SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
1 

 




     ความมันคงศึกษา – สถานการณ์ในตูนีเซีย โลกไซเบอร์ และ วิกิลีกส์ ปรากฏการณ์ของโลกยุคใหม่
           ่
                                       ที่สะท้อนถึงทฤษฏีไร้ระเบียบ
                                                                                พันเอก ดร.ธีรนันท์ นันทขว้าง
                                                                                 รองผูอานวยการกองการเมือง
                                                                                      ้ํ
                                                                                วิทยาลัยป้ องกันราชอาณาจักร
                                                       สถาบันวิชาการป้ องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย

        ประเด็นข่าวต่างประเทศในขณะนี้ คงไม่มีข่าวใดที่น่าสนใจเท่ากับสถานการณ์ในตูนิเซี ย ภายหลัง
จากประชาชนรวมพลังขับไล่ประธานาธิ บดี เบน อาลี (Ben Ali) เป็ นเรื่ องสําคัญในมิติของความมันคงที่ทุก
                                                                                         ่
ประเทศในโลกต้องให้ความสนใจ และจับตามอง เพราะการขยายตัวของสถานการณ์ได้ลุกลามบานปลายไป
จนเป็ นเรื่ องยากที่จะมีผหนึ่ งผูใดสามารถควบคุม อีกทั้งยังเป็ นเรื่ องลําบากที่จะคาดการณ์ไปในอนาคตว่าจะ
                         ู้      ้
ไปในทิศทางใด และทีสาคัญได้มีการกล่าวถึงเว็บไซต์ที่ชื่อ วิกิลีกส์ (Wikileaks) ทําให้เวบไซต์แห่ งนี้ กลาย
                   ํ
มาเป็ นตัวแสดงสําคัญจากโลกไซเบอร์ ที่เข้าไปเกี่ ยวข้องกับถานการณ์ความขัดแย้งที่เกิ ดขึ้นบนโลกแห่ ง
ความเป็ นจริ ง

        ดังที่ปรากฏตามสื่ อหลายแห่ ง ถึงแม้จะไม่ได้เป็ นการยอมรับโดยทัวไปว่า วิกิลีกส์ เป็ นตัวแสดงที่เร่ ง
                                                                      ่
ให้เกิดสถานการณ์ในประเทศตูนีเซีย แต่ก็เป็ นเรื่ องที่ปฏิเสธไม่ได้วา วิกิลีกส์ ได้มีการเผยแพร่ ขอความ วันที่
                                                                  ่                            ้
7 ธ.ค.2553 ที่ปรากฏในโทรเลขส่ งข่าวกลับไปยังสหรัฐฯ (Cablegate) วันที่ 17 ก.ค.2552 ของ Robert F.
Godec เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริ กา ประจําตูนิเซีย ที่ได้กล่าวถึง ประธานาธิบดี เบน อาลี และครอบครัว ที่มี
ชีวิตความเป็ นอยูที่ฟุ่มเฟื อย และความเกลียดชังของประชาชนที่มีต่อ สตรี หมายเลขหนึ่ ง ที่ได้ทาการทุจริ ต
                ่                                                                           ํ
คอร์รัปชัน ประเทศชาติเป็ นจํานวนมาก
         ่

        นอกจากนี้ ยงมีบทความเรื่ อง The First WikiLeaks Revolution? เขียนโดย อลิซาเบท ดิ๊คกินสัน
                   ั
(Elizabeth       Dickinson) ที่ ออกเผยแพร่ วนที่ 13
                                            ั         ม.ค.54      ในเวบของนิ ตยสาร Foreign           Policy
(http://www.foreignpolicy.com) โดยพยายามเชื่อมโยงเหตุการณ์ความไม่สงบในตูนีเซี ย ว่าส่ วนหนึ่ งเป็ น
2 

 

เพราะความพยายามปิ ดกั้นการเข้าถึงสื่ อ โดยเฉพาะการ block วิกิลีกส์ ที่ทาให้เกิดความอยากรู ้อยากเห็นของ
                                                                       ํ
ประชาชน และนําไปสู่ความไม่พอใจในที่สุด

        แต่อย่างไรก็ตามสาเหตุที่เริ่ มต้นของความสับสนอลม่านที่ นาไปสู่ การก่ อความไม่สงบและการ
                                                                ํ
จราจลที่นาไปสู่ การเปลี่ยนแปลง นั้นเกิดมาจากการห้ามขายผักโดยไม่มีใบอนุญาตตามท้องถนนในเมือง ซิดิ
         ํ
บัวซิด (Sidi Bouzid) ของตูนีเซี ย ที่นาไปสู่ การเผาตัวเองจนเสี ยชีวิตเพื่อเป็ นการประท้วงการถูกตํารวจจับใน
                                      ํ
ข้อหาเปิ ดแผงลอยขายผักผลไม้โดยไม่มีใบอนุญาต ของ โมฮัมเหม็ด บูอาซี ซี (Mohamed Bouazizi) เป็ นผูที่
                                                                                               ้
จบการศึกษาทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) แต่ตกงานอายุ 26 ปี การตายเป็ นชนวนให้
ชาวตูนิเซี ยลุกฮือประท้วงรัฐบาล เพราะเขาเปรี ยบเสมือนตัวแทนคนตูนิเซี ยรุ่ นใหม่ รวมทั้งชาวอาหรับรุ่ น
ใหม่ในอีกหลายประเทศที่ลวนประสบปั ญหาไม่มีงานทํา โดยสัดส่ วนอัตราการว่างงานเฉลี่ย 14% ในตูนีเซีย
                       ้
ในขณะที่ท้ งโลกนั้นมีอตราที่ 5% การลุกฮือได้ลามไปทัวตูนิเซี ย โดยมีอีกแรงผลักดันเกิดจากการที่ตูนิเซี ย
           ั          ั                            ่
เป็ นประเทศเผด็จการ

        ความจริ งแล้วปั ญหาการก่ อความไม่สงบในที่ต่างๆ ทัวโลก ที่มีประเด็นของโลกไซเบอร์ เข้าไป
                                                         ่
เกี่ยวข้องนั้นไม่ได้เกิดขึ้นครั้งแรก แต่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านี้ อย่างเช่น การจราจลในมอลโดวา (Moldova) เมื่อ
เม.ย.52 ที่ผานมามีการใช้ Twitter และ LiveJournal รวมถึง Facebook เข้าไปเกี่ยวข้อง ความวุ่นวายภายหลัง
            ่
จากการเลือกตั้งในประเทศอิหร่ านเมื่อ ก.ค.52 ที่ผานมาจะมี Twitter เข้ามาเกี่ยวข้อง และในประเทศไทยที่มี
                                                ่
                                                                               ่
การใช้ท้ ง Facebook และ Twitter ในช่วงความขัดแย้งในห้วงเดือน มี.ค.- พ.ค.53 ที่ผานมา
         ั

        สําหรับตูนีเซี ยนนั้นไม่เพียงแต่ วิกิลีกส์ จากโลกไซเบอร์ ที่ส่งผลกระทบต่อความรู ้สึกของชาวตูนี
เซี ย เท่านั้น แต่โลกไซเบอร์ ยงมีอิทธิพลต่อชาวอาหรับอีกหลายประเทศ ด้วยการใช้ Twitter, Facebook และ
                              ั
Youtube ดังเช่น ในตูนีเซี ย ประชาชนที่ใช้อินเตอร์เน็ตได้มีการสื่ อสาร ไม่ว่าจะเป็ น Twitter และ Facebook
ในการพยายามตามเส้นทางการเดินทางและสกัดกั้นการออกนอกประเทศของประธานาธิ บดี เบน อาลี และ
รวมไปถึงการ เปลี่ยนโปรไฟล์รูปของตนเองใน Twitter และFacebook เป็ นรู ปธงชาติตูนีเซี ยสี แดง เพื่อ
แสดงถึงความเป็ นนํ้าหนึ่งใจเดียวกันในการต่อสู ้

                                                                    ั
        ส่ วนในอียปต์ ประชาชนใช้ Twitter และ Facebook แสดงความยินดีกบชาวตูนีเซีย และคาดหวังว่า
                  ิ
ชาวอี ยิปต์จ ะเป็ นประเทศต่ อ ไปที่ มีลก ษณะเหมื อ นชาวตูนี เ ซี ย นอกจากนี้ ยังมี ช าวอี ยิป ต์ยืนฉลองหน้า
                                       ั
สถานทูตตูนีเซี ย และตะโกนในลักษณะที่ว่า ให้ประธานธิ บดี เบน อาลี ของตูนีเซี ยมารับประธานาธิ บดี มู
3 

 

                                                                          ั
บารัค ของอียิปต์ ไปด้วย ส่ วนชาวอัลจีเลียและชาวโมรอคโค ก็ได้แสดงความยินดีกบชาวตูนีเซี ยผ่านทาง
อินเตอร์เน็ต เป็ นจํานวนมาก

        ความจริ งแล้วผมไม่ตองการที่จะเขียนถึงพลังและบทบาทของ โลกไซเบอร์แต่ผมต้องการสื่ อให้เห็น
                           ้
                                              ่
ถึงความสลับซับซ้อนของสิ่ งต่างๆ ที่เราเผชิญอยูในปั จจุบนนั้นมีมากจนยากที่จะคาดเดาใดๆ แต่บนความไม่
                                                       ั
แน่ นอนต่างๆ ที่เกิดขึ้นกลับนําไปสู่ ความรู ปแบบของเหตุการณ์ และหลายครั้งสิ่ งเล็กๆ ที่ทุกคนมองว่าไม่
สําคัญกลับกลายมาเป็ นจุดเริ่ มของเหตุการณ์ขนาดใหญ่ในตอนท้าย อย่างคําโบราณที่ใช้คาว่า “นํ้ าผึ้งหยด
                                                                                ํ
เดียว” ที่น้ าผึ้งหยดเดียวนําไปสู่ ความโกลาหลวุ่นวายขนาดใหญ่ แต่อย่างไรก็ตามคําว่านํ้าผึ้งหยดเดียว ยัง
             ํ
สะท้อนถึงปรากฏการณ์ต่างๆ ได้ดีนก
                               ั

        ดังนั้น ทฤษฏีไร้ระเบียบ (Chaos Theory) จึงอาจจะเป็ นแนวทางในการอธิ บายปรากฏการณ์ต่างๆ
ได้ดีมากขึ้น เพราะ ความวุ่นวายไร้ระเบียบต่างๆ อาจจะนําไปสู่ ความมีรูปแบบขนาดใหญ่ ถ้าปั ญหาการก่อ
ความไม่ สงบในตู นีเ ซี ย นั้น นําไปสู่ การเปลี่ ยนแปลงในประเทศอื่ นๆ ตามมาโดยลามไปยังอี ยิปต์ และ
ประเทศ อาหรับและนอกกลุ่มประเทศอาหรับ ในอนาคต ซึ่งหากเกิดขึ้นจริ ง เราก็อาจจะกล่าวได้ว่า การห้าม
ขายผักตามท้องถนนโดยไม่มีใบอนุ ญาตในเมือง ซิ ดิ บัวซิ ด ของตูนีเซี ยได้นาไปสู่ การก่อความไม่สงบใน
                                                                       ํ
หลายประเทศรอบโลก เรื่ องนี้คงไม่ต่างอะไรกับ "เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว" หรื อ “ผีเสื้ อขยับปี กทําให้
เกิดพายุ (Butterfly Effect)” ซึ่งเป็ นวลีที่เป็ นสัญญาลักษณ์ของทฤษฏีไร้ระเบียบ ……เอวัง ครับ

More Related Content

More from Teeranan

Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
Teeranan
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
Teeranan
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Teeranan
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
Teeranan
 

More from Teeranan (20)

Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern th
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012
 
Political warfare 55
Political warfare 55Political warfare 55
Political warfare 55
 
National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politics
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airport
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
Atfl
AtflAtfl
Atfl
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in Thailand
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social network
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailand
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
Military power
Military powerMilitary power
Military power
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalism
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflict
 

สถานการณ์ในตูนีเซียกับทฤษฏีไร้ระเบียบ

  • 1. 1    ความมันคงศึกษา – สถานการณ์ในตูนีเซีย โลกไซเบอร์ และ วิกิลีกส์ ปรากฏการณ์ของโลกยุคใหม่ ่ ที่สะท้อนถึงทฤษฏีไร้ระเบียบ พันเอก ดร.ธีรนันท์ นันทขว้าง รองผูอานวยการกองการเมือง ้ํ วิทยาลัยป้ องกันราชอาณาจักร สถาบันวิชาการป้ องกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย ประเด็นข่าวต่างประเทศในขณะนี้ คงไม่มีข่าวใดที่น่าสนใจเท่ากับสถานการณ์ในตูนิเซี ย ภายหลัง จากประชาชนรวมพลังขับไล่ประธานาธิ บดี เบน อาลี (Ben Ali) เป็ นเรื่ องสําคัญในมิติของความมันคงที่ทุก ่ ประเทศในโลกต้องให้ความสนใจ และจับตามอง เพราะการขยายตัวของสถานการณ์ได้ลุกลามบานปลายไป จนเป็ นเรื่ องยากที่จะมีผหนึ่ งผูใดสามารถควบคุม อีกทั้งยังเป็ นเรื่ องลําบากที่จะคาดการณ์ไปในอนาคตว่าจะ ู้ ้ ไปในทิศทางใด และทีสาคัญได้มีการกล่าวถึงเว็บไซต์ที่ชื่อ วิกิลีกส์ (Wikileaks) ทําให้เวบไซต์แห่ งนี้ กลาย ํ มาเป็ นตัวแสดงสําคัญจากโลกไซเบอร์ ที่เข้าไปเกี่ ยวข้องกับถานการณ์ความขัดแย้งที่เกิ ดขึ้นบนโลกแห่ ง ความเป็ นจริ ง ดังที่ปรากฏตามสื่ อหลายแห่ ง ถึงแม้จะไม่ได้เป็ นการยอมรับโดยทัวไปว่า วิกิลีกส์ เป็ นตัวแสดงที่เร่ ง ่ ให้เกิดสถานการณ์ในประเทศตูนีเซีย แต่ก็เป็ นเรื่ องที่ปฏิเสธไม่ได้วา วิกิลีกส์ ได้มีการเผยแพร่ ขอความ วันที่ ่ ้ 7 ธ.ค.2553 ที่ปรากฏในโทรเลขส่ งข่าวกลับไปยังสหรัฐฯ (Cablegate) วันที่ 17 ก.ค.2552 ของ Robert F. Godec เอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริ กา ประจําตูนิเซีย ที่ได้กล่าวถึง ประธานาธิบดี เบน อาลี และครอบครัว ที่มี ชีวิตความเป็ นอยูที่ฟุ่มเฟื อย และความเกลียดชังของประชาชนที่มีต่อ สตรี หมายเลขหนึ่ ง ที่ได้ทาการทุจริ ต ่ ํ คอร์รัปชัน ประเทศชาติเป็ นจํานวนมาก ่ นอกจากนี้ ยงมีบทความเรื่ อง The First WikiLeaks Revolution? เขียนโดย อลิซาเบท ดิ๊คกินสัน ั (Elizabeth Dickinson) ที่ ออกเผยแพร่ วนที่ 13 ั ม.ค.54 ในเวบของนิ ตยสาร Foreign Policy (http://www.foreignpolicy.com) โดยพยายามเชื่อมโยงเหตุการณ์ความไม่สงบในตูนีเซี ย ว่าส่ วนหนึ่ งเป็ น
  • 2. 2    เพราะความพยายามปิ ดกั้นการเข้าถึงสื่ อ โดยเฉพาะการ block วิกิลีกส์ ที่ทาให้เกิดความอยากรู ้อยากเห็นของ ํ ประชาชน และนําไปสู่ความไม่พอใจในที่สุด แต่อย่างไรก็ตามสาเหตุที่เริ่ มต้นของความสับสนอลม่านที่ นาไปสู่ การก่ อความไม่สงบและการ ํ จราจลที่นาไปสู่ การเปลี่ยนแปลง นั้นเกิดมาจากการห้ามขายผักโดยไม่มีใบอนุญาตตามท้องถนนในเมือง ซิดิ ํ บัวซิด (Sidi Bouzid) ของตูนีเซี ย ที่นาไปสู่ การเผาตัวเองจนเสี ยชีวิตเพื่อเป็ นการประท้วงการถูกตํารวจจับใน ํ ข้อหาเปิ ดแผงลอยขายผักผลไม้โดยไม่มีใบอนุญาต ของ โมฮัมเหม็ด บูอาซี ซี (Mohamed Bouazizi) เป็ นผูที่ ้ จบการศึกษาทางด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ (Computer Science) แต่ตกงานอายุ 26 ปี การตายเป็ นชนวนให้ ชาวตูนิเซี ยลุกฮือประท้วงรัฐบาล เพราะเขาเปรี ยบเสมือนตัวแทนคนตูนิเซี ยรุ่ นใหม่ รวมทั้งชาวอาหรับรุ่ น ใหม่ในอีกหลายประเทศที่ลวนประสบปั ญหาไม่มีงานทํา โดยสัดส่ วนอัตราการว่างงานเฉลี่ย 14% ในตูนีเซีย ้ ในขณะที่ท้ งโลกนั้นมีอตราที่ 5% การลุกฮือได้ลามไปทัวตูนิเซี ย โดยมีอีกแรงผลักดันเกิดจากการที่ตูนิเซี ย ั ั ่ เป็ นประเทศเผด็จการ ความจริ งแล้วปั ญหาการก่ อความไม่สงบในที่ต่างๆ ทัวโลก ที่มีประเด็นของโลกไซเบอร์ เข้าไป ่ เกี่ยวข้องนั้นไม่ได้เกิดขึ้นครั้งแรก แต่เกิดขึ้นมาก่อนหน้านี้ อย่างเช่น การจราจลในมอลโดวา (Moldova) เมื่อ เม.ย.52 ที่ผานมามีการใช้ Twitter และ LiveJournal รวมถึง Facebook เข้าไปเกี่ยวข้อง ความวุ่นวายภายหลัง ่ จากการเลือกตั้งในประเทศอิหร่ านเมื่อ ก.ค.52 ที่ผานมาจะมี Twitter เข้ามาเกี่ยวข้อง และในประเทศไทยที่มี ่ ่ การใช้ท้ ง Facebook และ Twitter ในช่วงความขัดแย้งในห้วงเดือน มี.ค.- พ.ค.53 ที่ผานมา ั สําหรับตูนีเซี ยนนั้นไม่เพียงแต่ วิกิลีกส์ จากโลกไซเบอร์ ที่ส่งผลกระทบต่อความรู ้สึกของชาวตูนี เซี ย เท่านั้น แต่โลกไซเบอร์ ยงมีอิทธิพลต่อชาวอาหรับอีกหลายประเทศ ด้วยการใช้ Twitter, Facebook และ ั Youtube ดังเช่น ในตูนีเซี ย ประชาชนที่ใช้อินเตอร์เน็ตได้มีการสื่ อสาร ไม่ว่าจะเป็ น Twitter และ Facebook ในการพยายามตามเส้นทางการเดินทางและสกัดกั้นการออกนอกประเทศของประธานาธิ บดี เบน อาลี และ รวมไปถึงการ เปลี่ยนโปรไฟล์รูปของตนเองใน Twitter และFacebook เป็ นรู ปธงชาติตูนีเซี ยสี แดง เพื่อ แสดงถึงความเป็ นนํ้าหนึ่งใจเดียวกันในการต่อสู ้ ั ส่ วนในอียปต์ ประชาชนใช้ Twitter และ Facebook แสดงความยินดีกบชาวตูนีเซีย และคาดหวังว่า ิ ชาวอี ยิปต์จ ะเป็ นประเทศต่ อ ไปที่ มีลก ษณะเหมื อ นชาวตูนี เ ซี ย นอกจากนี้ ยังมี ช าวอี ยิป ต์ยืนฉลองหน้า ั สถานทูตตูนีเซี ย และตะโกนในลักษณะที่ว่า ให้ประธานธิ บดี เบน อาลี ของตูนีเซี ยมารับประธานาธิ บดี มู
  • 3. 3    ั บารัค ของอียิปต์ ไปด้วย ส่ วนชาวอัลจีเลียและชาวโมรอคโค ก็ได้แสดงความยินดีกบชาวตูนีเซี ยผ่านทาง อินเตอร์เน็ต เป็ นจํานวนมาก ความจริ งแล้วผมไม่ตองการที่จะเขียนถึงพลังและบทบาทของ โลกไซเบอร์แต่ผมต้องการสื่ อให้เห็น ้ ่ ถึงความสลับซับซ้อนของสิ่ งต่างๆ ที่เราเผชิญอยูในปั จจุบนนั้นมีมากจนยากที่จะคาดเดาใดๆ แต่บนความไม่ ั แน่ นอนต่างๆ ที่เกิดขึ้นกลับนําไปสู่ ความรู ปแบบของเหตุการณ์ และหลายครั้งสิ่ งเล็กๆ ที่ทุกคนมองว่าไม่ สําคัญกลับกลายมาเป็ นจุดเริ่ มของเหตุการณ์ขนาดใหญ่ในตอนท้าย อย่างคําโบราณที่ใช้คาว่า “นํ้ าผึ้งหยด ํ เดียว” ที่น้ าผึ้งหยดเดียวนําไปสู่ ความโกลาหลวุ่นวายขนาดใหญ่ แต่อย่างไรก็ตามคําว่านํ้าผึ้งหยดเดียว ยัง ํ สะท้อนถึงปรากฏการณ์ต่างๆ ได้ดีนก ั ดังนั้น ทฤษฏีไร้ระเบียบ (Chaos Theory) จึงอาจจะเป็ นแนวทางในการอธิ บายปรากฏการณ์ต่างๆ ได้ดีมากขึ้น เพราะ ความวุ่นวายไร้ระเบียบต่างๆ อาจจะนําไปสู่ ความมีรูปแบบขนาดใหญ่ ถ้าปั ญหาการก่อ ความไม่ สงบในตู นีเ ซี ย นั้น นําไปสู่ การเปลี่ ยนแปลงในประเทศอื่ นๆ ตามมาโดยลามไปยังอี ยิปต์ และ ประเทศ อาหรับและนอกกลุ่มประเทศอาหรับ ในอนาคต ซึ่งหากเกิดขึ้นจริ ง เราก็อาจจะกล่าวได้ว่า การห้าม ขายผักตามท้องถนนโดยไม่มีใบอนุ ญาตในเมือง ซิ ดิ บัวซิ ด ของตูนีเซี ยได้นาไปสู่ การก่อความไม่สงบใน ํ หลายประเทศรอบโลก เรื่ องนี้คงไม่ต่างอะไรกับ "เด็ดดอกไม้สะเทือนถึงดวงดาว" หรื อ “ผีเสื้ อขยับปี กทําให้ เกิดพายุ (Butterfly Effect)” ซึ่งเป็ นวลีที่เป็ นสัญญาลักษณ์ของทฤษฏีไร้ระเบียบ ……เอวัง ครับ