SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
บรรทัดเหล็ก
บรรทัดเหล็กเป็นเครื่องมือวัดขั้นพื้นฐานที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากสามารถใช้วัดขนาด
ของงานได้อย่างรวดเร็วและยังใช้เป็นบรรทัดสาหรับขีดระยะงาน
2.1 ลักษณะของบรรทัดเหล็ก
ปกติบรรทัดเหล็กสร้างจากแผ่นเหล็กแหนบที่อาบผิว หรือเหล็กไร้สนิม มีความหนาไม่เกิน 1 มม.
และไม่บางกว่า 0.3 มม. ความกว้างและความยาวของบรรทัดเหล็กนั้นมีหลายขนาด เพื่อให้เหมาะสมกับการ
ใช้งาน และบรรทัดเหล็กที่ดีจะต้องอ่านสเกลได้ง่ายและไม่บิดงอง่าย
ภาพที่ 2-1 ลักษณะของบรรทัดเหล็ก
2.2 หลักการแบ่งสเกล และการอ่านค่าของบรรทัดเหล็ก
บรรทัดเหล็กได้แบ่งขีดสเกลออกเป็น 2 ระบบ
 ระบบอังกฤษ
 ระบบเมตริก
2.2.1 หลักการแบ่งสเกลของระบบอังกฤษ มี 4 แบบคือ
 1 นิ้ว แบ่งเป็น 8 ช่อง
1 ช่อง เท่ากับ
8
1 นิ้ว
ระยะ ก. อ่านได้
8
3 นิ้ว
ระยะ ข. อ่านได้
2
1
8
4
 นิ้ว
ระยะ ค. อ่านได้
4
3
8
6
 นิ้ว
ระยะ ง. อ่านได้
8
5
2 นิ้ว
ภาพที่ 2-2 บรรทัดสเกล 1 นิ้วแบ่งเป็น 8 ช่อง
 1 นิ้ว แบ่งเป็น 16 ช่อง
1 ช่อง เท่ากับ
16
1 นิ้ว
ระยะ ก. อ่านได้
16
13 นิ้ว
ระยะ ข. อ่านได้
16
1
1 นิ้ว
ระยะ ค. อ่านได้ 16
7
1
นิ้ว
ระยะ ง. อ่านได้
16
3
2 นิ้ว
ภาพที่ 2-3 บรรทัดสเกล 1 นิ้วแบ่งเป็น 16 ช่อง
 1 นิ้ว แบ่งเป็น 32 ช่อง
1 ช่อง เท่ากับ
32
1 นิ้ว
ระยะ ก. อ่านได้
32
3 นิ้ว
ระยะ ข. อ่านได้
32
9 นิ้ว
ระยะ ค. อ่านได้
32
11
1 นิ้ว
ระยะ ง. อ่านได้
8
1
2
32
4
2  นิ้ว
ภาพที่ 2-4 บรรทัดสเกล 1 นิ้วแบ่งเป็น 32 ช่อง
 1 นิ้ว แบ่งเป็น 64 ช่อง
1 ช่อง เท่ากับ
64
1 นิ้ว
ระยะ ก. อ่านได้
64
9 นิ้ว
ระยะ ข. อ่านได้
64
57 นิ้ว
ระยะ ค. อ่านได้
64
33
1 นิ้ว
ระยะ ง. อ่านได้
64
1
2 นิ้ว
ภาพที่ 2-5 บรรทัดสเกล 1 นิ้วแบ่งเป็น 64 ช่อง
2.3 หลักการแบ่งสเกลระบบเมตริกและการอ่านค่าของบรรทัดเหล็ก มี 2 แบบ คือ
 1 ช่องสเกลมีค่าความละเอียดเท่ากับ
0.5 มม.
ภาพที่ 2-6 บรรทัดสเกลค่าความละเอียดช่องสเกล 0.5 มม.
 1 ช่องสเกลมีค่าความละเอียด
เท่ากับ 1 มม.
ภาพที่ 2-7 บรรทัดสเกลค่าความละเอียดช่องสเกล 1 มม.
2.4 การใช้บรรทัดเหล็กวัดชิ้นงาน
หน้าเทียบ
ก. การวัดเส้นผ่าศูนย์กลาง ข. การใช้บรรทัดวัดงานบ่าฉาก
ค. การใช้บรรทัดพิเศษวัดงาน ง. การใช้บรรทัดขอวัดงาน
เพราะบ่างานไม่ตั้งฉาก
ภาพที่ 2-8 การวัดงานโดยเริ่มต้นจากขอบของบรรทัดเหล็ก
2.4.1 เริ่มต้นจากจุดอ้างอิงศูนย์
จากภาพที่ 2-8 เป็นการวัดชิ้นงานโดยเริ่มต้นจากขอบ หรือขีดศูนย์ (0) ของบรรทัดเหล็ก ใน
การวัดลักษณะของชิ้นงานที่เป็นบ่า หรือเป็นแบบขั้นบันได
ภาพที่ 2-9 การวัดงานโดยใช้จุดเริ่มที่ไม่ใช่ขอบบรรทัดเป็นจุดเริ่มต้น
2.4.2 เริ่มต้นจุดอ้างอิงที่ไม่ใช่ขอบของบรรทัดเหล็ก
การวัดในกรณีนี้ควรระวังการวางบรรทัดเหล็กในระหว่างการวัดว่าจะต้องขนานกับชิ้นงาน
2.4.3 แนวเล็งในการอ่านค่า
เมื่อวางบรรทัดเหล็กทาบกับผิวงาน ความหนาของบรรทัดจะทาให้เกิดระยะห่าง ระหว่างผิว
งานกับขีดสเกล ซึ่งระยะห่างนี้เป็นเหตุให้วัดขนาดของชิ้นงานผิดพลาดได้ อันเนื่องมาจากแนวเล็งผิดไป ใน
ภาพที่ 2-10 ถ้าต้องการวัดระยะ x แนวเล็ง ณ ตาแหน่ง B อันเป็นตาแหน่งที่ถูกต้องจะพบว่าขีด 29 ตรงกับจุด
สุดท้ายพอดี แต่ถ้าแนวเล็งที่ตาแหน่ง A จะเห็นขีดที่ 28 ตรง และแนวเล็งที่ตาแหน่ง C จะเห็นขีดที่ 30 ตรง
ภาพที่ 2-10 ตาแหน่งแนวเล็งในการอ่านสเกล
ภาพที่ 2-11 การอ่านค่าตาแหน่งที่ต้องการวัด สายตาต้องมองตั้งฉากกับตาแหน่งที่อ่าน
2.4.4 แนวการวางบรรทัดเหล็ก
การทาบหรือวางบรรทัดเหล็กลงบนผิวชั้นงานถือได้ว่าสาคัญมาก เพราะหากวางแนวแกนของบรรทัด
เหล็กไม่อยู่ในแนววัดชิ้นงานดังภาพที่ 2-12 ขนาดของชิ้นงานจะผิดไป
 ขนาดระยะนอก X ให้ค่าวัดน้อยที่สุด
ถือว่าเป็นค่าที่ถูกต้อง
ภาพที่ 2.12
พที่ 2-12
 สาหรับขนาด  D ให้ค่าวัดโตสุด ถือว่า
เป็นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ถูกต้อง
ภาพที่ 2.13
 ขนาด  d ภายในของชิ้นงานใช้ค่าวัดโต
สุด เป็นค่าวัดที่ถูกต้องเช่นเดียวกัน
ภาพที่ 2.14
ข้อผิดพลาดและการแก้ไข
การวัดและอ่านค่า
ลักษณะการวัดไม่
ถูกต้อง
ผลที่เกิดขึ้น
ลักษณะการแก้ไขให้
ถูกต้อง
ข้อควรระวัง
1. แนวเล็ง
ค่าวัดไม่
ถูกต้อง
แนวสายตาต้องตั้ง
ฉากกับสเกล
2. แนวแกน
ค่าวัด
ได้มากกว่าปกติ
แนวแกนบรรทัด
เหล็กต้องวางใน
แนวแกนชิ้นงาน
3. การวาง
บรรทัดเหล็ก
ค่าวัดไม่ถูกต้อง
อย่าใช้แรงกดมาก
อาจโก่งงอ
ขนาดเหล็กรอง
ต้องมีขนาดพอดี
2.5 ข้อควรระวังในการใช้บรรทัดเหล็ก
1. อย่านาบรรทัดเหล็กไปวัดชิ้นงานที่ยังร้อนอยู่
2. วางบรรทัดเหล็กในแนวระนาบเสมอ
3. อย่านาบรรทัดเหล็กวางปะปนกับเครื่องมือคมตัดอื่น ๆ เช่น ตะไบ ดอกสว่าน ฯลฯ
4. ก่อนการวัดงานต้องลบคมชิ้นงานให้เรียบร้อย
5. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของสเกลก่อนใช้ทุกครั้ง
6. ทาความสะอาดทุกครั้งก่อนและหลังการใช้งาน
บรรทัดเหล็ก
ชิ้นงาน

More Related Content

What's hot

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Janova Kknd
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุล
krusarawut
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
krupornpana55
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
teerachon
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
chanaruk
 

What's hot (20)

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๗ ปรัชญาตะวันตก
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
แผนนิเทศ.pdf
แผนนิเทศ.pdfแผนนิเทศ.pdf
แผนนิเทศ.pdf
 
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนพอเพียงกับคณิตศาสตร์
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุล
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็กแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
แม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
ความหมายทรงกลม
ความหมายทรงกลมความหมายทรงกลม
ความหมายทรงกลม
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุมโครงงานคณิตศาสตร์ มุม
โครงงานคณิตศาสตร์ มุม
 
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
แสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็นแสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็น
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบการจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
การจัดการเรียนรู้แบบค้นพบ
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 

Unit 2

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 บรรทัดเหล็ก บรรทัดเหล็กเป็นเครื่องมือวัดขั้นพื้นฐานที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย เนื่องจากสามารถใช้วัดขนาด ของงานได้อย่างรวดเร็วและยังใช้เป็นบรรทัดสาหรับขีดระยะงาน 2.1 ลักษณะของบรรทัดเหล็ก ปกติบรรทัดเหล็กสร้างจากแผ่นเหล็กแหนบที่อาบผิว หรือเหล็กไร้สนิม มีความหนาไม่เกิน 1 มม. และไม่บางกว่า 0.3 มม. ความกว้างและความยาวของบรรทัดเหล็กนั้นมีหลายขนาด เพื่อให้เหมาะสมกับการ ใช้งาน และบรรทัดเหล็กที่ดีจะต้องอ่านสเกลได้ง่ายและไม่บิดงอง่าย ภาพที่ 2-1 ลักษณะของบรรทัดเหล็ก 2.2 หลักการแบ่งสเกล และการอ่านค่าของบรรทัดเหล็ก บรรทัดเหล็กได้แบ่งขีดสเกลออกเป็น 2 ระบบ  ระบบอังกฤษ  ระบบเมตริก 2.2.1 หลักการแบ่งสเกลของระบบอังกฤษ มี 4 แบบคือ  1 นิ้ว แบ่งเป็น 8 ช่อง 1 ช่อง เท่ากับ 8 1 นิ้ว ระยะ ก. อ่านได้ 8 3 นิ้ว ระยะ ข. อ่านได้ 2 1 8 4  นิ้ว ระยะ ค. อ่านได้ 4 3 8 6  นิ้ว ระยะ ง. อ่านได้ 8 5 2 นิ้ว ภาพที่ 2-2 บรรทัดสเกล 1 นิ้วแบ่งเป็น 8 ช่อง
  • 2.  1 นิ้ว แบ่งเป็น 16 ช่อง 1 ช่อง เท่ากับ 16 1 นิ้ว ระยะ ก. อ่านได้ 16 13 นิ้ว ระยะ ข. อ่านได้ 16 1 1 นิ้ว ระยะ ค. อ่านได้ 16 7 1 นิ้ว ระยะ ง. อ่านได้ 16 3 2 นิ้ว ภาพที่ 2-3 บรรทัดสเกล 1 นิ้วแบ่งเป็น 16 ช่อง  1 นิ้ว แบ่งเป็น 32 ช่อง 1 ช่อง เท่ากับ 32 1 นิ้ว ระยะ ก. อ่านได้ 32 3 นิ้ว ระยะ ข. อ่านได้ 32 9 นิ้ว ระยะ ค. อ่านได้ 32 11 1 นิ้ว ระยะ ง. อ่านได้ 8 1 2 32 4 2  นิ้ว ภาพที่ 2-4 บรรทัดสเกล 1 นิ้วแบ่งเป็น 32 ช่อง  1 นิ้ว แบ่งเป็น 64 ช่อง 1 ช่อง เท่ากับ 64 1 นิ้ว ระยะ ก. อ่านได้ 64 9 นิ้ว ระยะ ข. อ่านได้ 64 57 นิ้ว ระยะ ค. อ่านได้ 64 33 1 นิ้ว ระยะ ง. อ่านได้ 64 1 2 นิ้ว ภาพที่ 2-5 บรรทัดสเกล 1 นิ้วแบ่งเป็น 64 ช่อง
  • 3. 2.3 หลักการแบ่งสเกลระบบเมตริกและการอ่านค่าของบรรทัดเหล็ก มี 2 แบบ คือ  1 ช่องสเกลมีค่าความละเอียดเท่ากับ 0.5 มม. ภาพที่ 2-6 บรรทัดสเกลค่าความละเอียดช่องสเกล 0.5 มม.  1 ช่องสเกลมีค่าความละเอียด เท่ากับ 1 มม. ภาพที่ 2-7 บรรทัดสเกลค่าความละเอียดช่องสเกล 1 มม. 2.4 การใช้บรรทัดเหล็กวัดชิ้นงาน หน้าเทียบ ก. การวัดเส้นผ่าศูนย์กลาง ข. การใช้บรรทัดวัดงานบ่าฉาก ค. การใช้บรรทัดพิเศษวัดงาน ง. การใช้บรรทัดขอวัดงาน เพราะบ่างานไม่ตั้งฉาก ภาพที่ 2-8 การวัดงานโดยเริ่มต้นจากขอบของบรรทัดเหล็ก
  • 4. 2.4.1 เริ่มต้นจากจุดอ้างอิงศูนย์ จากภาพที่ 2-8 เป็นการวัดชิ้นงานโดยเริ่มต้นจากขอบ หรือขีดศูนย์ (0) ของบรรทัดเหล็ก ใน การวัดลักษณะของชิ้นงานที่เป็นบ่า หรือเป็นแบบขั้นบันได ภาพที่ 2-9 การวัดงานโดยใช้จุดเริ่มที่ไม่ใช่ขอบบรรทัดเป็นจุดเริ่มต้น 2.4.2 เริ่มต้นจุดอ้างอิงที่ไม่ใช่ขอบของบรรทัดเหล็ก การวัดในกรณีนี้ควรระวังการวางบรรทัดเหล็กในระหว่างการวัดว่าจะต้องขนานกับชิ้นงาน 2.4.3 แนวเล็งในการอ่านค่า เมื่อวางบรรทัดเหล็กทาบกับผิวงาน ความหนาของบรรทัดจะทาให้เกิดระยะห่าง ระหว่างผิว งานกับขีดสเกล ซึ่งระยะห่างนี้เป็นเหตุให้วัดขนาดของชิ้นงานผิดพลาดได้ อันเนื่องมาจากแนวเล็งผิดไป ใน ภาพที่ 2-10 ถ้าต้องการวัดระยะ x แนวเล็ง ณ ตาแหน่ง B อันเป็นตาแหน่งที่ถูกต้องจะพบว่าขีด 29 ตรงกับจุด สุดท้ายพอดี แต่ถ้าแนวเล็งที่ตาแหน่ง A จะเห็นขีดที่ 28 ตรง และแนวเล็งที่ตาแหน่ง C จะเห็นขีดที่ 30 ตรง ภาพที่ 2-10 ตาแหน่งแนวเล็งในการอ่านสเกล
  • 5. ภาพที่ 2-11 การอ่านค่าตาแหน่งที่ต้องการวัด สายตาต้องมองตั้งฉากกับตาแหน่งที่อ่าน 2.4.4 แนวการวางบรรทัดเหล็ก การทาบหรือวางบรรทัดเหล็กลงบนผิวชั้นงานถือได้ว่าสาคัญมาก เพราะหากวางแนวแกนของบรรทัด เหล็กไม่อยู่ในแนววัดชิ้นงานดังภาพที่ 2-12 ขนาดของชิ้นงานจะผิดไป  ขนาดระยะนอก X ให้ค่าวัดน้อยที่สุด ถือว่าเป็นค่าที่ถูกต้อง ภาพที่ 2.12 พที่ 2-12  สาหรับขนาด  D ให้ค่าวัดโตสุด ถือว่า เป็นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางที่ถูกต้อง ภาพที่ 2.13  ขนาด  d ภายในของชิ้นงานใช้ค่าวัดโต สุด เป็นค่าวัดที่ถูกต้องเช่นเดียวกัน ภาพที่ 2.14
  • 6. ข้อผิดพลาดและการแก้ไข การวัดและอ่านค่า ลักษณะการวัดไม่ ถูกต้อง ผลที่เกิดขึ้น ลักษณะการแก้ไขให้ ถูกต้อง ข้อควรระวัง 1. แนวเล็ง ค่าวัดไม่ ถูกต้อง แนวสายตาต้องตั้ง ฉากกับสเกล 2. แนวแกน ค่าวัด ได้มากกว่าปกติ แนวแกนบรรทัด เหล็กต้องวางใน แนวแกนชิ้นงาน 3. การวาง บรรทัดเหล็ก ค่าวัดไม่ถูกต้อง อย่าใช้แรงกดมาก อาจโก่งงอ ขนาดเหล็กรอง ต้องมีขนาดพอดี 2.5 ข้อควรระวังในการใช้บรรทัดเหล็ก 1. อย่านาบรรทัดเหล็กไปวัดชิ้นงานที่ยังร้อนอยู่ 2. วางบรรทัดเหล็กในแนวระนาบเสมอ 3. อย่านาบรรทัดเหล็กวางปะปนกับเครื่องมือคมตัดอื่น ๆ เช่น ตะไบ ดอกสว่าน ฯลฯ 4. ก่อนการวัดงานต้องลบคมชิ้นงานให้เรียบร้อย 5. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของสเกลก่อนใช้ทุกครั้ง 6. ทาความสะอาดทุกครั้งก่อนและหลังการใช้งาน บรรทัดเหล็ก ชิ้นงาน