SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์
                               สมาชิก
 1.นายณัฐวุฒิ      โคตรพัฒน์ รหัสนักศึกษา   548144117
 2.นางสาวสุ ภาณี ศรีอุทธา          ”        548144118
 3.นางสาวรุ้ งนภาพร ภูชาดา         ”        548144119
 4.นายวีรศาสตร์     สาสุ ทธิ์      ”        548144120
 5. นางสาวนัฐดา บุดสี             ”         548144115
 6. นายธนวัฒน์       อาจหาญ        ”        548144116
รู ปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์
      รู ปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์ เป็ นรู ปแบบการ
พัฒนาบทเรี ยนที่มีประสิ ทธิภาพอีกรู ปแบบหนึ่งประกอบด้วย
3 ขั้นตอนดังแสดงในแผนภูมิ
แผนภูมที่ 1 ขั้นตอนการพัฒนา
       ิ
บทเรียนของรอบไบลเออร์
และฮอลล์
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
      จากแผนภูมิที่ 1 รู ปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์
  แบ่งเป็ น 3 ขั้น (phase) ภายในแต่ละขั้นมีลาดับในการ
  ดาเนินการที่ชดเจน โดยมีลูกศรแสดงการย้อนกลับเพื่อ
                  ั
  ตรวจสอบและปรับปรุ ง (revision) งานในแต่ละลาดับ
  รายละเอียดของแต่ละขั้นมีดงนี้ั
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
   ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design) ภายในขั้นนี้มีงานที่ตอง
                                                         ้
       ดาเนินการตามลาดับดังนี้
   1.1 การกาหนดเป้ าหมายการสอน (state instructional goal)
       โดยกาหนดให้ครอบคลุมในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ สภาพ
       ปัญหาที่พบ คุณลักษณะของผูเ้ รี ยน และเป้ าหมายของการ
       สอนที่ตองการออกแบบและพัฒนาขึ้นมาและให้สอดคล้อง
                 ้
       กับสภาพปั ญหาและสภาพของผูเ้ รี ยน
ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
   1.2 การวิเคราะห์ รูปแบบการสอน (reform instructional
      analysis) โดยทาการวิเคราะห์ แผนการเรี ยนรู้ (เนื้อหาที่ได้
      ระบุไว้ในแผน) โดยการกาหนดเป้ าหมายและทักษะที่จาเป็ น
      ต่อการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน




ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
   1.3 การกาหนดวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม (develop
      performance objective) หมายถึง การกาหนดความคาดหวัง
      ผูเ้ รี ยนหลังจากผ่านการเรี ยนบทเรี ยนแล้ว ซึ่ งวัตถุประสงค์ ที่
      สร้างขึ้นจะสอดคล้องกับทักษะต่าง ๆ ที่ได้วเิ คราะห์ไว้




ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม
    จา : Remember

    ใจ - เข้าใจ : Understanding

    ใช้ - นาไปใช้        : Applying




ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
   1.4 การกาหนดวิธีการประเมินผล (develop testing strategies)
      ได้แก่ การกาหนด เวลาในการประเมินผล เช่น เวลาในการ
      ทดสอบก่อนเรี ยน ทดสอบหลังเรี ยนหรื อระหว่างเรี ยน
      การกาหนดรู ปแบบข้อสอบต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
      เชิงพฤติกรรม สร้างแบบทดสอบตามรู ปแบบที่กาหนดไว้
      ตลอดจนการนาแบบทดสอบไปหาคุณภาพ ได้แก่ ค่าความ
      ยากง่าย หรื อค่าอานาจจาแนกและค่าความเชื่อมันของ
                                                 ่
      แบบทดสอบ
ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
   1.5 การออกแบบกลวิธีการสอน (design instructional
      strategies) หมายถึง การออกแบบวิธีการสอนเนื้อหาให้แก่
      ผูเ้ รี ยน โดยทัวไปในขั้นนี้ผออกแบบสามารถนาขั้นตอนการ
                      ่            ู้
      สอน 9 ขั้นของกาเย่ดงต่อไปนี้มาปรับใช้
                            ั




ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
ขั้นตอนการสอน 9 ขั้นของกาเย่
 1. เร่ งเร้าความสนใจ
 2. บอกวัตถุประสงค์

 3. ทบทวนความรู ้เดิม

 4. นาเสนอเนื้ อหาใหม่

 5. ชี้แนะแนวทางการเรี ยนรู ้

 6. กระตุนการตอบสนองของบทเรี ยน
              ้
 7. ให้ขอมูลย้อนกลับ
            ้
 8. ทบทวนความรู ้ใหม่

 9. สรุ ปและนาไปใช้               ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
                                                           ่ ั
            โดยไม่จาเป็ นต้องใช้ท้ ง 9 ขั้น ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบชนิดของ
                                   ั
      บทเรี ยนที่พฒนา ถ้าเป็ นบทเรี ยนประเภทแบบฝึ กหัดจะ
                  ั
      ครอบคลุมการตอบสนอง และการให้ผลป้ อนกลับเป็ นหลัก
      แต่ถาเป็ นประเภทนาเสนอเนื้อหาจะใช้การออกแบบทั้ง 9 ขั้น
          ้
      ในกลวิธีการสอน



ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
      ขั้นที่ 2 ขั้นก่ อนการพัฒนา (pre - programming
       development) มีข้ นตอนการดาเนินการดังนี้
                            ั
    2.1 การเขียนผังงานและการสร้ างสตอรี่บอร์ ด (developed
       flowchart & storyboards) ผังงานจะเป็ นผังแสดง
       ลาดับขั้นตอนการดาเนินการทั้งหมดของบทเรี ยน



ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
            การเขียนผังงานจะใช้สญลักษณ์ที่เป็ นสากลและมี
                                 ั
       ความหมายในตัวเอง เพื่อทาให้การอ่านผังงานมีความ
       เข้าใจตรงกัน ในกรณี การพัฒนาบทเรี ยนที่มีผร่วมงาน
                                                 ู้
       จานวนมาก สามารถใช้ผงงานเพื่อการสร้างความเข้าใจ
                               ั
       ร่ วมกัน หรื อเพื่อตรวจสอบความผิดพลาดร่ วมกัน
       ตลอดจนสามารถแบ่งงานกันทาได้


ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์แบ่งเป็น 3 ขั้น

    ในการเขียนผังงาน ผูออกแบบจะต้องเขียนผังงานเพื่อแสดง
                        ้
      ลาดับขั้นในการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ดังตัวอย่างที่แสดงใน
      แผนภูมิที่ 2




ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
แผนภูมที่ 2 ผังงานตัวอย่างแสดงขั้นตอนการเรี ยนบทเรี ยน
                         ิ
ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
              จากแผนภูมที่ 4.9 แสดงผังลาดับการใช้งานบทเรี ยน
                           ิ
        อย่าง ได้แสดงถึงจุดเริ่ มต้นที่ผเู้ รี ยนจะต้องดาเนินการจน
        จบกระบวนการ โดยแผนภูมิบทเรี ยนจะแสดงหน้าแรก
        ของบทเรี ยนให้ผเู้ รี ยนได้เห็น




ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
            จากนั้นผูเ้ รี ยนทาการล็อกอินเข้าใช้ระบบ บทเรี ยนนา
        ข้อมูลของผูเ้ รี ยน และตรวจสอบสิ ทธิการใช้งาน ถ้ารหัส
        ถูกต้องจะแสดงหน้ารายการให้ผเู้ รี ยนได้เลือกเพื่อทา
        รายการต่อ แต่ถารหัสไม่ถกแสดงว่าผูเ้ รี ยนยังไม่ได้
                            ้       ู
        ลงทะเบียนดังนั้นผูเ้ รี ยนจะต้องลงทะเบียนเข้าใช้งานก่อน



ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
           ในการเขียนผังงาน ถ้าเป็ นผังงานโปรแกรมจะแสดง
      ลาดับขั้นตอนอย่างละเอียด เพื่อให้ผเู ้ ขียนโปรแกรม
      สามารถนาไปเขียนโปรแกรมได้ สาหรับผังงานทัว ๆ ไป  ่
      เป็ นการเขียนลาดับขั้นตอนการดาเนินการอย่างกว้าง ๆ ซึ่ ง
      จะเรี ยกว่าผังงานระบบ



ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
      ในแต่ละขั้นตอนของผังงานระบบ สามารถนาไปเขียนเป็ น
       ผังงานโปรแกรมได้




ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์ แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
    หลังจากการเขียนผังงานแล้วลาดับต่อไปผูออกแบบจะต้อง
                                          ้
      เขียนบทดาเนินเรื่ องหรื อสตอรี่ บอร์ด โดยที่สตอรี่ บอร์ดจะ
      เป็ นการออกแบบหรื อกาหนดรายละเอียดของจอภาพในแต่
      ละหน้าหรื อเฟรม




ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
      2.2 เขียนเอกสารประกอบ (develop support material)
     เป็ นขั้นตอนที่สาคัญเนื่องจากการมีเอกสารประกอบการ
     ใช้งานบทเรี ยน ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีความมันใจในการเรี ยนรู ้
                                              ่
     มากขึ้น เอกสารประกอบ เช่น หนังสื อ , ใบความรู้




ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
         เอกสารที่เขียนประกอบมีหวข้อที่จาเป็ นและสาคัญ
                                       ั
     ได้แก่ คาแนะนาในการใช้โปรแกรม รายละเอียดของ
     อุปกรณ์และโปรแกรมที่จาเป็ นในการใช้งาน ปัญหาที่
     อาจจะพบได้จากการใช้งาน และส่ วนช่วยเหลือการใช้
     งาน ผูออกแบบควรเขียนเอกสารให้สมบูรณ์ครอบคลุม
            ้
     ในทุกประเด็นที่เกี่ยวข้องกับผูเ้ รี ยน


ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
       2.3 การทบทวนการออกแบบก่ อนการสร้ างโปรแกรม
       (design team review and revision before
       programming) การทบทวนเป็ นสิ่ งจาเป็ น เนื่องจาก จะ
       ทาให้พฒนาโปรแกรมมีความสมบูรณ์และมีขอผิดพลาด
              ั                                   ้
       น้อยลง การทบทวนการออกแบบผูออกแบบสามารถที่จะ
                                       ้
       ทบทวนด้วยตนเอง หรื อมีทีมงานสาหรับตรวจสอบและ
       ทบทวนระบบงาน

ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
      ขั้นตอนที่ 3 ขั้นการพัฒนาและการประเมินผล
      (development evaluation) มีงานที่ตองดาเนินการ ดังนี้
                                        ้
       3.1 สร้ างโปรแกรมขั้นแรก (program first - draft
      materials) เป็ นการสร้างโปรแกรมตามลาดับผังงานและ
      สตอรี่ บอร์ดที่ได้ออกแบบไว้



ขั้นตอนที่ 3ขั้นการพัฒนาและการประเมินผล (development evaluation)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
      3.2 ทดสอบการใช้ บทเรียน (perform formative
      evaluation) ได้แก่ การนาบทเรี ยนไปทดลองกับผูเ้ รี ยน
      กลุ่มเป้ าหมาย และประเมินผลค่าต่าง ๆ เช่น ผลสัมฤทธิ์ ของ
      ผูเ้ รี ยน(เช่น คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน) หรื อ
      ทัศนคติของผูเ้ รี ยน(นักเรี ยนชอบบทเรี ยนนั้นๆหรื อไม่) เป็ น
      ต้น


ขั้นตอนที่ 3ขั้นการพัฒนาและการประเมินผล (development evaluation)
รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น
   การประเมินผล
           หมายถึง การนาเอาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดรวมกับการใช้
      วิจารณญาณของผูประเมินมาใช้ในการตัดสิ นใจ โดยการ
                          ้
      เปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ เพื่อให้ได้ผลเป็ นอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เนื้อ
      หมูชิ้นนี้หนัก 0.5 กิโลกรัมเป็ นเนื้อหมูชิ้นที่เบาที่สุดในร้าน
      (เปรี ยบเทียบกันภายในกลุ่ม) เด็กชายแดงได้คะแนนวิชาภาษาไทย
                                                       ่
      42 คะแนนซึ่งไม่ถึง 50 คะแนนถือว่าสอบไม่ผาน (ใช้เกณฑ์ที่ครู
      สร้างขึ้น) เป็ นต้น


ขั้นตอนที่ 3ขั้นการพัฒนาและการประเมินผล (development evaluation)
ความคิดรวบยอดรูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlcKapook Moo Auan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ cardphone
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมEdz Chatchawan
 
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3Inam Chatsanova
 
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมdraught
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1มาณวิกา นาคนอก
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L CKapook Moo Auan
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Toffee Nohcc
 

What's hot (20)

System development life cycle sdlc
System development life cycle  sdlcSystem development life cycle  sdlc
System development life cycle sdlc
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
3
33
3
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
Activity4
Activity4Activity4
Activity4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Cai Design
Cai DesignCai Design
Cai Design
 
งานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอมงานกลุ่มมคอม
งานกลุ่มมคอม
 
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
ความรู้เบื้อต้นเกี่ยวกับ Photoshop Cs3
 
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
SDLC
SDLCSDLC
SDLC
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 1
 
System Development Life Cycle S D L C
System  Development  Life  Cycle   S D L CSystem  Development  Life  Cycle   S D L C
System Development Life Cycle S D L C
 
228-8 /231-9
228-8 /231-9228-8 /231-9
228-8 /231-9
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
งานคอม (1)
งานคอม (1)งานคอม (1)
งานคอม (1)
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 

Similar to รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)

โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3anusong
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวทางรูปแบบรอบไบลเออร์กับฮอล์ล
การพัฒนาบทเรียนตามแนวทางรูปแบบรอบไบลเออร์กับฮอล์ลการพัฒนาบทเรียนตามแนวทางรูปแบบรอบไบลเออร์กับฮอล์ล
การพัฒนาบทเรียนตามแนวทางรูปแบบรอบไบลเออร์กับฮอล์ลนภาลัย บัวระภา
 
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาjintana_pai
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
เทคโนโลยี 3 g 5 1
เทคโนโลยี 3 g 5 1เทคโนโลยี 3 g 5 1
เทคโนโลยี 3 g 5 1Saranya Butte
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptIrinApat
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopcheekymoodygirl92
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopcheekymoodygirl92
 
แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1Junya Punngam
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปรียาพร ศิริวัฒน์
 

Similar to รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว) (20)

รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์
 
Lesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-programLesson3 devenlopment-program
Lesson3 devenlopment-program
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวทางรูปแบบรอบไบลเออร์กับฮอล์ล
การพัฒนาบทเรียนตามแนวทางรูปแบบรอบไบลเออร์กับฮอล์ลการพัฒนาบทเรียนตามแนวทางรูปแบบรอบไบลเออร์กับฮอล์ล
การพัฒนาบทเรียนตามแนวทางรูปแบบรอบไบลเออร์กับฮอล์ล
 
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษาซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
ซอฟต์แวร์ทางการศึกษา
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
Pbl3
Pbl3 Pbl3
Pbl3
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
เทคโนโลยี 3 g 5 1
เทคโนโลยี 3 g 5 1เทคโนโลยี 3 g 5 1
เทคโนโลยี 3 g 5 1
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping concept
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 
presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
 
แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1แผนFlashหน่วย1
แผนFlashหน่วย1
 
Software
SoftwareSoftware
Software
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 

รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)

  • 1. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์ สมาชิก 1.นายณัฐวุฒิ โคตรพัฒน์ รหัสนักศึกษา 548144117 2.นางสาวสุ ภาณี ศรีอุทธา ” 548144118 3.นางสาวรุ้ งนภาพร ภูชาดา ” 548144119 4.นายวีรศาสตร์ สาสุ ทธิ์ ” 548144120 5. นางสาวนัฐดา บุดสี ” 548144115 6. นายธนวัฒน์ อาจหาญ ” 548144116
  • 2. รู ปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์ รู ปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์ เป็ นรู ปแบบการ พัฒนาบทเรี ยนที่มีประสิ ทธิภาพอีกรู ปแบบหนึ่งประกอบด้วย 3 ขั้นตอนดังแสดงในแผนภูมิ
  • 3. แผนภูมที่ 1 ขั้นตอนการพัฒนา ิ บทเรียนของรอบไบลเออร์ และฮอลล์
  • 4. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น จากแผนภูมิที่ 1 รู ปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์ แบ่งเป็ น 3 ขั้น (phase) ภายในแต่ละขั้นมีลาดับในการ ดาเนินการที่ชดเจน โดยมีลูกศรแสดงการย้อนกลับเพื่อ ั ตรวจสอบและปรับปรุ ง (revision) งานในแต่ละลาดับ รายละเอียดของแต่ละขั้นมีดงนี้ั
  • 5. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design) ภายในขั้นนี้มีงานที่ตอง ้ ดาเนินการตามลาดับดังนี้ 1.1 การกาหนดเป้ าหมายการสอน (state instructional goal) โดยกาหนดให้ครอบคลุมในประเด็นต่าง ๆ ได้แก่ สภาพ ปัญหาที่พบ คุณลักษณะของผูเ้ รี ยน และเป้ าหมายของการ สอนที่ตองการออกแบบและพัฒนาขึ้นมาและให้สอดคล้อง ้ กับสภาพปั ญหาและสภาพของผูเ้ รี ยน ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
  • 6. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น 1.2 การวิเคราะห์ รูปแบบการสอน (reform instructional analysis) โดยทาการวิเคราะห์ แผนการเรี ยนรู้ (เนื้อหาที่ได้ ระบุไว้ในแผน) โดยการกาหนดเป้ าหมายและทักษะที่จาเป็ น ต่อการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
  • 7. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น 1.3 การกาหนดวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม (develop performance objective) หมายถึง การกาหนดความคาดหวัง ผูเ้ รี ยนหลังจากผ่านการเรี ยนบทเรี ยนแล้ว ซึ่ งวัตถุประสงค์ ที่ สร้างขึ้นจะสอดคล้องกับทักษะต่าง ๆ ที่ได้วเิ คราะห์ไว้ ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
  • 8. วัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม  จา : Remember  ใจ - เข้าใจ : Understanding  ใช้ - นาไปใช้ : Applying ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
  • 9. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น 1.4 การกาหนดวิธีการประเมินผล (develop testing strategies) ได้แก่ การกาหนด เวลาในการประเมินผล เช่น เวลาในการ ทดสอบก่อนเรี ยน ทดสอบหลังเรี ยนหรื อระหว่างเรี ยน การกาหนดรู ปแบบข้อสอบต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ เชิงพฤติกรรม สร้างแบบทดสอบตามรู ปแบบที่กาหนดไว้ ตลอดจนการนาแบบทดสอบไปหาคุณภาพ ได้แก่ ค่าความ ยากง่าย หรื อค่าอานาจจาแนกและค่าความเชื่อมันของ ่ แบบทดสอบ ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
  • 10. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น 1.5 การออกแบบกลวิธีการสอน (design instructional strategies) หมายถึง การออกแบบวิธีการสอนเนื้อหาให้แก่ ผูเ้ รี ยน โดยทัวไปในขั้นนี้ผออกแบบสามารถนาขั้นตอนการ ่ ู้ สอน 9 ขั้นของกาเย่ดงต่อไปนี้มาปรับใช้ ั ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
  • 11. ขั้นตอนการสอน 9 ขั้นของกาเย่  1. เร่ งเร้าความสนใจ  2. บอกวัตถุประสงค์  3. ทบทวนความรู ้เดิม  4. นาเสนอเนื้ อหาใหม่  5. ชี้แนะแนวทางการเรี ยนรู ้  6. กระตุนการตอบสนองของบทเรี ยน ้  7. ให้ขอมูลย้อนกลับ ้  8. ทบทวนความรู ้ใหม่  9. สรุ ปและนาไปใช้ ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
  • 12. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น ่ ั โดยไม่จาเป็ นต้องใช้ท้ ง 9 ขั้น ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบชนิดของ ั บทเรี ยนที่พฒนา ถ้าเป็ นบทเรี ยนประเภทแบบฝึ กหัดจะ ั ครอบคลุมการตอบสนอง และการให้ผลป้ อนกลับเป็ นหลัก แต่ถาเป็ นประเภทนาเสนอเนื้อหาจะใช้การออกแบบทั้ง 9 ขั้น ้ ในกลวิธีการสอน ขั้นที่ 1 ขั้นการออกแบบ (design)
  • 13. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น ขั้นที่ 2 ขั้นก่ อนการพัฒนา (pre - programming development) มีข้ นตอนการดาเนินการดังนี้ ั 2.1 การเขียนผังงานและการสร้ างสตอรี่บอร์ ด (developed flowchart & storyboards) ผังงานจะเป็ นผังแสดง ลาดับขั้นตอนการดาเนินการทั้งหมดของบทเรี ยน ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
  • 14. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น การเขียนผังงานจะใช้สญลักษณ์ที่เป็ นสากลและมี ั ความหมายในตัวเอง เพื่อทาให้การอ่านผังงานมีความ เข้าใจตรงกัน ในกรณี การพัฒนาบทเรี ยนที่มีผร่วมงาน ู้ จานวนมาก สามารถใช้ผงงานเพื่อการสร้างความเข้าใจ ั ร่ วมกัน หรื อเพื่อตรวจสอบความผิดพลาดร่ วมกัน ตลอดจนสามารถแบ่งงานกันทาได้ ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
  • 15. รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์แบ่งเป็น 3 ขั้น  ในการเขียนผังงาน ผูออกแบบจะต้องเขียนผังงานเพื่อแสดง ้ ลาดับขั้นในการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ดังตัวอย่างที่แสดงใน แผนภูมิที่ 2 ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
  • 16. แผนภูมที่ 2 ผังงานตัวอย่างแสดงขั้นตอนการเรี ยนบทเรี ยน ิ ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
  • 17. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น จากแผนภูมที่ 4.9 แสดงผังลาดับการใช้งานบทเรี ยน ิ อย่าง ได้แสดงถึงจุดเริ่ มต้นที่ผเู้ รี ยนจะต้องดาเนินการจน จบกระบวนการ โดยแผนภูมิบทเรี ยนจะแสดงหน้าแรก ของบทเรี ยนให้ผเู้ รี ยนได้เห็น ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
  • 18. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น จากนั้นผูเ้ รี ยนทาการล็อกอินเข้าใช้ระบบ บทเรี ยนนา ข้อมูลของผูเ้ รี ยน และตรวจสอบสิ ทธิการใช้งาน ถ้ารหัส ถูกต้องจะแสดงหน้ารายการให้ผเู้ รี ยนได้เลือกเพื่อทา รายการต่อ แต่ถารหัสไม่ถกแสดงว่าผูเ้ รี ยนยังไม่ได้ ้ ู ลงทะเบียนดังนั้นผูเ้ รี ยนจะต้องลงทะเบียนเข้าใช้งานก่อน ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
  • 19. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น ในการเขียนผังงาน ถ้าเป็ นผังงานโปรแกรมจะแสดง ลาดับขั้นตอนอย่างละเอียด เพื่อให้ผเู ้ ขียนโปรแกรม สามารถนาไปเขียนโปรแกรมได้ สาหรับผังงานทัว ๆ ไป ่ เป็ นการเขียนลาดับขั้นตอนการดาเนินการอย่างกว้าง ๆ ซึ่ ง จะเรี ยกว่าผังงานระบบ ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
  • 20. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น ในแต่ละขั้นตอนของผังงานระบบ สามารถนาไปเขียนเป็ น ผังงานโปรแกรมได้ ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
  • 21. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์ แบ่ งเป็ น 3 ขั้น  หลังจากการเขียนผังงานแล้วลาดับต่อไปผูออกแบบจะต้อง ้ เขียนบทดาเนินเรื่ องหรื อสตอรี่ บอร์ด โดยที่สตอรี่ บอร์ดจะ เป็ นการออกแบบหรื อกาหนดรายละเอียดของจอภาพในแต่ ละหน้าหรื อเฟรม ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
  • 22. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น 2.2 เขียนเอกสารประกอบ (develop support material) เป็ นขั้นตอนที่สาคัญเนื่องจากการมีเอกสารประกอบการ ใช้งานบทเรี ยน ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีความมันใจในการเรี ยนรู ้ ่ มากขึ้น เอกสารประกอบ เช่น หนังสื อ , ใบความรู้ ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
  • 23. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น เอกสารที่เขียนประกอบมีหวข้อที่จาเป็ นและสาคัญ ั ได้แก่ คาแนะนาในการใช้โปรแกรม รายละเอียดของ อุปกรณ์และโปรแกรมที่จาเป็ นในการใช้งาน ปัญหาที่ อาจจะพบได้จากการใช้งาน และส่ วนช่วยเหลือการใช้ งาน ผูออกแบบควรเขียนเอกสารให้สมบูรณ์ครอบคลุม ้ ในทุกประเด็นที่เกี่ยวข้องกับผูเ้ รี ยน ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
  • 24. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น 2.3 การทบทวนการออกแบบก่ อนการสร้ างโปรแกรม (design team review and revision before programming) การทบทวนเป็ นสิ่ งจาเป็ น เนื่องจาก จะ ทาให้พฒนาโปรแกรมมีความสมบูรณ์และมีขอผิดพลาด ั ้ น้อยลง การทบทวนการออกแบบผูออกแบบสามารถที่จะ ้ ทบทวนด้วยตนเอง หรื อมีทีมงานสาหรับตรวจสอบและ ทบทวนระบบงาน ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการพัฒนา (pre - programming development)
  • 25. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น ขั้นตอนที่ 3 ขั้นการพัฒนาและการประเมินผล (development evaluation) มีงานที่ตองดาเนินการ ดังนี้ ้ 3.1 สร้ างโปรแกรมขั้นแรก (program first - draft materials) เป็ นการสร้างโปรแกรมตามลาดับผังงานและ สตอรี่ บอร์ดที่ได้ออกแบบไว้ ขั้นตอนที่ 3ขั้นการพัฒนาและการประเมินผล (development evaluation)
  • 26. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น 3.2 ทดสอบการใช้ บทเรียน (perform formative evaluation) ได้แก่ การนาบทเรี ยนไปทดลองกับผูเ้ รี ยน กลุ่มเป้ าหมาย และประเมินผลค่าต่าง ๆ เช่น ผลสัมฤทธิ์ ของ ผูเ้ รี ยน(เช่น คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรี ยน) หรื อ ทัศนคติของผูเ้ รี ยน(นักเรี ยนชอบบทเรี ยนนั้นๆหรื อไม่) เป็ น ต้น ขั้นตอนที่ 3ขั้นการพัฒนาและการประเมินผล (development evaluation)
  • 27. รูปแบบของรอบไบลเออร์ และฮอลล์แบ่ งเป็ น 3 ขั้น  การประเมินผล หมายถึง การนาเอาข้อมูลต่าง ๆ ที่ได้จากการวัดรวมกับการใช้ วิจารณญาณของผูประเมินมาใช้ในการตัดสิ นใจ โดยการ ้ เปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ เพื่อให้ได้ผลเป็ นอย่างใดอย่างหนึ่ง เช่น เนื้อ หมูชิ้นนี้หนัก 0.5 กิโลกรัมเป็ นเนื้อหมูชิ้นที่เบาที่สุดในร้าน (เปรี ยบเทียบกันภายในกลุ่ม) เด็กชายแดงได้คะแนนวิชาภาษาไทย ่ 42 คะแนนซึ่งไม่ถึง 50 คะแนนถือว่าสอบไม่ผาน (ใช้เกณฑ์ที่ครู สร้างขึ้น) เป็ นต้น ขั้นตอนที่ 3ขั้นการพัฒนาและการประเมินผล (development evaluation)