SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
5/02/5
                                                                                                           1 

 




             ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ – ความชัดแย้ง ไทย – กัมพูชา มองแบบทวิภาคีหรื อพหุ ภาคี

                                                                                 พันเอก ดร.ธีรนันท์ นันทขว้าง
                                                                                  รองผูอานวยการกองการเมือง
                                                                                       ้ํ
                                                                                 วิทยาลัยป้ องกันราชอาณาจักร
                                                        สถาบันวิชาการป้ องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย

         การมองปั ญหาความขัดแย้งบริ เวณชายแดนไทย – กัมพูชานั้นหลายท่านชอบมองในลักษณะของ
ความขัดแย้งของ 2 ประเทศ (ทวิภาคี) ทําให้มกจะมองข้ามหรื อละเลยปัจจัยสําคัญอื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกัน
                                              ั
และการละเลยนี้ อาจจะนําไปสู่ ปัญหาอื่นๆ ที่ลุกลามบานปลายตามมาอย่างที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อ ก.ย.53
ผมได้มีโอกาสไปบรรยายเรื่ อง ความขัดแย้ง ไทย – กัมพูชา ในมิติทางยุทธศาสตร์ และการทหารที่ พล.ร.6
เนื่ องในโอกาสที่ ผบ.พล.ร.6 แถลงนโยบายการปฏิบติงาน ปี 2554 ทําให้ได้มีโอกาสทําสไลด์บรรยายที่
                                                           ั
กล่าวถึง ผูมีส่วนได้ส่วนเสี ย (Stakeholders) ที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ใน ไทยและกัมพูชา ดังแสดงในภาพ
           ้
ที่ 1 และมีรายละเอียดดังนี้




                          ภาพที่ 1 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ในไทย – กัมพูชา
5/02/5
                                                                                                         2 

 

          ผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยกับปั จจัยผลประโยชน์ใน ไทย – กัมพูชา นั้นอาจจะเริ่ มได้จากที่การเมืองไทยไม่
            ้
                                                               ั       ้                ั
มีเสถียรภาพ เพราะเรายังมีปัญหาความขัดแย้งภายในของเราที่ยงไม่มีขอยุติ ในขณะที่กมพูชาเองได้มีการ
พัฒนาประเทศขึ้ นมาก และหากมองเลยไปที่ ภูมิภาคเอเชี ยตะวัน ออกเฉี ยงใต้ จะพบว่าประเทศสมาชิ ก
อาเซี ยนมีความเข้มแข็งมากขึ้น มองขึ้นไปทางเหนือสาธารณะรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนจีน (สปจ.) มีการ
เติบโตจนส่ งผลกระทบไปทั้งโลก ในขณะเดียวกันจะพบว่าสหรัฐอเมริ กา ได้มีการปรับนโยบาย และแสดง
ท่าทีที่จะให้ความสําคัญภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้มากขึ้น และสุ ดท้ายการที่ประเทศกัมพูชามีทรัพยากร
ที่อุดมสมบรู ณ์ ทําให้หลายประเทศมีความสนใจที่จะเข้ามาลงทุน
        จากปั จจัยที่ได้กล่าวมาในข้างต้นนั้นจะส่ งผลให้ ผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยในพื้นที่ ไทย-กัมพูชา นั้นมี
                                                          ้
หลากหลายเพราะมีผที่ตองการมาลงทุนใน บริ เวณ ไทย-กัมพูชา จํานวนมาก ในขณะที่บางประเทศมีความ
                      ู้ ้
ต้องการที่จะใช้ทรั พยากรธรรมชาติจากบริ เวณ ไทย-กัมพูชา หรื อแม้กระทังความต้องการใช้โครงสร้ าง
                                                                           ่
พื้นฐานทางโลจิสติคส์ (Logistics Infrastructure) จากจีนลงมาทางด้านใต้ นอกจากนี้ ความมันคงในภูมิภาค
                                                                                         ่
เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ยังจะส่ งผลกระทบกับโลกในภาพรวม เพราะภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) โลกได้มี
การขยับเขยื้อน และที่ สําคัญประเด็นปั ญหาความมันคงของโลกจะมีลกษณะที่เป็ นพลวัตรเปลี่ยนแปลง
                                                   ่                  ั
ตลอดเวลา โดยภาพที่ 2 แสดงถึงผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยหากเกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่าง ไทย-กัมพูชา
                                  ้

                                         ประเทศคู่ขัดแย้ ง            - ไทย
                                            (ทวิภาคี)                 - กัมพูชา

                                                                      - ไทย
                                                                      - กัมพูชา
                                                                      - ประเทศสมาชิกอาเซียน
                ความขัดแย้ ง                                          - จีน
               ไทย - กัมพูชา            ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย         - สหรั ฐอเมริกา
                                                                      - ฝรั่ งเศส
                                               (พหุภาคี)              - ญี่ปุ่น
                                                                      - ออสเตรเลีย
                                                                      - สหภาพยุโรป
                                                                      - สหประชาชาติ
                                                                      - ฯลฯ


                ภาพที่ 2 มุมมองความขัดแย้ง ไทย – กัมพูชา ผ่านมิติของผูมีส่วนได้ส่วนเสี ย
                                                                      ้
                    ่
            จริ งอยูความขัดแย้งระหว่าง ไทย-กัมพูชา นั้นเป็ นเรื่ องของ 2 ประเทศ แต่หากมองไปที่มิติของมีผมี
                                                                                                         ู้
ส่ วนได้ส่วนเสี ยจํานวนมากที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่าง ไทย-กัมพูชา นั้นจะพบว่า
เป็ นเรื่ องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่ผูที่มีส่วนได้ส่วนเสี ยเหล่านั้นจะต้องมีการแสดงท่าทีหรื อเข้ามาแทรกแซงใน
                                    ้
ความขัดแย้งดังกล่าว เพราะฉะนั้นการที่เราพยายามที่จะแก้ปัญหาในลักษณะของทวิภาคีน้ นจึงเป็ นเรื่ องยาก
                                                                                              ั
5/02/5
                                                                                                         3 

 

                        ั
ในขณะเดียวกันที่กมพูชามีอานาจต่อรองน้อยในการเจรจา ท่าทีของกัมพูชาจึงพยายามที่จะนําปั ญหาความ
                               ํ
ขัดแย้งเข้าสู่ เวทีที่มีลกษณะเป็ นหพหุ ภาคี เพื่อสร้างความได้เปรี ยบในการเจรจาต่อรอง ซึ่งประเทศที่เป็ นผูมี
                          ั                                                                              ้
ส่ วนได้ส่วนเสี ยก็มีความพร้อมที่จะเข้ามามีบทบาทในความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
         วันนี้ หากเรามองไปยังพื้นที่มีความขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชา จะเห็ นการเคลื่อนกําลัง การวาง
กําลัง และที่สาคัญกําลังทหารที่นาไปวางของทั้งสองประเทศได้มีการปะทะกัน มีการยิงปื นใหญ่ขามแนว
                ํ                ํ                                                             ้
ชายแดนไปมา มีผที่เสี ยชีวิต และมีทรัพย์สินที่เสี ยหาย หากวันนี้ เราทั้ง 2 ประเทศไม่พยายามที่จะยุติความ
                   ู้
ขัดแย้งดังกล่าว สถานการณ์อาจจะลุกลามไปสู่ การเป็ น สงครามจํากัด (Limited War) ที่ส่งผลเสี ยและ
กระทบในมุมกว้างที่ยากจะควบคุม นอกจากนี้เราอาจจะสู ญเสี ยโอกาสในการเป็ นประเทศนําในอาเซี ยนไป
อย่างถาวร
          คําถามที่ ผมอยากจะตั้งให้สังคมไทยได้ตระหนักเป็ นอย่างมากหากหลายๆ ท่านปราถนาที่ จะมี
สงครามคือ ไทย – กัมพูชาจะดําเนินการอย่างไรในขั้นต่อไป ประเทศไทยมีแผนรองรับหรื อไม่ สิ่ งที่เราอยาก
ให้เป็ นคือการเจรจาแก้ไขโดยใช้กรอบทวิภาคีจะมีความไปได้มากน้อยแค่ไหน และผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยจะ
                                                                          ้
ดํา เนิ นการกันอย่างไร นอกจากนี้ ในแง่ ของกฏหมายระหว่างประเทศและเวที โลก ไทยและกัมพูช าจะ
ดําเนินการต่อไปอย่างไร
                 ั              ํ
          ถึงแม้วนนี้ ไทยจะมีกาลังทหารที่มีอานาจกําลังรบที่สูงกว่ากัมพูชาในภาพรวม แต่ในระดับพื้นที่น้ น
                                             ํ                                                          ั
มีความใกล้เคียงกัน และการปฏิบติทางทหารตามแบบเราจะได้เปรี ยบกัมพูชา แต่หากเรานํากําลังเข้าไปใน
                                  ั
กัมพูชา เราจะถูกมองจากเวที โลกว่าเรารั งแกประเทศที่อ่อนแอกว่า และที่ สําคัญคือ เราอาจจะเผชิ ญกับ
รู ปแบบใหม่ๆ ของการปฏิบติการทางทหาร เช่น การใช้โลห์มนุษย์ขดขวางการปฏิบติการทางทหาร สิ่ งต่างๆ
                              ั                                    ั                ั
เหล่านี้ ทาให้เราไม่มีเสรี ในการปฏิบติ แล้วเราจะได้เปรี ยบตามที่เราคิดไว้จริ งหรื อหากต้องใช้การปฏิบติการ
          ํ                         ั                                                               ั
ทางทหาร
          หากมีการใช้กาลังทหารเข้าแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งวันนี้ ใครคือเพื่อนที่จะยืนอยู่ขางเรา สหรัฐฯ
                      ํ                                                                 ้
หรื อ จี น หรื อ ประเทศสมาชิ กอาเซี ยน เพราะสหรั ฐฯ ปั จ จุ บนได้มีการฝึ กกับกองทัพกัมพูชา ให้ความ
                                                             ั
ช่วยเหลือทางด้านยุทโธปกรณ์ ส่ วนหนึ่ งนั้นมาจากความสัมพันธ์ที่ดีงามระหว่างกองทัพสหรัฐฯ กับ พลตรี
ฮุนมาเน็ต ผูบญชาการกองพลน้อยที่ 70 บุตรชายสมเด็จฯ ฮุนเซ็น ที่จบการศึกษาจากโรงเรี ยนนายร้อยเวสต์
             ้ ั
ปอยต์ (United States Military Academy at West Point) นอกจากนี้ สปจ.ยังได้ให้การสนับสนุนยาพาหนะ
                                      ่
ทางทหารจํานวน 254 คันในปี 2553 ที่ผานมา ลาวเองก็ได้มอบอาวุธประเภทจรวดประทับบ่า ให้กบกัมพูชา  ั
                                                                                               ั
3,000 กระบอก และกระสุ น 10,000 นัด ฝรั่งเศสเพิ่งให้อากาศยานสําหรับขนส่ ง 2 ลํา นอกจากนี้กมพูชายัง
ซื้อรถถัง T-55 ใหม่ และรถเกราะลําเลียงพล จากสาธารณรัฐยูเครน และ จรวดหลายลํากล้อง BM-21 ที่มีขีด
ความสามารถยิงได้ไกล 40 กม. โดยการยิง 1 ชุดสามารถทําลายเป้ าหมายประมาณ 1 สนามฟุตบอล และใช้
5/02/5
                                                                                                       4 

 

เวลาบรรจุใหม่พร้ อมยิงได้ภายใน 30 นาที ที่กล่าวมาในลักษณะนี้ ไม่ได้ตองการสร้ างความมันใจการ
                                                                        ้            ่
ปฏิบติการทางทหารของไทย แต่ ตองการให้เห็ นพัฒนาการและบริ บทในปั จจุบนของกัมพูชา ทําให้เรา
    ั                            ้                                        ั
               ่
สามารถกล่าวได้วา “เราได้เปรี ยบทางยุทธการ แต่เสี ยเปรี ยบทางยุทธศาสตร์”
          เพราะฉะนั้นคําถามสําคัญของสังคมไทยวันนี้ เราคงต้องมาตั้งคําถามกันว่าเราต้องการให้ประเทศ
ไทยเข้าเผชิญสถานการณ์ความขัดแย้ง ไทย-กัมพูชา อย่างไร เราต้องการสงครามหรื อเราต้องการสันติภาพ
แต่ไม่ว่าจะอย่างไร วันนี้ กองทัพก็ยงคงทําหน้าที่ในบริ เวณความขัดแย้งอย่างเต็มความสามารถแม้จะต้อง
                                       ั
สู ญเสี ยชีวตทหารไปอีกจํานวนมากก็ตาม ประเทศไทยวันนี้เราจะก้าวไปสู่การเป็ นประชาคมอาเซียน ที่เราจะ
            ิ
ได้ประโยชน์มหาศาลที่ ครอบคลุ มหลายมิ ติหลายด้าน เพราะประชาคมอาเซี ยนจะมีผลิ ตภัณฑ์มวลรวม
ประชาชาติ (Combined GDP) กว่า 1.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ มีรายได้จากการส่ งออกในภูมิภาคโดยรวม
กว่า 765 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐ หรื อ เราจะเป็ นประเทศไทยเล็กๆ ที่ไม่มีอานาจต่อรองมากในโลกอย่าง
                                                                               ํ
ลําพัง วันนี้เพื่อนบ้านใครบ้างที่รักเราจริ ง พร้อมที่จะร่ วมเดินไปข้างหน้าเผชิญปั ญหาร่ วมต่างๆ จากภายนอก
กับเราบ้าง เราอาจจะมีความภูมิใจในความเป็ นประเทศไทยที่เป็ นศูนย์กลางในภูมิภาคนี้ แต่คนไทยไม่เคยรู ้
เลยว่าวันนี้ เราได้สูญเสี ยแม้แต่การเป็ นประเทศนําในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซี ยนไปแล้ว แล้วท่านล่ะครับ
ต้องการเห็นประเทศไทยเป็ นอย่างไรในอนาคต ...............เอวังครับ

More Related Content

More from Teeranan

Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
Teeranan
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
Teeranan
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Teeranan
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
Teeranan
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
Teeranan
 

More from Teeranan (20)

Atfl
AtflAtfl
Atfl
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in Thailand
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social network
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailand
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
Military power
Military powerMilitary power
Military power
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalism
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflict
 
The unfamiliar war
The unfamiliar warThe unfamiliar war
The unfamiliar war
 
Political warfare
Political warfarePolitical warfare
Political warfare
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
A strategy for creating defence studies community [compatibility mode]
A strategy for creating defence studies community [compatibility mode]A strategy for creating defence studies community [compatibility mode]
A strategy for creating defence studies community [compatibility mode]
 

ความขัดแย้งไทยเขมร

  • 1. 5/02/5 1    ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ – ความชัดแย้ง ไทย – กัมพูชา มองแบบทวิภาคีหรื อพหุ ภาคี พันเอก ดร.ธีรนันท์ นันทขว้าง รองผูอานวยการกองการเมือง ้ํ วิทยาลัยป้ องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้ องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย การมองปั ญหาความขัดแย้งบริ เวณชายแดนไทย – กัมพูชานั้นหลายท่านชอบมองในลักษณะของ ความขัดแย้งของ 2 ประเทศ (ทวิภาคี) ทําให้มกจะมองข้ามหรื อละเลยปัจจัยสําคัญอื่นๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกัน ั และการละเลยนี้ อาจจะนําไปสู่ ปัญหาอื่นๆ ที่ลุกลามบานปลายตามมาอย่างที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เมื่อ ก.ย.53 ผมได้มีโอกาสไปบรรยายเรื่ อง ความขัดแย้ง ไทย – กัมพูชา ในมิติทางยุทธศาสตร์ และการทหารที่ พล.ร.6 เนื่ องในโอกาสที่ ผบ.พล.ร.6 แถลงนโยบายการปฏิบติงาน ปี 2554 ทําให้ได้มีโอกาสทําสไลด์บรรยายที่ ั กล่าวถึง ผูมีส่วนได้ส่วนเสี ย (Stakeholders) ที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ใน ไทยและกัมพูชา ดังแสดงในภาพ ้ ที่ 1 และมีรายละเอียดดังนี้ ภาพที่ 1 ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ในไทย – กัมพูชา
  • 2. 5/02/5 2    ผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยกับปั จจัยผลประโยชน์ใน ไทย – กัมพูชา นั้นอาจจะเริ่ มได้จากที่การเมืองไทยไม่ ้ ั ้ ั มีเสถียรภาพ เพราะเรายังมีปัญหาความขัดแย้งภายในของเราที่ยงไม่มีขอยุติ ในขณะที่กมพูชาเองได้มีการ พัฒนาประเทศขึ้ นมาก และหากมองเลยไปที่ ภูมิภาคเอเชี ยตะวัน ออกเฉี ยงใต้ จะพบว่าประเทศสมาชิ ก อาเซี ยนมีความเข้มแข็งมากขึ้น มองขึ้นไปทางเหนือสาธารณะรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนจีน (สปจ.) มีการ เติบโตจนส่ งผลกระทบไปทั้งโลก ในขณะเดียวกันจะพบว่าสหรัฐอเมริ กา ได้มีการปรับนโยบาย และแสดง ท่าทีที่จะให้ความสําคัญภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้มากขึ้น และสุ ดท้ายการที่ประเทศกัมพูชามีทรัพยากร ที่อุดมสมบรู ณ์ ทําให้หลายประเทศมีความสนใจที่จะเข้ามาลงทุน จากปั จจัยที่ได้กล่าวมาในข้างต้นนั้นจะส่ งผลให้ ผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยในพื้นที่ ไทย-กัมพูชา นั้นมี ้ หลากหลายเพราะมีผที่ตองการมาลงทุนใน บริ เวณ ไทย-กัมพูชา จํานวนมาก ในขณะที่บางประเทศมีความ ู้ ้ ต้องการที่จะใช้ทรั พยากรธรรมชาติจากบริ เวณ ไทย-กัมพูชา หรื อแม้กระทังความต้องการใช้โครงสร้ าง ่ พื้นฐานทางโลจิสติคส์ (Logistics Infrastructure) จากจีนลงมาทางด้านใต้ นอกจากนี้ ความมันคงในภูมิภาค ่ เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ยังจะส่ งผลกระทบกับโลกในภาพรวม เพราะภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) โลกได้มี การขยับเขยื้อน และที่ สําคัญประเด็นปั ญหาความมันคงของโลกจะมีลกษณะที่เป็ นพลวัตรเปลี่ยนแปลง ่ ั ตลอดเวลา โดยภาพที่ 2 แสดงถึงผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยหากเกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่าง ไทย-กัมพูชา ้ ประเทศคู่ขัดแย้ ง - ไทย (ทวิภาคี) - กัมพูชา - ไทย - กัมพูชา - ประเทศสมาชิกอาเซียน ความขัดแย้ ง - จีน ไทย - กัมพูชา ผู้มีส่วนได้ ส่วนเสีย - สหรั ฐอเมริกา - ฝรั่ งเศส (พหุภาคี) - ญี่ปุ่น - ออสเตรเลีย - สหภาพยุโรป - สหประชาชาติ - ฯลฯ ภาพที่ 2 มุมมองความขัดแย้ง ไทย – กัมพูชา ผ่านมิติของผูมีส่วนได้ส่วนเสี ย ้ ่ จริ งอยูความขัดแย้งระหว่าง ไทย-กัมพูชา นั้นเป็ นเรื่ องของ 2 ประเทศ แต่หากมองไปที่มิติของมีผมี ู้ ส่ วนได้ส่วนเสี ยจํานวนมากที่ได้รับผลกระทบจากความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่าง ไทย-กัมพูชา นั้นจะพบว่า เป็ นเรื่ องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่ผูที่มีส่วนได้ส่วนเสี ยเหล่านั้นจะต้องมีการแสดงท่าทีหรื อเข้ามาแทรกแซงใน ้ ความขัดแย้งดังกล่าว เพราะฉะนั้นการที่เราพยายามที่จะแก้ปัญหาในลักษณะของทวิภาคีน้ นจึงเป็ นเรื่ องยาก ั
  • 3. 5/02/5 3    ั ในขณะเดียวกันที่กมพูชามีอานาจต่อรองน้อยในการเจรจา ท่าทีของกัมพูชาจึงพยายามที่จะนําปั ญหาความ ํ ขัดแย้งเข้าสู่ เวทีที่มีลกษณะเป็ นหพหุ ภาคี เพื่อสร้างความได้เปรี ยบในการเจรจาต่อรอง ซึ่งประเทศที่เป็ นผูมี ั ้ ส่ วนได้ส่วนเสี ยก็มีความพร้อมที่จะเข้ามามีบทบาทในความขัดแย้งที่เกิดขึ้น วันนี้ หากเรามองไปยังพื้นที่มีความขัดแย้งระหว่างไทย-กัมพูชา จะเห็ นการเคลื่อนกําลัง การวาง กําลัง และที่สาคัญกําลังทหารที่นาไปวางของทั้งสองประเทศได้มีการปะทะกัน มีการยิงปื นใหญ่ขามแนว ํ ํ ้ ชายแดนไปมา มีผที่เสี ยชีวิต และมีทรัพย์สินที่เสี ยหาย หากวันนี้ เราทั้ง 2 ประเทศไม่พยายามที่จะยุติความ ู้ ขัดแย้งดังกล่าว สถานการณ์อาจจะลุกลามไปสู่ การเป็ น สงครามจํากัด (Limited War) ที่ส่งผลเสี ยและ กระทบในมุมกว้างที่ยากจะควบคุม นอกจากนี้เราอาจจะสู ญเสี ยโอกาสในการเป็ นประเทศนําในอาเซี ยนไป อย่างถาวร คําถามที่ ผมอยากจะตั้งให้สังคมไทยได้ตระหนักเป็ นอย่างมากหากหลายๆ ท่านปราถนาที่ จะมี สงครามคือ ไทย – กัมพูชาจะดําเนินการอย่างไรในขั้นต่อไป ประเทศไทยมีแผนรองรับหรื อไม่ สิ่ งที่เราอยาก ให้เป็ นคือการเจรจาแก้ไขโดยใช้กรอบทวิภาคีจะมีความไปได้มากน้อยแค่ไหน และผูมีส่วนได้ส่วนเสี ยจะ ้ ดํา เนิ นการกันอย่างไร นอกจากนี้ ในแง่ ของกฏหมายระหว่างประเทศและเวที โลก ไทยและกัมพูช าจะ ดําเนินการต่อไปอย่างไร ั ํ ถึงแม้วนนี้ ไทยจะมีกาลังทหารที่มีอานาจกําลังรบที่สูงกว่ากัมพูชาในภาพรวม แต่ในระดับพื้นที่น้ น ํ ั มีความใกล้เคียงกัน และการปฏิบติทางทหารตามแบบเราจะได้เปรี ยบกัมพูชา แต่หากเรานํากําลังเข้าไปใน ั กัมพูชา เราจะถูกมองจากเวที โลกว่าเรารั งแกประเทศที่อ่อนแอกว่า และที่ สําคัญคือ เราอาจจะเผชิ ญกับ รู ปแบบใหม่ๆ ของการปฏิบติการทางทหาร เช่น การใช้โลห์มนุษย์ขดขวางการปฏิบติการทางทหาร สิ่ งต่างๆ ั ั ั เหล่านี้ ทาให้เราไม่มีเสรี ในการปฏิบติ แล้วเราจะได้เปรี ยบตามที่เราคิดไว้จริ งหรื อหากต้องใช้การปฏิบติการ ํ ั ั ทางทหาร หากมีการใช้กาลังทหารเข้าแก้ไขปั ญหาความขัดแย้งวันนี้ ใครคือเพื่อนที่จะยืนอยู่ขางเรา สหรัฐฯ ํ ้ หรื อ จี น หรื อ ประเทศสมาชิ กอาเซี ยน เพราะสหรั ฐฯ ปั จ จุ บนได้มีการฝึ กกับกองทัพกัมพูชา ให้ความ ั ช่วยเหลือทางด้านยุทโธปกรณ์ ส่ วนหนึ่ งนั้นมาจากความสัมพันธ์ที่ดีงามระหว่างกองทัพสหรัฐฯ กับ พลตรี ฮุนมาเน็ต ผูบญชาการกองพลน้อยที่ 70 บุตรชายสมเด็จฯ ฮุนเซ็น ที่จบการศึกษาจากโรงเรี ยนนายร้อยเวสต์ ้ ั ปอยต์ (United States Military Academy at West Point) นอกจากนี้ สปจ.ยังได้ให้การสนับสนุนยาพาหนะ ่ ทางทหารจํานวน 254 คันในปี 2553 ที่ผานมา ลาวเองก็ได้มอบอาวุธประเภทจรวดประทับบ่า ให้กบกัมพูชา ั ั 3,000 กระบอก และกระสุ น 10,000 นัด ฝรั่งเศสเพิ่งให้อากาศยานสําหรับขนส่ ง 2 ลํา นอกจากนี้กมพูชายัง ซื้อรถถัง T-55 ใหม่ และรถเกราะลําเลียงพล จากสาธารณรัฐยูเครน และ จรวดหลายลํากล้อง BM-21 ที่มีขีด ความสามารถยิงได้ไกล 40 กม. โดยการยิง 1 ชุดสามารถทําลายเป้ าหมายประมาณ 1 สนามฟุตบอล และใช้
  • 4. 5/02/5 4    เวลาบรรจุใหม่พร้ อมยิงได้ภายใน 30 นาที ที่กล่าวมาในลักษณะนี้ ไม่ได้ตองการสร้ างความมันใจการ ้ ่ ปฏิบติการทางทหารของไทย แต่ ตองการให้เห็ นพัฒนาการและบริ บทในปั จจุบนของกัมพูชา ทําให้เรา ั ้ ั ่ สามารถกล่าวได้วา “เราได้เปรี ยบทางยุทธการ แต่เสี ยเปรี ยบทางยุทธศาสตร์” เพราะฉะนั้นคําถามสําคัญของสังคมไทยวันนี้ เราคงต้องมาตั้งคําถามกันว่าเราต้องการให้ประเทศ ไทยเข้าเผชิญสถานการณ์ความขัดแย้ง ไทย-กัมพูชา อย่างไร เราต้องการสงครามหรื อเราต้องการสันติภาพ แต่ไม่ว่าจะอย่างไร วันนี้ กองทัพก็ยงคงทําหน้าที่ในบริ เวณความขัดแย้งอย่างเต็มความสามารถแม้จะต้อง ั สู ญเสี ยชีวตทหารไปอีกจํานวนมากก็ตาม ประเทศไทยวันนี้เราจะก้าวไปสู่การเป็ นประชาคมอาเซียน ที่เราจะ ิ ได้ประโยชน์มหาศาลที่ ครอบคลุ มหลายมิ ติหลายด้าน เพราะประชาคมอาเซี ยนจะมีผลิ ตภัณฑ์มวลรวม ประชาชาติ (Combined GDP) กว่า 1.1 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ มีรายได้จากการส่ งออกในภูมิภาคโดยรวม กว่า 765 พันล้านดอลลาร์ สหรัฐ หรื อ เราจะเป็ นประเทศไทยเล็กๆ ที่ไม่มีอานาจต่อรองมากในโลกอย่าง ํ ลําพัง วันนี้เพื่อนบ้านใครบ้างที่รักเราจริ ง พร้อมที่จะร่ วมเดินไปข้างหน้าเผชิญปั ญหาร่ วมต่างๆ จากภายนอก กับเราบ้าง เราอาจจะมีความภูมิใจในความเป็ นประเทศไทยที่เป็ นศูนย์กลางในภูมิภาคนี้ แต่คนไทยไม่เคยรู ้ เลยว่าวันนี้ เราได้สูญเสี ยแม้แต่การเป็ นประเทศนําในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซี ยนไปแล้ว แล้วท่านล่ะครับ ต้องการเห็นประเทศไทยเป็ นอย่างไรในอนาคต ...............เอวังครับ