดเลือดขาวชนิดซีด4" ซึ่งถ้ามีการติดเชื้อ ไวรัสHIV รุนแรงมากขึ้น ี ระดับเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 ก็จะมีปริมาณลดต่าลงเรื่อยๆ • ในทางตรงกันข้ามอาจตรวจวัดระดับความรุนแรงของโรคเอดส์ได้จาก ปริมาณไวรัส ซึ่งเรียกว่า ”การตรวจหาปริมาณไวรัสในกระแสเลือด (viral load)” – ถ้ามีการติดเชื้อไวรัสHIV รุนแรงมากขึ้น ปริมาณไวรัสชนิดนี้ในกระแสเลือดก็จะ มีปริมาณมากขึ้น ซึ่งเป็นไปในทางตรงกันข้ามกับระดับCD4 เสมอ
  • 56. ประเภทของยาต้านไวรัส (HAART: Highly-Active Anti-Retrovirus) • Antiretroviral Drugs เป็นยาที่ใช้รักษาการติดเชื้อ retrovirus โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง HIV • Combination therapy • สูตรของการให้ยาแบบ HAART – 2 Nucleoside-analogue RTIs + 1 non- nucleoside-analogue RTI OR – 2 Nucleoside-analogue RTIs + protease inhibitor Triple cocktail Nowadays  FixednDose Combination -> Pt. รับประทานยาเม็ดน้อยลง + ถี่น้อยลง -> Pt. ร่วมมือในการรับประทานยาดียิ่งขึ้น ผลการรักษาดีขนในระยะยาว + ึ้ การดือยาน้อยลงด้วย ้
  • 58. หลักการใช้ยาต้านเชื้อไวรัสHIV ที่ดี • ลดจานวนเชื้อไวรัสและเพิ่มจานวนเม็ดเลือดขาวซีดี4 ทาให้ภูมิคุ้มกันของร่างกายดีขึ้น ติดเชื้อโรคฉวยโอกาสลดลงและสามารถดาเนินชีวิตได้เป็นปกติ • ผู้ติดเชื้อไวรัสHIV ที่เริ่มใช้ยาต้องใช้ยาติดต่อกันอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ เพื่อยับยั้ง ควบคุมไม่ให้เชื้อ เพิ่มจานวนมากขึ้น • ต้องใช้ยาต้านเชื้อไวรัสHIV อย่างน้อย ๓ ชนิด เพื่อให้เกิดผลดี • กินยาตรงเวลาสม่าเสมอทุกวัน ป้องกันปัญหาการดื้อยา เพราะถ้าเกิดการดื้อยา จะต้องเปลี่ยนไปใช้ยาชนิดอื่นๆ ที่ให้ผลการรักษาเท่าเทียมกันหรือด้อยกว่า แต่มีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้น อาจมีอาการอันไม่พึงประสงค์หรือผลข้างเคียงจากยาที่พบ ได้บ่อยกว่าและ/หรือมีอาการข้างเคียงที่รุนแรงกว่าด้วย
  • 59. ดังนั้น ก่อนเริมใช้ยาต้านเชื้อไวรัสHIV ผู้ป่วยควรได้มีความรู้และความเข้าใจ ่ เรื่องการใช้ยากลุ่มนี้อย่างชัดเจน ซึ่งสรุปได้เป็นข้อๆ ดังนี้ ๑. การเริ่มใช้ยาต้องอยู่ในความดูแลของแพทย์อย่างใกล้ชิด ๒. ผู้ติดเชื้อไวรัสHIV ต้องมีค่าระดับเม็ดเลือดขาวCD4 ต่ากว่า ๒๐๐ หรือเมื่อผู้ป่วยเริ่มมี อาการอื่นๆ ผิดปกติ อันใดอันหนึ่งของโรคติดเชื้อฉวยโอกาส ๓. ผู้ใช้ยาควรมีความรู้และความเข้าใจเรื่องการใช้ยากลุ่มนี้อย่างชัดเจน และมีความพร้อม ปฏิบัติตามการใช้ยาอย่างถูกต้อง ตรงเวลา สม่าเสมอ และต่อเนื่อง ๔. ต้องใช้ยาอย่างน้อย ๓ ชนิดร่วมกัน ตามคาแนะนาของแพทย์ ๕. ผู้ใช้ยาควรมีความรู้ถึงผลดีของการรักษา และผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้นได้ เพื่อเฝ้าระวัง สังเกต และดูแลตนเองขณะใช้ยา หรือไปพบแพทย์เมื่ออาการรุนแรงมากขึ้น
  • 60. รู้ได้อย่างไรว่าใช้แล้วได้ผลหรือไม่? • เมื่อเริ่มใช้ยาต้านเชื้อไวรัสHIV อย่างถูกต้องและ เหมาะสมไปแล้วสัก ระยะหนึ่ง จะสังเกตว่ายาเริมเห็นผลได้จาก ่ – น้าหนักตัวที่เริ่มเพิ่มขึ้น – โรคฉวยโอกาสที่เคยเป็นจะมีอาการดีขึ้น ลดความรุนแรงลง หรือไม่มี – ระดับเม็ดเลือดขาวCD4 มีปริมาณเพิ่มขึ้น – ปริมาณไวรัสในเลือด ลดน้อยลง – คุณภาพชีวิตก็จะดีขึ้น มีรายงานว่า มีผู้ป่วยที่ใช้ยาอย่างสม่าเสมอและมีอายุยืนยาว จนถึงปัจจุบันก็เกิน กว่า ๑๐ ปีแล้ว และยังสามารถดาเนินชีวิตได้เป็นปกติ
  • 62. วัคซีนรักษาโรคเอดส์ • วัคซีนก็เป็นอีกทางเลือกหนึงในการรักษาโรคเอดส์ มีการพัฒนาวัคซีน ่ ขึ้นเพื่อประโยชน์ของชาวโลก แต่ในข้อมูลปัจจุบันพบว่า การทดลองใช้ วัคซีนโรคเอดส์ ยังไม่ค่อยได้ผลดีในระดับที่น่าพอใจนัก คงต้องรอ คอย เวลาให้กับนักวิจัยและพัฒนาวัคซีนต่อไปในอนาคต
  • 63. การเลือกใช้ยารักษา • การจะเลือกใช้ยารักษาขึ้นกับปัจจัยดังต่อไปนี้ – ปริมาณเซลล์ CD4 และปริมาณเชื้อHIV ( viral load ) – ประวัติการรักษาโรคติดเชื้อ HIV – ปริมาณยาที่ใช้และราคายา – ผลข้างเคียงของยา – การออกฤทธิ์ต้านกันของยา
  • 64. เมือไรจะเริ่มรักษา... ่ ผู้เชี่ยวชาญลงความเห็นเหมือนกันว่าจะเริมรักษาโรคเมือ ผู้ป่วยมีอาการของโรค ่ ่ เอดส์ เซลล์ CD4 ลดลงมีปริมาณเชื้อมาก(viral load) การรักษาผู้ป่วยจะแยกเป็นกรณี • การรักษาหลังสัมผัสโรคติดเชือ HIV ( Post-Exposure Prophylaxis ) ้ ผู้ที่ได้รับสัมผัสเชื้อภายใน 72 ชั่วโมง เช่นการที่ถกเข็มที่เปื้อนเลือดผู้ป่วยHIVตา ู การเจาะเลือดหา viral load หลังสัมผัสเชือHIV จะยังไม่พบ ้
  • 65. • Primary Infection หมายถึงภาวะตังแต่เริมได้รับเชื้อจนกระทั้งภูมิต่อเชื้อ ้ ่ HIV เพิ่มจนสามารถตรวจพบได้ ระยะนี้มีเวลาประมาณ 12-20 สัปดาห์ หากพบผู้ป่วยระยะนี้ต้องรีบให้การรักษาโดยเร็ว แพทย์ส่วนใหญ่แนะนา ว่าให้รับประทานตลอดชีวิต แต่บางท่านแนะนาให้รับประทานยา 24 เดือนแล้วลองหยุดยา • ผูทตดเชือ HIV โดยทีไม่มอาการ (Asymptomatic Patients with ้ ี่ ิ ้ ่ ี Established Infection ) การรักษาผู้ที่ติดเชื้อซึ่งไม่มีอาการยังเป็นที่ ถกเถียงกันว่าจะมีประโยชน์หรือไม่ แต่ก็มคาแนะนาในการรักษาตาม ี ตารางข้างล่าง
  • 66. ระยะของโรค ปริมาณเซลล์CD4+ T-Cell ปริมาณHIV RNA คาแนะนา มีอาการของโรคเอดส์ ไม่ต้องดูค่า ไม่ต้องดูค่า ให้การรักษา (เชื้อราในปาก ไข้เรื้อรัง) เป็นโรคเอดส์ เป็นโรคเอดส์ แต่ไม่มีอาการ CD4+ T cells <200/mm3 ไม่ต้องดูค่า ให้การรักษา ไม่มีอาการ CD4+ T cells >200 ไม่ต้องดูค่า ควรให้การรักษา แต่ <350 /mm3 ไม่มีอาการ CD4+ T cells >350/mm3 HIV RNA (bDNA) >30,000 ผู้เชี่ยวชาญแนะนาให้รกษา ั copies/ml or(RT-PCR) เนื่องจากผู้ป่วยจะกลายเป็น >55,000 copies/ml เอดส์ร้อยละ30 ในเวลา 3 ปี: แต่ถ้าปริมาณ HIV RNA ไม่ สูงมากก็แนะนาว่ายังไม่ต้อง รักษาแต่ต้องตรวจเลือดถี่ขึ้น ไม่มีอาการ CD4+ T cells >350/mm3 HIV RNA (bDNA) <30,000 ผู้เชี่ยวชาญแนะนายังไม่ต้อง copies/ml or (RT-PCR) ให้การรักษาเพราะจะ <55,000 copies/ml กลายเป็นโรคเอดส์ร้อยละ <15 ในระยะเวลา3 ปี
  • 67. การรักษา • ก่อนการรักษาผู้ป่วยต้องเรียนรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อในหลายๆแง่มุม รวมทั้งการดาเนินของโรค การดื้อยา ผลข้างเคียงของยา ราคายา การ ติดเชื้อฉวยโอกาส และเมื่อตัดสินใจรักษาแล้วแพทย์จะจ่ายยาที่คิดว่าดี ที่สุดเพื่อป้องกันการดื้อยา ผูป่วยต้องให้คามั่นสัญญาว่าจะรักษาเพราะ ้ การขาดยาแม้เพียงมื้อใดมื้อหนึงก็จะทาให้ระดับยาในเลือดลดลงซึ่งทาให้ ่ เชื้อดื้อยาได้ ผู้ป่วยต้องปรึกษากับแพทย์ถึงราคายาเนื่องจากขณะนี้ราคา ยังแพงอยู่
  • 68. เป้าหมายในการรักษา • เชื้อ HIV เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดโรคเอดส์ การยับยั้งการแบ่งตัวของเชื้อ HIV จะทาให้หยุดหรือชะลอ การดาเนินของโรคเอดส์โดยมีเป้าหมายการรักษาดังนี้ – – – – เพื่อยืดอายุและทาให้คุณภาพชีวตดีขึ้นในระยะยาว ิ หยุดการแบ่งตัวของไวรัสให้เหลือน้อยที่สุด(น้อยกว่า 50) และนานที่สด ุ สามารถใช้ยาได้อย่างมีประสิทธิภาพให้นานที่สด ุ ลดผลข้างเคียงของยา ข้อสาคัญผู้ท่ีติดเชื้อ HIV สามารถมีชีวิตอยู่ได้ระยะยาวโดยที่ไม่ได้รักษาโดยที่ ไม่เกิดอาการ ดังนั้นผู้ป่วยบางรายยังไม่จาเป็นต้องรีบรักษา ควรปรึกษาแพทย์
  • 69. การติดตามการรักษา • ก่อนการรักษาแพทย์จะตรวจจานวน CD4-T และ viral load (HIV RNA testing) 2 ครั้งเพื่อเป็นค่าไว้สาหรับเปรียบเทียบ • หลังการรักษา 4-8 สัปดาห์แพทย์จะเจาะเลือดอีก • ถ้าได้ผลดีและอาการผู้ป่วยคงที่ก็จะเจาะเลือดทุก 2-4 เดือน • แต่ถ้ามีการลดลงของ CD-T แพทย์ก็จะเจาะเลือดบ่อยขึ้น
  • 70. การติดตามการรักษา หลังการรักษาด้วยยาต้านไวรัส HIV เมื่อผูป่วยอาการดีขึ้นแพทย์อาจจะนัด ้ ตรวจทุก 3-6 เดือน แพทย์จะนัดตรวจเพื่อประเมินสิ่งต่อไปนี้ • ดูประสิทธิผลของยา หากได้ผลดี CD4-T และ viral load ควรจะอยู่ใน เกณฑ์ดี • ผลข้างเคียงของยา และปัญหาเกี่ยวกับผู้ปวย ่ • ดูการดาเนินของโรคว่าเป็นไปเป็นโรคเอดส์หรือยัง • ดูว่ามีโรคฉวยโอกาสเกิดขึ้นหรือยัง • ดูแลสุขภาพทั่วไป
  • 71. สามารถป้องกันโรคเอดส์ได้อย่างไร? • เพราะโรคเอดส์แพร่เชื้อด้วยเพศสัมพันธ์ ยูเอ็นเอดส์(UNAIDS) มี ข้อเสนอแนะเพื่อความปลอดภัยในการป้องกัน คือ ข้อเสนอ ปฏิบัติ ABCD ดังนี้ A (Abstain) การมีเพศสัมพันธ์ที่มีการควบคุมและไม่สาส่อน B (Be faithful) การมีเพศสัมพันธ์กบคู่ร่วมสัมพันธ์ที่เชื่อใจได้ ั C (Condom Use) การใช้ถุงยางอนามัย D (Do Pre-test) การได้รับการตรวจเอดส์
  • 72. C (Condom Use) การใช้ถงยางอนามัย ุ ประโยชน์ของการใช้ถุงยางอนามัยสามารถป้องกันโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อื่นๆ และความไม่พร้อมในการตั้งครรภ์ได้ การใช้ถุงยางอนามัยจึงเป็นวิธีการป้องกันที่ง่ายและได้ ผลประโยชน์ของการใช้ และวิธีการใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันโรคเอดส์ 1. พยายามอย่าให้เล็บจิกโดนถุงยางอนามัย 2. จับและดึงตรงปลายสุดของถุงยางอนามัย 3. ใส่ถุงยางอนามัยในขณะที่อวัยวะเพศกาลังแข็งตัว จากนั้นดึงให้สุด 4. หลังจากเสร็จกิจจากการมีเพศสัมพันธ์แล้วกรุณาถอดถุงยางอนามัยอย่างระมัดระวัง 5. ถุงยางอนามัยที่ใช้แล้ว กรุณามัดแล้วห่อด้วยกระดาษชาระก่อนทิ้งทุกครั้ง D (Do Pre-test) การได้รบการตรวจเอดส์ ั ในกรณีที่มีความวิตกกังวลหลังจากที่ได้มีเพศสัมพันธ์ที่น่าสงสัยว่าอาจจะติดเชื้อเอดส์ จะต้องเข้า รับการตรวจเอดส์หลังจากที่ได้มีพฤติกรรมเสี่ยงนี้แล้วประมาณ 12 สัปดาห์(ประมาณ 3 เดือน) จึงจะ ได้ผลตรวจที่แน่นอนและชัดเจน คุณสามารถเข้ารับการตรวจเอดส์ฟรี โดยไม่เปิดเผยรายชื่อได้ที่คิวซี (KHAP) หรือสถานีอนามัย
  • 73. หากได้รับเชือโรคเอดส์แล้วสามารถรักษาให้หายได้หรือไม่? ้ โรคเอดส์ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่หาก..... -ได้รับการรักษาอย่างถูกวิธี จะทาให้มีสุขภาพที่ดและมีชวิตอยู่ได้นานใน ี ี -ต้องใช้ยาหลายๆ ชนิด ในเวลาเดียวกัน เพื่อควบคุมการเพิ่มขึ้นของเชื้อ HIV - รับประทานอานอาหารที่มคุณค่าทางโภชนาการ ี - ออกกาลังกายอย่างถูกต้องและพักผ่อนให้เพียงพอ - ทาจิตใจให้สบาย
  • 74. Occupational exposure [อุบัติเหตุเข็มตาในขณะทางานในคลินิก] มีอัตราเสี่ยงในการติดเชื้อ แต่จากการศึกษาพบว่าโอกาส ในการติดเชือ ้ ค่อนข้างต่า แต่อัตราการติดเชือนี้จะสูงขึนถ้าอุบัตเหตุ นันๆ เกิดขึ้นโดย : ้ ้ ิ ้ 1. เป็น Deep injury (จะมีโอกาสติดเชื้อสูงขึ้น 16 เท่า 2. มีเลือดติดชัดเจนที่เครื่องมือ 3. ทิมตรง เข้า vein หรือ artery ่ 4. contamination มาจาก ผู้ป่วย AIDS ระยะสุดท้าย (จะมีโอกาสติดเชื้อสูงขึ้น 6 เท่า )
  • 75. Post-exposure management เมื่อเกิดอุบัติเหตุขณะทางาน ไม่ ควรตกใจ ลนลานจนเกิดเหตุ ควรตั้งสติให้ดี และ ทบทวนเหตุการณ์อย่างสุขุม เพื่อประโยชน์ในการพิจารณารูปแบบของ prophylactic treatment ที่เหมาะสมกับสถานการณ์ ตามปกติในการทางานนั้น ต้องมี protocol ทีset ไว้ ประให้ทันตแพทย์ และ ่ ผู้ปฏิบัติงานซึ่งมีความเสี่ยงบต่ออุบัติการณ์ทุกคนรับทราบ โดยทั้วไปมักมีขั้นตอนการปฏิบัติ ตัวลาดับดังนี้ 1. ล้างแผล 5 นาที (สบู่,alcohol,betadine) บีบเลือดออก,]ล้าง,ใส่แผลด้วย i2 2.5% 2. รายงานด่วนต่ออาจารย์หรือ ต่อแพทย์ผู้ที่รับผิดชอบการรายงานตาม protocol ที่ เขียนไว้ 3. ตรวจคนไข้ต้นเหตุ (ควรตรวจทั้ง HIV, Hep B,Hep C) ถ้าผล positive มีข้นตอน ั ต่อไปคือ ตรวจผูถกเข็มตา เพื่อทา baseline ไว้ก่อนที่จะ consult แพทย์เพื่อพิจารณาความเสี่ยง ู้ ต่อการติดเชื้อ
  • 76. คาแนะนาสาหรับการให้ยาป้องกัน • เมื่อท่านสัมผัสกับสารคัดหลั่งเช่น เลือด น้าเชื้อ หรือสารคัดหลั่งอื่นของผู้ที่เป็นโรค เอดส์ และให้พบแพทย์ให้เร็วที่สุดก่อน 72 ชั่วโมงควรจะได้รับยาป้องกันการติดเชื้อ ตามแนวทางแนะนาและควรจะให้ยานาน 28 วัน • ยังไม่มีหลักฐานว่าการใช้ยาตัวไหนดีที่สุด • ยังไม่มีหลักฐานว่าการใช้ยา 3 ชนิดจะดีกว่า 2 ชนิด แพทย์และผูป่วยต้องปรึกษาว่า ้ ถึงผลดีผลเสียของการใช้ยา 3 ชนิด • หากได้ประวัติจากผู้ให้เชื้อ ต้องซักประวัติว่าเคยได้ยาต้านไวรัสมาก่อนหรือไม่ เจาะดู ปริมาณเชื้อเมื่อใด ดื้อต่อยาชนิดไหนเพื่อที่จะได้ปรับการให้ยาป้องกัน
  • 77. • ถ้าไม่ทราบว่าผู้ที่เราสัมผัสติดเชื้อหรือไม่ การสัมผัสไม่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ การให้ยาป้องกันอาจจะเกิดผลเสียมากกว่าผลดี • หากวิธการได้รับเชื้อ เสี่ยงต่อการติดเชื้อต่า หรือพบแพทย์เกิน 72 ี ชั่วโมงหลังการสัมผัสไม่แนะนาให้รับยาป้องกันเพราะไม่ได้ผล
  • 78. ผู้ที่ได้รับยาป้องกันต้องปฏิบัตตัวอย่างไรบ้าง ิ • ยาที่ได้ช่วงแรกไม่เกิน 3-5 วันเพื่อดูว่ามีผลข้างเคียงอย่างไรบ้าง ผลเลือดที่ตรวจ เป็นอย่างไร และได้รับคาปรึกษาเกี่ยวการใช้ยาหรือโรค • หากแพทย์ไม่คุ้นกับการใช้ยา ควรจะปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ สาหรับรายที่คิดว่า เชื้อจะดื้อยา เด็ก คนท้องต้องปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ • ผู้ที่ได้รับยาไม่ควรจะหยุดยาเอง หากมีอาการจากยาให้ปรึกษาแพทย์
  • 79. • ผู้ที่สัมผัสโรคควรจะได้รับการตรวจหาภูมิต่อเชื้อไวรัส HIV ที่ 4-6 สัปดาห์ 3และ6 เดือนหลังจากสัมผัสเพื่อดูว่าได้รับเชื้อไปหรือเปล่า นอกจากนั้นยังต้องตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบ บี ซี การตั้งครรภ์ • ผู้ที่สัมผัสโรคควรจะรู้เกี่ยวกับอาการแสดงของการติดเชื้อ HIV • ผู้ที่สัมผัสโรคต้องป้องกันการติดเชื้อไปสู่คนอื่นโดยการงดหรือสวม ถุงยางหากมีเพศสัมพันธ์ จนกระทั่งพิสูจน์ว่าไม่ได้รับเชื้อจากคนป่วย • สาหรับผู้ที่นาเชื้อมาแพร่ก็ควรที่จะได้รับการรักษาและคาแนะนาเพื่อ ป้องกันมิให้แพร่เชื้อไปสู่ผ้อ่น ูื
  • 80. แนวทางปฏิบัตเมือคุณมีพฤติกรรมเสียงต่อการติดเชือเอดส์ เช่นร่วมเพศกับคนอืน ิ ่ ่ ้ ่ • เจาะเลือดตัวคุณเองก่อนเพื่อดูว่าตัวคุณเองเคยได้รับเชื้อมาก่อนหรือไม่ • หากไม่ทราบว่าคนที่คุณยุ่งเกี่ยวด้วยติดเชื้อหรือไม่ ก็ให้นาคนนั้นมาเจาะเลือดเช็คอย่าง รีบด่วน • หากทราบว่าเป็นโรคเอดส์หรือผลเลือดบอกว่าเป็นโรคนี้ และคุณพบแพทย์ก่อน 72 ชั่วโมงก็พิจารณาให้ยาป้องกัน หากคุณพบแพทย์หลังสัมผัสโรคเกิน 72 ชั่วโมงก็ไม่ต้อง ให้ • หากคุณมีพฤติกรรมเสี่ยงบ่อยๆ การให้ยาอาจจะให้ผลไม่ดี