SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
โรคไข้เลือด
ออก
ศ.พญ.กุลกัญญา โชคไพบูลย์กิจ
หน่วยโรคติดเชื้อ ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัย
มหิดล
โรคไข้เลือดออกคือ
อะไร•โรคไข้เลือดออก
เกิดจากการ
ติดเชื้อ
ไวรัสเดงกี่
ซึ่งมียุงลายเป็นพาหะ
•ไวรัสเดงกี่มี 4 สายพันธุ์ (1,2,3,4)
ไข้เลือดออกเกิดได้
อย่างไร
0
50
100
150
200
250
300
350
400
450
500
0-4 5-9 10-14 15+
อายุ
อุบัติการณ์ต่อ
แสน
อายุที่พบโรคไข้เลือดออก
หลังจากได้รับเชื้อเดงกี่
จากยุงกัด
ไม่มี
อาการ
(90%)
มีไข้แล้ว
หายเอง
(5%)
5-8 วัน
ไข้เลือด
ออก
(5%)
พบปีละ ~
50,000-100,000
ราย/ปี
-รุนแรง ~ 1-2%
อาการของไข้เลือดออก
• ระยะไข้ (2-7วัน)
– ไข้สูง หน้าแดง ปวดท้อง ปวดหัว ปวดกระดูก
ปวดกล้ามเนื้อ เบื่อ
อาหาร ตับโต อาจมีผื่น
– อาจมีจุดเลือดออก/เลือดออก
• ระยะวิกฤต มีการรั่วของพลาสมา (24-48 ชม.
เป็นระยะอันตราย
– ไข้ลดลง ตัวเย็น มือเท้าเย็น กระสับกระส่าย ซึม
– ภาวะเลือดออก
– รุนแรงไม่เท่ากัน เกรด 1-เกรด 4
• ระยะฟื้น
รู้ได้อย่างไรว่าเป็นไข้เลือด
ออก• อาการ
• การตรวจเลือด CBC ดูเม็ดเลือดแ
เม็ดเลือดขาว เกร็ดเลือด
• การทำาทูนิเกต์
ชัดเจ
นขึ้น
หลัง
ไข้
2-3
วัน
แล้ว
• การตรวจดูภูมิต้านทานในนำ้าเหลือง (มีแบบ
ด่วน) →จะบอกผลได้
หลังไข้ 4 วันแล้ว ส่วนใหญ่เข้าระยะวิกฤตแล้ว
(ส่วนใหญ่ใช้ยืนยัน)
• การตรวจหาไวรัสในเลือด เช่น PCR หรือ NS1
การรักษาและดูแล
•ระยะไข้
–รักษาตามอาการ อาจจำาเป็นต้องให้
นำ้าเกลือบ้างถ้าแห้งนำ้า
–ลดไข้ด้วยยาพาราเซตตามอล ห้าม
ให้มากไป
–ห้ามใช้ยา แอสไพริน หรือไอบูโปร
เฟน
•ระยะวิกฤต
–ให้นำ้าเกลือ, สารนำ้าอื่นๆ, เลือด,
สิ่งที่ผู้ปกครองควรปฏิบัติ
เมื่อเด็กมีไข้
•รีบนำาไปพบแพทย์
•ปฏิบัติตนตามที่แพทย์แนะนำา
•นำาผู้ป่วยกลับมาพบแพทย์ตามนัด
– แพทย์มักจะตรวจเลือดในช่วง
ประมาณไข้วันที่ 3
– แพทย์จะนัดให้กลับมาตรวจทุกวัน
•นำาผู้ป่วยกลับมาพบแพทย์ทันทีหาก
ข้อแนะนำาสำาหรับการดูแลผู้ป่วย
ไข้เลือดออกที่บ้าน
1. เช็ดตัวลดไข้ด้วยนำ้าอุ่นหรือนำ้า
ธรรมดา ให้ยาลดไข้
ตามที่แพทย์สั่ง
2. ห้ามให้ยาลดไข้ที่มีส่วนผสมของ
แอสไพริน
3. ดื่มนำ้ามากๆ (แนะนำาให้ดื่มนำ้าผล
ไม้หรือนำ้าเกลือแร่
แทนนำ้าเปล่า)
4. หลีกเลี่ยงอาหารที่มีรสจัดทุกชนิด
7. ให้มาพบแพทย์ทันทีหากมีอาการต่อ
ไปนี้
- อาเจียนมาก
- ปวดท้องมาก
- มีเลือดออก
- ไข้ลดลง ตัวเย็นผิดปรกติ มือเท้า
เย็น เหงื่อแตก
กระสับกระส่าย
- ไม่ปัสสาวะนานกว่า 6 ชั่วโมง
- ซึมลง ไม่ค่อยรู้สึกตัว
ข้อแนะนำาสำาหรับการดูแลผู้ป่วยไข้
เลือดออกที่บ้าน
คำาถามที่พบบ่อย
• แพทย์จะสามารถวินิจฉัยโรคได้แน่นอน
ตั้งแต่วันแรกๆ ที่มีไข้หรือไม่
– อาการและผลการตรวจเลือดในระยะไข้
2-3 วันแรก แยกได้ยากจากโรคอื่น
– การตรวจนำ้าเหลือง (แม้แต่แบบด่วน) ก็ไม่
สามารถวินิจฉัยโรคในช่วง 3 วันแรกของ
ไข้ได้
– ถึงจะตรวจได้แน่นอนว่าติดเชื้อไข้เลือด
ออกตั้งแต่แรก (เช่นทำา
PCR หรือ NS1) ก็ไม่สามารถพยากรณ์ได้
ว่าจะเป็นโรครุนแรง (เกรด 3,4) หรือไม่
ต้องอาศัยติดตามดูอาการต่อไป
– แม้จะตรวจเลือดต่างๆได้ผลลบ ก็ยังต้อง
คำาถามที่พบบ่อย
• การวินิจฉัยช้า หลังจากมีไข้แล้วหลายๆวัน เป็น
อันตรายหรือไม่
– หลังจากมีไข้แล้ว 3 วัน การวินิจฉัยจาก
อาการและการตรวจเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือด
ขาว และเกร็ดเลือด ค่อนข้างแม่นยำา และไม่
ช้าเกินไป
– ต้องติดตามดูอาการอย่างใกล้ชิด เพื่อให้การ
รักษาในจังหวะที่เหมาะสมและปฏิบัติตาม
แพทย์แนะนำา
– แพทย์จะให้อยู่โรงพยาบาลก่อนเข้าระยะ
ยุงลาย
ยุงลาย
http://www.komchadluek.net/2007/07/15/x_prv_n001.phphttp://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?Pid=27946&page=9
•ภาคกลาง
มีจำานวนผู้
ป่วยมาก
ที่สุด
•ภาคใต้มี
อัตราป่วย
สูงสุด
จะป้องกันโรคไข้เลือดออก
ได้อย่างไร• ป้องกันยุงกัด
• การปราบยุงลาย
• ช่วยกันกำาจัดลูกนำ้ายุงลาย
• วัคซีน
แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ตัวอย่างภาชนะขังนำ้าในบ้าน
แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย
ตัวอย่างภาชนะขังนำ้านอกบ้าน
การกำาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
ลาย
ควรปิดปากภาชนะเก็บนำ้า
ด้วยผ้า ตาข่าย
ไนล่อนอะลูมิเนียม หรือ
วัสดุอื่น ที่สามารถ
ปิดปากภาชนะเก็บนำ้านั้น
ได้อย่างมิดชิด จนยุงไม่
สามารถเล็ดลอดเข้าใป
วางไข่ได้
หมั่นเปลี่ยนนำ้าทุก 7 วัน ซึ่ง
เหมาะสำาหรับภาชนะเล็ก ๆ
ที่มีนำ้าไม่มากนัก เช่น แจกัน
ดอกไม้สด ทั้งที่เป็นแจกันที่
หิ้งบูชาพระ แจกันที่ศาล
พระภูมิ หรือแจกันประดับ
ตามโต๊ะ รวมทั้งภาชนะและ
การกำาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
ลาย
ใส่ทรายในจานรอง
กระถางต้นไม้ ใส่ให้
ลึกประมาณ
3 ใน 4 ของ
ความลึกของจาน
กระถางต้นไม้นั้น
เพื่อให้ทรายดูดซึม
นำ้าส่วนเกินจากการ
รดนำ้าต้นไม้ไว้ ซึ่ง
เป็นวิธีที่เหมาะ
สำาหรับกระถาง
การกำาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
ลาย
การเก็บทำาลายเศษวัสดุ เช่น ขวด ไห กระป๋อง ฯลฯ
และยางรถยนต์เก่าที่ไม่ใช้ หรือคลุมให้มิดชิดเพื่อ
ไม่ให้รองรับนำ้าได้ การนำายางรถยนต์เก่ามา
ดัดแปลง ให้เป็นประโยชน์แทนการวาง
ทิ้งไว้เฉย ๆ จะช่วยกำาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงได้ดี
เช่น นำามาทำาเป็นที่ปลูกต้นไม้ ที่ปลูกพืชผัก สวน
ครัว เป็นที่ทิ้งขยะ เป็นเก้าอี้ เป็นฐานเสา เป็นรั้ว
เป็นชิงช้า หรือทำาเป็นที่ปีนป่ายห้อยโหนสำาหรับ
เด็กๆ แต่จะต้องดัดแปลงยางรถยนต์เก่า
นั้นให้ขังนำ้าไม่ได้ หาก
การกำาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
ลาย
บริเวณที่ปลูกต้นไม้ หากมีต้นไม้
เยอะ ๆ ก็ทำาให้มียุงเยอะ เพราะยุง
จะชอบเกาะพักอยู่ในที่มืด ๆ อับ ๆ
ควรแก้ไขให้ดูโปร่งตาขึ้น ถ้า
เป็นต้นไม้ประดับในบริเวณบ้าน ก็
ต้องคอยสังเกตว่ารดนำ้ามากไปจน
มีนำ้าขังอยู่ในจานรองกระถาง หรือ
เปล่า พยายามเทนำ้าทิ้งบ่อย ๆ
เลี้ยงปลากินลูกนำ้า เช่น
ปลาหางนกยูง
ปลาแกมบูเชีย ปลากัด
ปลาดสอด
ปลาหัวตะกั่ว ฯลฯ โดยใส่
ไว้ในโอ่งหรือบ่อซีเมนต์ที่
ใส่นำ้าสำาหรับใช้ (ไม่ใช่
การกำาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
ลาย
ใช้ทรายอะเบทในนำ้า
ทรายชนิดนี้ เป็นทราย
เคลือบสารเคมีในกลุ่ม
ออร์แกโน
ฟอสเฟต ใช้ใส่ในนำ้า
เพื่อกำาจัดลูกนำ้ายุงลาย
อัตราส่วนที่ควรใช้คือ
ทรายอะเบท 1 กรัมต่อ
นำ้า 10
ลิตร ทรายอะเบทนั้นได้
รับการยอมรับจาก
การกำาจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุง
ลาย
ใช้เกลือแกง
นำ้าส้มสายชู ผง
ซักฟอก ซึ่งเป็น
ของคู่บ้านคู่ครัว
อยู่แล้ว เอามา
ใช้ในการ
ควบคุมและ
กำาจัดลูกนำ้ายุง
ทรายอะเบท (ABATE SAND)
http://gotoknow.org/blog/ppr/188884?class=yuimenuitemlabel http://www.crintermex.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=509740
http://www.bigbigbuy.com/namphrae/index.php?option=com_content&task=view&id=104&Itemid=73&date=2008-04-01
THA
NK
YOU

More Related Content

What's hot

Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2elearning obste
 
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์elearning obste
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกfaa fee
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์nuttanansaiutpu
 
ไวรัสเมอร์ส ตัวร้าย
ไวรัสเมอร์ส ตัวร้ายไวรัสเมอร์ส ตัวร้าย
ไวรัสเมอร์ส ตัวร้ายAkkchai Kandee
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาsportrnm
 
ปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออกปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออกAntoineYRC04
 

What's hot (20)

Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
Hiv รพช2015 2.ppt
Hiv รพช2015  2.pptHiv รพช2015  2.ppt
Hiv รพช2015 2.ppt
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
20141017 Ebola Report
20141017 Ebola Report20141017 Ebola Report
20141017 Ebola Report
 
DENGUE
DENGUE DENGUE
DENGUE
 
STD
STD STD
STD
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
Ebola virus disease
Ebola virus disease Ebola virus disease
Ebola virus disease
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
 
ไวรัสเมอร์ส ตัวร้าย
ไวรัสเมอร์ส ตัวร้ายไวรัสเมอร์ส ตัวร้าย
ไวรัสเมอร์ส ตัวร้าย
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
 
Ppt.aids
Ppt.aidsPpt.aids
Ppt.aids
 
ปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออกปัญหาไข้เลือดออก
ปัญหาไข้เลือดออก
 

Similar to โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)

Similar to โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553) (10)

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
Epstein Barr Virus
Epstein Barr VirusEpstein Barr Virus
Epstein Barr Virus
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 
Sex education
Sex education Sex education
Sex education
 
Ebola virus disease
Ebola virus disease Ebola virus disease
Ebola virus disease
 
Malaria
MalariaMalaria
Malaria
 

โรคไข้เลือดออกประชาขน (2553)

Editor's Notes

  1. After intubation, he had uncontrolled bleeding per his mouth, ET-tube, NG tube and rectum that required massive transfusion. He was too unstable for cranial imaging and lumbar puncture