SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทนำ
ปัจจุบันที่ผ่านมาการดารงชีวิตของมนุษย์ล้วนต้องใช้ไฟฟ้ าเป็นแหล่งพลังงานป้ อน
ให้แก่อุปกรณ์ต่าง ๆ ในงานด้าน คมนาคม อุปโภคบริโภค อุตสาหกรรม และ งานด้านอื่น ๆ
อีกมากมายแต่การที่จะรู้จักประโยชน์จากไฟฟ้ าให้เกิดคุณประโยชน์สูงสุด และ เกิดโทษ
มหันต์ให้น้อยที่สุดจะต้องมีความเข้าใจในเรื่องของไฟฟ้ าและวงจรไฟฟ้ าที่ใช้กันอยู่ทั้งในภาค
ธุรกิจ อุตสาหกรรม หรือ แม้แต่ครัวเรือน ทั้งนี้ในแง่ของโทษที่เกิดจากการนาไฟฟ้ ามาใช้โดย
ปราศจากความรู้ ความเข้าใจ ย่อมส่งผลให้เกิดโทษ ทั้งในเรื่องของชีวิต ทรัพย์สิน เงินทอง
ดังนั้น หากทราบวิธีการและเข้าใจการใช้งานจากไฟฟ้าให้ถูกต้องนับว่าเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่ง
ต่อการดาเนินชีวิตในปัจจุบัน
1.1 บริบทเกี่ยวกับไฟฟ้ ำ
1.1.1 นิยำมของไฟฟ้ ำ
ไฟฟ้ าเป็นพลังงานชนิดหนึ่งที่เป็ นส่วนประกอบอยู่ในวัตถุธาตุทุกชนิด
ประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ ที่เรียกว่า อะตอม (Atom)โดยธาตุแต่ละชนิดมีจานวนอะตอม
ต่างกัน และในแต่ละอะตอมจะประกอบด้วยโปรตรอน (Proton) นิวตรอน (Neutron)
และอิเล็กตรอน (Electron) สาหรับโปรตรอนและนิวตรอนจะมีสถานะอยู่นิ่งไม่เคลื่อนไหว
แต่อิเล็กตรอนจะเคลื่อนไหว รอบโปรตรอนและนิวตรอน และยังสามารถเคลื่อนไหว
จากอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่งด้วยการเคลื่อนไหวของอิเล็กตรอนจากอะตอมหนึ่งไปยัง
อีกอะตอมหนึ่งที่อยู่ถัดไปคือสิ่งที่เรียกว่า ไฟฟ้าสถิต (Electrostatic)
1.1.2 ที่มำของไฟฟ้ ำ
ไฟฟ้ าที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้กาเนิดมาจากแหล่งพลังงานได้หลายลักษณะได้แก่
ถ่านหินน้ามัน ก๊าซธรรมชาติ พลังงานน้า พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ และเซลล์ไฟฟ้ า
(คือแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าที่ให้กาลังไฟฟ้ าด้วยปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์) โดยการนาเอาพลังงาน
จากแหล่งต่าง ๆ ที่กล่าวมานาไปใช้ในการเดินเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าเพื่อ ผลิตกระแสไฟฟ้ าส่ง
ตามสายส่งไปยังผู้ใช้ไฟฟ้าต่อไป
ภาคทฤษฎี
บทที่ 1
ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
2 บทที่ 1
ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
1.1.3 อันตรำยกับร่ำงกำยที่เกิดจำกไฟฟ้ ำ
ไฟฟ้าสามารถทาอันตรายแก่ร่างกายได้ ถ้าหากส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย
เข้าไปสัมผัสหรือแตะส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้ า เช่น สายไฟฟ้ าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ าที่มี
กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขณะนั้นอาจจะสัมผัสถูกสายไฟ 2 เส้น หรือเพียงเส้นเดียว หรือ อาจไป
สัมผัสวัตถุ หรือ โลหะที่กระแสไฟฟ้ ารั่วไหลในขณะที่ร่างกายส่วนอื่นสัมผัสอยู่กับพื้นดิน
หรือพื้นที่ชื้นแฉะ กระแสไฟฟ้ าจะสามารถไหลผ่านร่างกายลงสู่ดิน (Ground) และครบวงจร
ทาให้เกิดอันตรายได้โดยมีองค์ประกอบพื้นฐานสาคัญ 3 อย่างที่จะทาให้กระแสไฟฟ้ า
ทาอันตรายกับร่างกายได้ คือ
1. กระแสไฟฟ้า (Current) หมายถึง จานวนของปริมาณอิเล็กตรอนที่ไหลผ่านร่างกาย
โดยขึ้นอยู่กับปริมาณอิเล็กตรอนที่ไหลผ่าน หากมีปริมาณน้อยจะเกิดอันตรายน้อย และหาก
ปริมาณมากอันตรายจะเกิดขึ้นมากจนสามารถทาให้เสียชีวิตได้
2. แรงเคลื่อนไฟฟ้า (Voltage) หมายถึง จานวนพลังงานที่แหล่งกาเนิดจะสามารถให้
ได้ต่อหน่วยประจุไฟฟ้ าโดยขึ้นอยู่กับปริมาณแรงเคลื่อนไฟฟ้ า หากมีปริมาณน้อย
จะเกิดอันตรายน้อย และหากปริมาณมากอันตรายจะเกิดขึ้นมากจนสามารถทาให้เสียชีวิตได้
3. ความต้านทาน (Resistance) หมายถึง ความต้านทานของร่างกายที่เกิดจากบริเวณ
ผิวหนังแต่ละส่วนของร่างกายจะมีความต้านทานแตกต่างกัน พบว่าบริเวณที่มีค่า
ความต้านทานต่า เช่นบริเวณผิวหนังที่มีความชื้นจะทาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ง่าย
1.1.4 ลักษณะกำรกระทำของไฟฟ้ ำที่เกิดกับมนุษย์
มนุษย์ทั่วไปมักจะประสบหรือถูกกระทาจากอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้ า
โดยทั่วไปจะพบอยู่ 3 ลักษณะดังนี้
1. เกิดจากการที่ค่ากระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่างกายมนุษย์ลงดินหรือครบวงจรกับดิน
เรียกว่า ไฟดูด เช่น เอามือไปจับส่วนที่เป็นโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น ตู้เย็น เครื่องทาน้าอุ่น
กระทะไฟฟ้า ที่มีกระแสไฟฟ้ารั่วไหลผ่านทางผิวหนังของร่างกายลงสู่ดินถึงเท้า
2. เกิดจากร่างกายของมนุษย์ไปต่อเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้าทาให้ กระแสไฟฟ้า
ไหลผ่านครบวงจรในตัวโดยไม่จาเป็นต้องต่อลงดิน เช่น คนใช้มือสองข้างสัมผัสเข้ากับ
สายไฟฟ้าเปลือย 2 เส้น
บทที่ 1
ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
3
3. ได้รับอันตรายจากแสงและความร้อนอันเกิดจากไฟฟ้ าลัดวงจรที่เรียกว่า ไฟช๊อต
ได้แก่ ผู้ที่ติดตั้งเสาอากาศโทรทัศน์ พบว่าหากไม่ระมัดระวังจะมีส่วนหนึ่งของโลหะเสาอากาศ
โทรทัศน์ไปสัมผัสสายไฟฟ้าแรงสูงทาให้กระแสไฟฟ้าที่มีปริมาณมากไหลผ่านร่างกายลงดิน
ส่งผลให้เกิดบาดแผลไฟไหม้รุนแรง และอาจเสียชีวิตได้หากได้รับการช่วยเหลือไม่ทันท่วงที
หรือขั้นตอนการช่วยเหลือไม่ถูกต้อง
1.2 กำรป้ องกันอันตรำยจำกกระแสไฟฟ้ ำ
1.2.1 ควำมต้ำนทำนกระแสไฟฟ้ ำของร่ำงกำยมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์ต่าง ๆ มากมาย เซลล์เหล่านั้นทาหน้าที่
ต่างกัน โดยเฉพาะมนุษย์จะมีน้า (H2O) เป็นส่วนประกอบของร่างกายที่สาคัญ ดังนั้นร่างกาย
มนุษย์จึงถือว่าเป็นตัวนาไฟฟ้ าชนิดหนึ่ง ที่ยอมให้กระแสไหลผ่านได้บ้าง ทั้งนี้ร่างกายของ
มนุษย์ยังมีผิวหนังหุ้มภายนอก ซึ่งถือว่าเป็นความต้านทานชนิดหนึ่งได้ ผู้เชี่ยวชาญได้ทาการ
วัดความต้านทานเฉลี่ยของร่างกายมนุษย์มีค่าประมาณ 90,000 โอห์ม/ตารางเซนติเมตร
บางคนอาจจะมีความต้านทานได้สูงสุดประมาณ 500,000 โอห์ม/ตารางเซนติเมตร
เมื่อผิวหนังมีเหงื่อหรือเปียกความต้านทานจะลดลงเหลือเพียง 5,000 โอห์ม/ตารางเซนติเมตร
และ ถ้าหากสายไฟฟ้ าทะลุผิวหนังถึงเนื้อ ความต้านทานจะลดลงอีก 300โอห์ม/ตาราง
เซนติเมตร เนื่องจากภายในเนื้อมนุษย์เต็มไปด้วยน้าและเส้นเลือดซึ่งเป็นสื่อไฟฟ้าอย่างดี
1.2.2 ผลลัพธ์จำกกระแสไฟฟ้ ำที่ส่งผลกับร่ำงกำยมนุษย์ มี 5 กรณี ตามภาพที่ 1.1
กรณีที่ 1 กล้ามเนื้อจะแข็งตัว ทาให้ปอดหยุดทางาน และร่างกายขาดออกซิเจน
กรณีที่ 2 เมื่อกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านหัวใจจะทาให้หัวใจเต้นรัว อ่อน ผิดจังหวะ
และ จะหยุดทางาน ทาให้การสูบฉีดโลหิตชะงัก แต่ในกรณีนี้ หัวใจอาจจะกลับทางานใหม่ได้
ภายใน 2-3 นาที เมื่อมีการปฐมพยาบาลผู้ป่วยทันเวลา
กรณีที่ 3 เส้นประสาทชะงัก ส่งผลให้ส่วนหนึ่งของสมอง ควบคุมการหายใจจะ
หยุดสั่งการ และ สมองส่วนนี้จะไม่สามารถอยู่ได้นาน เมื่อขาดเลือดจะต้องอาศัยออกซิเจน
ไปหล่อเลี้ยงสมอง และ อาจจะพิการได้ ถ้าหากไม่ได้รับปริมาณออกซิเจนภายใน 5 นาที
หลังจากหยุดหายใจ
4 บทที่ 1
ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
กรณีที่ 4 ความร้อนจะเริ่มเกิดขึ้นตามอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย เนื่องจากได้รับ
กระแสไฟฟ้าอาจทาลายเซลล์หรือเยื่อหุ้มภายในร่างกาย ส่งผลทาให้เสียชีวิตได้หลังจากได้รับ
กระแสไฟฟ้าภายในหนึ่งวันหรือภายในสัปดาห์หรือหนึ่งเดือน
กรณีที่ 5 ในกรณีสุดท้าย การเสียชีวิตอาจเกิดขึ้นโดยการไม่รู้ถึงอาการของผู้ป่วย และ
ไม่รู้วิธีช่วยให้ผู้ป่วยกลับหายใจได้ทันท่วงทีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไม่ถูกวิธีอาจจะทาให้เป็น
อันตรายต่อชีวิต
กล้ามเนื้อแข็งตัว
ปอดเริ่มหยุดทางาน
หัวใจเต้นผิดปกติ
สมองทางานช้าเนื่องจากขาดก๊าซอ็อกซิเจน
ระบบหมุนเวียนโลหิตล้มเหลว
ผิวหนังได้รับความร้อนจนไหม้
ระบบหัวใจล้มเหลวจนเสียชีวิต
ภำพที่ 1.1 ผลลัพธ์จากกระแสไฟฟ้าที่ส่งผลกับร่างกายมนุษย์
บทที่ 1
ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
5
1.2.3 ปริมำณกระแสไฟฟ้ ำที่ส่งผลกระทบกับร่ำงกำยมนุษย์
เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านส่วนใดของร่างกาย จะส่งผลให้เกิดอาการเกร็งของ
กล้ามเนื้อไม่สามารถสะบัดให้หลุดจากจุดที่ถูกไฟฟ้าดูดส่งผลให้ปริมาณกระแสไฟฟ้าจานวน
มากจะไหลผ่านร่างกายเป็ นเวลานานขึ้นก่อให้เกิดอันตรายเมื่อปริมาณจานวนของ
กระแสไฟฟ้า จะแปรผันโดยตรงกับระยะเวลาที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมนุษย์อันเป็นผล
ให้เกิดปฏิกิริยาต่อร่างกายดังตารางที่ 1.1
ตำรำงที่ 1.1 แสดงความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้ากับเวลาและปฏิกิริยาของร่างกายมนุษย์
1.2.4 ข้อควรปฏิบัติพื้นฐำนสำหรับผู้ถูกกระแสไฟฟ้ ำผ่ำนร่ำงกำย
1. เวลาเกิดไฟฟ้ าลัดวงจรหรือมีผู้ประสบภัยอันตรายเนื่องจากเกิดกระแสไฟฟ้ า ก่อน
อื่นให้ตัดกระแสไฟฟ้าด้วยการยกสวิตช์ตัดตอน (Cut Out) ให้เปิดวงจรทันที
2. ช่วยผู้ประสบภัยอันตรายให้หลุดพ้นจากกระแสไฟฟ้า ห้ามแตะต้องร่างกายผู้ถูกไฟ
ดูดด้วยมือเปล่าหรือระวังอย่าให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายสัมผัสตัวผู้ประสบอันตราย
เพราะจะถูกไฟฟ้ าดูดได้เช่นกัน แต่ให้ใช้ผ้าหรือไม้ หรือเชือกแห้งหรือสายยางแห้ง ดึงผู้
ประสบอันตรายออก หรือเขี่ยสายไฟให้ออกห่างจากผู้ประสบอันตราย
3. เมื่อช่วยให้ผู้ประสบภัยอันตรายหลุดพ้นจากกระแสไฟฟ้าแล้วจากนั้นจะต้องทาการ
ปฐมพยาบาลให้ปอดและหัวใจทางาน ด้วยวิธีให้ลมหายใจทางปาก พร้อมการนวดหัวใจ
ปริมำณกระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำน
ร่ำงกำย มิลลิแอมแปร์ (mA)
ปฏิกิริยำร่ำงกำย
< 0.5 ไม่รู้สึกตัว
0.5-2 เริ่มรู้สึกตัวเล็กน้อย
2-10 กล้ามเนื้อหดตัว, กระตุกปานกลางถึงขั้นรุนแรง
5-25 เจ็บปวดกล้ามเนื้อ, เกร็งไม่สามารถหลุดออกมาได้
> 25 กล้ามเนื้อหดตัว, กระตุกรุนแรง
50-200 หัวใจเต้นผิดปกติ หากใช้เวลานานจะเสียชีวิต
> 100 หัวใจหยุดเต้น, เนื้อผิวหนังตามร่างกายไหม้
6 บทที่ 1
ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
1.3 กำรปฐมพยำบำลผู้ประสบอุบัติเหตุกระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนร่ำงกำย
เมื่อมีผู้ประสบอุบัติเหตุเกิดกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่างกายจนทาให้เกิดการสิ้นสติ
ผู้ประสบเหตุการณ์ดังกล่าวมีความจาเป็นต้องเรียนรู้วิธีปฏิบัติสาหรับการให้ความช่วยเหลือ
เมื่อพบผู้ประสบอุบัติเหตุ โดยสิ่งที่ต้องกระทาตามลาดับของความสาคัญมีดังนี้
1.3.1 ขั้นตอนตรวจสอบกำรเต้นของหัวใจ
ขั้นแรก ตรวจดูว่าผู้ป่ วยหายใจหรือไม่ในกรณีที่ผู้ป่ วยยังมีลมหายใจอยู่
จะต้องรีบตามแพทย์หรือนาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลที่ใกล้ที่สุด และให้
ผู้ป่วยอบอุ่นอยู่ตลอดเวลา พยายามให้เท้าผู้ป่วยอยู่สูงกว่าศีรษะ
1. คลาชีพจรที่ลาคอ 5-10 วินาที โดยวางนิ้วชี้และนิ้วกลางลงบนลูกกระเดือก
ผู้บาดเจ็บ แล้วเลื่อนนิ้วลงไปด้านข้างระหว่างร่องลูกกระเดือกกับกล้ามเนื้อคอ ส่วนมือ
อีกข้างดันหน้าผากให้หน้าแหงนตลอดเวลา เพื่อคลาชีพจรเส้นเลือดแดงใหญ่ที่ลาคอ เพื่อให้
แน่ใจว่าการหายใจยังปกติ ดังภาพที่ 1.2
ภำพที่ 1.2 การคลาหาจุดชีพจรเพื่อตรวจการหายใจของผู้ป่วย
2. ให้ผู้บาดเจ็บนอนหงายบริเวณที่โล่งและให้แหงนศีรษะพร้อมกับยกคาง
ของผู้บาดเจ็บขึ้นและใช้มือผู้ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บช้อนคอของผู้บาดเจ็บ ดังภาพที่ 1.3
ภำพที่ 1.3 การเปิดช่องทางเดินของระบบการหายใจของผู้บาดเจ็บ
บทที่ 1
ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
7
กรณีผู้ป่วยไม่หายใจทาให้สมองถูกทาลายทางการแพทย์ กล่าวว่าไม่มีออกซิเจนไป
หล่อเลี้ยงสมองนานกว่า 5 นาที โอกาสที่ผู้ป่วยเสียชีวิตมีมาก ดังนั้น การช่วยให้ผู้ป่วยหายใจ
โดยวิธีใช้ปากเป่าให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วยโดยตรงเป็นวิธีดีที่สุด เพราะเป็นวิธีที่ทุกคนปฏิบัติได้
ทันทีและง่าย ซึ่งเป็นวิธีการค้นคว้าของโรงพยาบาลจอห์น ฮอปกิ้น (John Hobkin Hospital)
พิสูจน์ว่าวิธีนี้ผู้ป่วยจะได้รับออกซิเจนมากที่สุด ในระหว่างที่ทาการช่วยให้ผู้ป่วยหายใจควร
ให้ผู้ป่วยอยู่ในที่อบอุ่นหรือห่มผ้าให้อุ่นเสมอและการให้ออกซิเจนทางปากจะต้องทาติดต่อกัน
จนกระทั่งผู้ป่วยหายใจ
1.3.2 ขั้นตอนปฐมพยำบำลผู้ป่ วยสิ้นสติโดยตรงทำงปำก
1. วางผู้ป่วยนอนหงายให้ศีรษะแหงนต่าลาคอยืดตรงและยกคางขึ้น
2. จับขากรรไกรล่างของผู้ป่วยให้ยกขึ้นจนปากของผู้ป่วยเปิด
3. ล้วงสิ่งต่าง ๆ ที่อาจติดค้างอยู่ในปากและลาคอออกให้หมด เพื่อมิให้
ขวางทางลมแล้วบีบจมูกคนเจ็บให้สนิทไม่ให้ลมออกได้
4. ใช้มือบนของผู้ปฐมพยาบาลผลักหน้าผากให้แหงนขึ้น ใช้มือล่างยกคาง
ส่วนที่เป็นกระดูกพร้อมเปิดทางเดินลมหายใจ ดังภาพที่ 1.4 และให้ทาบปากลงปิดปากคนเจ็บ
ให้สนิทแล้วเป่าลมเข้าเป็นจังหวะประมาณ 12-15 ครั้งต่อนาที ดังภาพที่ 1.5
ภำพที่ 1.4 การเปิดทางเดินลมหายใจ
ภำพที่ 1.5 การให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วยทางปาก
8 บทที่ 1
ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
5. ขณะเป่าลมเข้าปากของผู้ป่วยให้สังเกตดูหน้าอกของผู้ป่วยจะกระเพื่อมขึ้น
เมื่อเป่าลมเข้าไประยะแรกให้จังหวะเร็วในตอนต้น แล้วจึงช้าลงเหลือ 15 ครั้งต่อนาที และ
หากไม่กระเพื่อมขึ้นลงอาจเป็นเพราะท่านอนไม่ดีหรือมีสิ่งกีดขวางทางเดินหายใจ
6. ถ้าไม่สามารถอ้าปากของผู้ป่วยได้ให้ใช้มือปิดปากผู้ป่วยให้สนิท แล้วเป่า
ลมเข้าทางจมูกโดยใช้วิธีปฏิบัติทานองเดียวกับการเป่าปาก
1.3.3 ขั้นตอนกำรนวดหัวใจภำยนอก
1. วางผู้ป่วยนอนหงายให้ศีรษะแหงนและลาคอเหยียดตรง
2. ล้วงสิ่งของต่าง ๆ ที่อาจติดค้างอยู่ในปากและลาคอออกเพื่อไม่ให้
ขวางทางลม
3. นั่งคุกเข่าลงข้างลาตัวผู้ป่วยระหว่างแขนซ้ายกับลาตัวของผู้ป่วย วางมือทั้ง
สองซ้อนทับกันบนทรวงอกบริเวณหัวใจ เหยียดแขนตรง และใช้มือคลากระดูกชายโครง
เลื่อนมาถึงตรงกลางจะสัมผัสกระดูกลิ้นปี่ได้ ใช้นิ้วกลางและนิ้วชี้วางจากปลายกระดูกลิ้นปี่
ขึ้นมา ให้วางมือถัดจากนิ้วชี้ขึ้นมา ดังภาพที่ 1.6
ภำพที่ 1.6 การวางตาแหน่งมือของผู้ปฐมพยาบาล
4. ในกรณีผู้ป่วยเป็นผู้ใหญ่ให้นั่งคุกเข่าข้างลาตัวผู้ป่วยใช้มือคลากระดูกชาย
โครงเลื่อนถึงตรงกลางจะสัมผัสกระดูกลิ้นปี่ใช้นิ้วกลางและนิ้วชี้วางจากปลายกระดูกลิ้นปี่
ขึ้นมา ให้วางมือถัดจากนิ้วชี้ขึ้นมา จากนั้นใช้ส้นมือกดด้วยน้าหนักตัวให้หน้าอกยุบลง
ประมาณ 1 นิ้ว เป็นจังหวะ 60 ครั้งต่อนาที สาหรับเด็กใช้ส้นมือกดเพียงมือเดียว ถ้าเป็นเด็ก
ทารกใช้ปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนาง กดให้ลึกเล็กน้อย ดังภาพที่ 1.7
บทที่ 1
ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
9
ภำพที่ 1.7 ท่าในการกดของผู้ปฐมพยาบาล
5. ขณะนาส่งโรงพยาบาลให้นวดต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าหัวใจจะกลับมาทางาน
อีกครั้งหรือคนเจ็บได้รับการช่วยเหลือจากแพทย์
กรณีผู้ป่วยมีอาการทั้งปอดและหัวใจไม่ทางานสามารถให้ความช่วยเหลือได้ดังนี้
6. ถ้ามีผู้ทาการปฐมพยาบาลเพียงคนเดียว ให้ทาการปฐมพยาบาลทั้งสอง
อย่างโดยทาสลับกัน คือ ทาการเป่าปาก 2 ครั้ง ครั้งละประมาณ 4 วินาที แล้วนวดหัวใจ 15
ครั้ง ครั้งละประมาณ 1 วินาที
7. ถ้ามีผู้ทาการปฐมพยาบาล 2 คน ให้ปฏิบัติพร้อมกันตามจังหวะให้เป่า
ปาก 1 ครั้ง นวดหัวใจจานวน 5 ครั้ง จนกว่าปอดและหัวใจจะทางาน
1.4 กำรป้ องกันอันตรำยที่เกิดจำกเครื่องใช้ไฟฟ้ ำ
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ในชีวิตประจาวันสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่
1.4.1 อุปกรณ์ไฟฟ้ ำ
การเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ าควรได้รับมาตรฐาน เป็นที
ยอมรับตามสากลได้แก่ มอก. ย่อมาจากมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ ISO ย่อมา
จาก International Organization for Standardization จะเป็นสิ่งที่กาหนดความเชื่อมั่นของ
อุปกรณ์ดังกล่าวที่ไม่ส่งผลอันตรายกับผู้นาไปใช้งาน
1.4.2 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ เป็น ส่วนประกอบภายในของเครื่องใช้ไฟฟ้ าต่าง ๆ
จะต้องมีกระแสไฟฟ้ า และแรงเคลื่อนไฟฟ้ า พบว่า ส่วนมากใช้ระบบแรงเคลื่อนไฟฟ้ า
กระแสตรงจะเป็ นแรงเคลื่อนที่ถูกลดค่า และรูปแบบแรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่มาจาก
แรงเคลื่อนไฟฟ้ ากระแสสลับ ดังนั้น จึงต้องมีความระมัดระวังในการป้ องกันอันตรายไม่ให้
10 บทที่ 1
ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
เกิดกับ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้ าดังกล่าวได้แก่ ชุดเครื่องเสียงขนาดกาลังวัตต์
ต่าง ๆ ควรมีการติดตั้งระบบกราวนด์ลงกับดิน และเครื่องรับโทรทัศน์ต้องใช้แรงเคลื่อนไฟฟ้า
ที่มีค่าสูง สาหรับการผลักอิเล็กตรอนให้ยิงกวาดผ่านหน้าจอ ดังนั้น จึงไม่ควรแก้ไขเครื่องรับ
โทรทัศน์ ในกรณีที่ไม่เข้าใจการทางานของวงจรภายในโทรทัศน์
1.5 ข้อแนะนำทั่วไปเกี่ยวกับกำรใช้ไฟฟ้ ำ
ปัจจุบันไฟฟ้ าได้มีบทบาทเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของมนุษย์ จึงจาเป็นที่
จะต้องศึกษาหาความรู้ เพื่อให้ทราบถึงอันตรายของไฟฟ้ า และวิธีปฏิบัติให้ปลอดภัยจาก
อันตรายจากไฟฟ้า มีดังต่อไปนี้
1. เสาไฟฟ้ าบริเวณภายนอกอาคารตามถนนต่าง ๆ ที่มีลวดตัวนาต่อจากยอดเสาหรือ
จากหม้อแปลงไฟฟ้ าลงมาตามเสาไปยังดินจะต้องระวังไม่ให้มือหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของ
ร่างกายไปสัมผัสสายไฟ เพราะอาจจะเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ถ้าหากสายไฟที่ต่อไว้ เกิดการ
ชารุดหรือฉนวนสึกหรอ
2. รั้วหรือหลังคาที่เป็นโลหะสังกะสี อาจแตะกับสายไฟและมีกระแสไฟฟ้ าไหลอยู่
โดยไม่ทราบจึงควรระวังไม่ให้คมสังกะสีบาดหรือเสียดสีกับสายไฟ โดยใช้หลอด หรือ ท่อ
กระเบื้อง หรือท่อเอส-ล่อน (พี.วี.ซี.) ครอบสายไฟไว้ และควรระวังไม่ให้ตะปูที่ตอกตรึง
สังกะสีทะลุถูกสายไฟ
3. ห้องน้าเป็นสถานที่มีน้าเปียกชื้นอยู่เป็นประจา เมื่อร่างกายเปียกน้าย่อมมีโอกาสที่
จะได้รับอันตรายจากไฟฟ้ าได้ง่าย จึงไม่ควรติดตั้งสวิตช์ เต้าเสียบ หรือเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ไม่มี
การป้ องกันอย่างดีไว้ในห้องน้า ก่อนเปลี่ยนหลอดไฟควรยกสวิตช์เปิดวงจรก่อนเสมอ
4. การติดตั้งสายไฟและอุปกรณ์ไฟฟ้ า เพื่อประดับตู้เลี้ยงปลาหากใช้สายไฟและ
อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ไม่เหมาะสมหรือติดตั้งไม่ถูกต้องอาจส่งผลทาให้เกิดไฟรั่วที่ตู้เลี้ยงปลาได้
บริเวณตู้เลี้ยงปลาจะเปียกชื้น จึงทาให้โอกาสที่จะเกิดอันตรายมีมาก จึงไม่ควรที่จะติดตั้ง
สายไฟและอุปกรณ์ไฟฟ้ าไว้กับตู้เลี้ยงปลา แต่ถ้าจาเป็นจะต้องใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ า เช่น เครื่อง
สูบน้า เครื่องอัดอากาศ ควรจะต้องมีการต่อสายดินไว้

More Related Content

More from CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

More from CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740332794

  • 1. บทนำ ปัจจุบันที่ผ่านมาการดารงชีวิตของมนุษย์ล้วนต้องใช้ไฟฟ้ าเป็นแหล่งพลังงานป้ อน ให้แก่อุปกรณ์ต่าง ๆ ในงานด้าน คมนาคม อุปโภคบริโภค อุตสาหกรรม และ งานด้านอื่น ๆ อีกมากมายแต่การที่จะรู้จักประโยชน์จากไฟฟ้ าให้เกิดคุณประโยชน์สูงสุด และ เกิดโทษ มหันต์ให้น้อยที่สุดจะต้องมีความเข้าใจในเรื่องของไฟฟ้ าและวงจรไฟฟ้ าที่ใช้กันอยู่ทั้งในภาค ธุรกิจ อุตสาหกรรม หรือ แม้แต่ครัวเรือน ทั้งนี้ในแง่ของโทษที่เกิดจากการนาไฟฟ้ ามาใช้โดย ปราศจากความรู้ ความเข้าใจ ย่อมส่งผลให้เกิดโทษ ทั้งในเรื่องของชีวิต ทรัพย์สิน เงินทอง ดังนั้น หากทราบวิธีการและเข้าใจการใช้งานจากไฟฟ้าให้ถูกต้องนับว่าเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่ง ต่อการดาเนินชีวิตในปัจจุบัน 1.1 บริบทเกี่ยวกับไฟฟ้ ำ 1.1.1 นิยำมของไฟฟ้ ำ ไฟฟ้ าเป็นพลังงานชนิดหนึ่งที่เป็ นส่วนประกอบอยู่ในวัตถุธาตุทุกชนิด ประกอบด้วยอนุภาคเล็ก ๆ ที่เรียกว่า อะตอม (Atom)โดยธาตุแต่ละชนิดมีจานวนอะตอม ต่างกัน และในแต่ละอะตอมจะประกอบด้วยโปรตรอน (Proton) นิวตรอน (Neutron) และอิเล็กตรอน (Electron) สาหรับโปรตรอนและนิวตรอนจะมีสถานะอยู่นิ่งไม่เคลื่อนไหว แต่อิเล็กตรอนจะเคลื่อนไหว รอบโปรตรอนและนิวตรอน และยังสามารถเคลื่อนไหว จากอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่งด้วยการเคลื่อนไหวของอิเล็กตรอนจากอะตอมหนึ่งไปยัง อีกอะตอมหนึ่งที่อยู่ถัดไปคือสิ่งที่เรียกว่า ไฟฟ้าสถิต (Electrostatic) 1.1.2 ที่มำของไฟฟ้ ำ ไฟฟ้ าที่ใช้กันอยู่ทุกวันนี้กาเนิดมาจากแหล่งพลังงานได้หลายลักษณะได้แก่ ถ่านหินน้ามัน ก๊าซธรรมชาติ พลังงานน้า พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ และเซลล์ไฟฟ้ า (คือแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าที่ให้กาลังไฟฟ้ าด้วยปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์) โดยการนาเอาพลังงาน จากแหล่งต่าง ๆ ที่กล่าวมานาไปใช้ในการเดินเครื่องกาเนิดไฟฟ้ าเพื่อ ผลิตกระแสไฟฟ้ าส่ง ตามสายส่งไปยังผู้ใช้ไฟฟ้าต่อไป ภาคทฤษฎี บทที่ 1 ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
  • 2. 2 บทที่ 1 ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 1.1.3 อันตรำยกับร่ำงกำยที่เกิดจำกไฟฟ้ ำ ไฟฟ้าสามารถทาอันตรายแก่ร่างกายได้ ถ้าหากส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เข้าไปสัมผัสหรือแตะส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้ า เช่น สายไฟฟ้ าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ าที่มี กระแสไฟฟ้าไหลผ่านขณะนั้นอาจจะสัมผัสถูกสายไฟ 2 เส้น หรือเพียงเส้นเดียว หรือ อาจไป สัมผัสวัตถุ หรือ โลหะที่กระแสไฟฟ้ ารั่วไหลในขณะที่ร่างกายส่วนอื่นสัมผัสอยู่กับพื้นดิน หรือพื้นที่ชื้นแฉะ กระแสไฟฟ้ าจะสามารถไหลผ่านร่างกายลงสู่ดิน (Ground) และครบวงจร ทาให้เกิดอันตรายได้โดยมีองค์ประกอบพื้นฐานสาคัญ 3 อย่างที่จะทาให้กระแสไฟฟ้ า ทาอันตรายกับร่างกายได้ คือ 1. กระแสไฟฟ้า (Current) หมายถึง จานวนของปริมาณอิเล็กตรอนที่ไหลผ่านร่างกาย โดยขึ้นอยู่กับปริมาณอิเล็กตรอนที่ไหลผ่าน หากมีปริมาณน้อยจะเกิดอันตรายน้อย และหาก ปริมาณมากอันตรายจะเกิดขึ้นมากจนสามารถทาให้เสียชีวิตได้ 2. แรงเคลื่อนไฟฟ้า (Voltage) หมายถึง จานวนพลังงานที่แหล่งกาเนิดจะสามารถให้ ได้ต่อหน่วยประจุไฟฟ้ าโดยขึ้นอยู่กับปริมาณแรงเคลื่อนไฟฟ้ า หากมีปริมาณน้อย จะเกิดอันตรายน้อย และหากปริมาณมากอันตรายจะเกิดขึ้นมากจนสามารถทาให้เสียชีวิตได้ 3. ความต้านทาน (Resistance) หมายถึง ความต้านทานของร่างกายที่เกิดจากบริเวณ ผิวหนังแต่ละส่วนของร่างกายจะมีความต้านทานแตกต่างกัน พบว่าบริเวณที่มีค่า ความต้านทานต่า เช่นบริเวณผิวหนังที่มีความชื้นจะทาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ง่าย 1.1.4 ลักษณะกำรกระทำของไฟฟ้ ำที่เกิดกับมนุษย์ มนุษย์ทั่วไปมักจะประสบหรือถูกกระทาจากอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้ า โดยทั่วไปจะพบอยู่ 3 ลักษณะดังนี้ 1. เกิดจากการที่ค่ากระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่างกายมนุษย์ลงดินหรือครบวงจรกับดิน เรียกว่า ไฟดูด เช่น เอามือไปจับส่วนที่เป็นโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น ตู้เย็น เครื่องทาน้าอุ่น กระทะไฟฟ้า ที่มีกระแสไฟฟ้ารั่วไหลผ่านทางผิวหนังของร่างกายลงสู่ดินถึงเท้า 2. เกิดจากร่างกายของมนุษย์ไปต่อเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้าทาให้ กระแสไฟฟ้า ไหลผ่านครบวงจรในตัวโดยไม่จาเป็นต้องต่อลงดิน เช่น คนใช้มือสองข้างสัมผัสเข้ากับ สายไฟฟ้าเปลือย 2 เส้น
  • 3. บทที่ 1 ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 3 3. ได้รับอันตรายจากแสงและความร้อนอันเกิดจากไฟฟ้ าลัดวงจรที่เรียกว่า ไฟช๊อต ได้แก่ ผู้ที่ติดตั้งเสาอากาศโทรทัศน์ พบว่าหากไม่ระมัดระวังจะมีส่วนหนึ่งของโลหะเสาอากาศ โทรทัศน์ไปสัมผัสสายไฟฟ้าแรงสูงทาให้กระแสไฟฟ้าที่มีปริมาณมากไหลผ่านร่างกายลงดิน ส่งผลให้เกิดบาดแผลไฟไหม้รุนแรง และอาจเสียชีวิตได้หากได้รับการช่วยเหลือไม่ทันท่วงที หรือขั้นตอนการช่วยเหลือไม่ถูกต้อง 1.2 กำรป้ องกันอันตรำยจำกกระแสไฟฟ้ ำ 1.2.1 ควำมต้ำนทำนกระแสไฟฟ้ ำของร่ำงกำยมนุษย์ ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยเซลล์ต่าง ๆ มากมาย เซลล์เหล่านั้นทาหน้าที่ ต่างกัน โดยเฉพาะมนุษย์จะมีน้า (H2O) เป็นส่วนประกอบของร่างกายที่สาคัญ ดังนั้นร่างกาย มนุษย์จึงถือว่าเป็นตัวนาไฟฟ้ าชนิดหนึ่ง ที่ยอมให้กระแสไหลผ่านได้บ้าง ทั้งนี้ร่างกายของ มนุษย์ยังมีผิวหนังหุ้มภายนอก ซึ่งถือว่าเป็นความต้านทานชนิดหนึ่งได้ ผู้เชี่ยวชาญได้ทาการ วัดความต้านทานเฉลี่ยของร่างกายมนุษย์มีค่าประมาณ 90,000 โอห์ม/ตารางเซนติเมตร บางคนอาจจะมีความต้านทานได้สูงสุดประมาณ 500,000 โอห์ม/ตารางเซนติเมตร เมื่อผิวหนังมีเหงื่อหรือเปียกความต้านทานจะลดลงเหลือเพียง 5,000 โอห์ม/ตารางเซนติเมตร และ ถ้าหากสายไฟฟ้ าทะลุผิวหนังถึงเนื้อ ความต้านทานจะลดลงอีก 300โอห์ม/ตาราง เซนติเมตร เนื่องจากภายในเนื้อมนุษย์เต็มไปด้วยน้าและเส้นเลือดซึ่งเป็นสื่อไฟฟ้าอย่างดี 1.2.2 ผลลัพธ์จำกกระแสไฟฟ้ ำที่ส่งผลกับร่ำงกำยมนุษย์ มี 5 กรณี ตามภาพที่ 1.1 กรณีที่ 1 กล้ามเนื้อจะแข็งตัว ทาให้ปอดหยุดทางาน และร่างกายขาดออกซิเจน กรณีที่ 2 เมื่อกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านหัวใจจะทาให้หัวใจเต้นรัว อ่อน ผิดจังหวะ และ จะหยุดทางาน ทาให้การสูบฉีดโลหิตชะงัก แต่ในกรณีนี้ หัวใจอาจจะกลับทางานใหม่ได้ ภายใน 2-3 นาที เมื่อมีการปฐมพยาบาลผู้ป่วยทันเวลา กรณีที่ 3 เส้นประสาทชะงัก ส่งผลให้ส่วนหนึ่งของสมอง ควบคุมการหายใจจะ หยุดสั่งการ และ สมองส่วนนี้จะไม่สามารถอยู่ได้นาน เมื่อขาดเลือดจะต้องอาศัยออกซิเจน ไปหล่อเลี้ยงสมอง และ อาจจะพิการได้ ถ้าหากไม่ได้รับปริมาณออกซิเจนภายใน 5 นาที หลังจากหยุดหายใจ
  • 4. 4 บทที่ 1 ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ กรณีที่ 4 ความร้อนจะเริ่มเกิดขึ้นตามอวัยวะต่าง ๆ ในร่างกาย เนื่องจากได้รับ กระแสไฟฟ้าอาจทาลายเซลล์หรือเยื่อหุ้มภายในร่างกาย ส่งผลทาให้เสียชีวิตได้หลังจากได้รับ กระแสไฟฟ้าภายในหนึ่งวันหรือภายในสัปดาห์หรือหนึ่งเดือน กรณีที่ 5 ในกรณีสุดท้าย การเสียชีวิตอาจเกิดขึ้นโดยการไม่รู้ถึงอาการของผู้ป่วย และ ไม่รู้วิธีช่วยให้ผู้ป่วยกลับหายใจได้ทันท่วงทีการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไม่ถูกวิธีอาจจะทาให้เป็น อันตรายต่อชีวิต กล้ามเนื้อแข็งตัว ปอดเริ่มหยุดทางาน หัวใจเต้นผิดปกติ สมองทางานช้าเนื่องจากขาดก๊าซอ็อกซิเจน ระบบหมุนเวียนโลหิตล้มเหลว ผิวหนังได้รับความร้อนจนไหม้ ระบบหัวใจล้มเหลวจนเสียชีวิต ภำพที่ 1.1 ผลลัพธ์จากกระแสไฟฟ้าที่ส่งผลกับร่างกายมนุษย์
  • 5. บทที่ 1 ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 5 1.2.3 ปริมำณกระแสไฟฟ้ ำที่ส่งผลกระทบกับร่ำงกำยมนุษย์ เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านส่วนใดของร่างกาย จะส่งผลให้เกิดอาการเกร็งของ กล้ามเนื้อไม่สามารถสะบัดให้หลุดจากจุดที่ถูกไฟฟ้าดูดส่งผลให้ปริมาณกระแสไฟฟ้าจานวน มากจะไหลผ่านร่างกายเป็ นเวลานานขึ้นก่อให้เกิดอันตรายเมื่อปริมาณจานวนของ กระแสไฟฟ้า จะแปรผันโดยตรงกับระยะเวลาที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมนุษย์อันเป็นผล ให้เกิดปฏิกิริยาต่อร่างกายดังตารางที่ 1.1 ตำรำงที่ 1.1 แสดงความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้ากับเวลาและปฏิกิริยาของร่างกายมนุษย์ 1.2.4 ข้อควรปฏิบัติพื้นฐำนสำหรับผู้ถูกกระแสไฟฟ้ ำผ่ำนร่ำงกำย 1. เวลาเกิดไฟฟ้ าลัดวงจรหรือมีผู้ประสบภัยอันตรายเนื่องจากเกิดกระแสไฟฟ้ า ก่อน อื่นให้ตัดกระแสไฟฟ้าด้วยการยกสวิตช์ตัดตอน (Cut Out) ให้เปิดวงจรทันที 2. ช่วยผู้ประสบภัยอันตรายให้หลุดพ้นจากกระแสไฟฟ้า ห้ามแตะต้องร่างกายผู้ถูกไฟ ดูดด้วยมือเปล่าหรือระวังอย่าให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายสัมผัสตัวผู้ประสบอันตราย เพราะจะถูกไฟฟ้ าดูดได้เช่นกัน แต่ให้ใช้ผ้าหรือไม้ หรือเชือกแห้งหรือสายยางแห้ง ดึงผู้ ประสบอันตรายออก หรือเขี่ยสายไฟให้ออกห่างจากผู้ประสบอันตราย 3. เมื่อช่วยให้ผู้ประสบภัยอันตรายหลุดพ้นจากกระแสไฟฟ้าแล้วจากนั้นจะต้องทาการ ปฐมพยาบาลให้ปอดและหัวใจทางาน ด้วยวิธีให้ลมหายใจทางปาก พร้อมการนวดหัวใจ ปริมำณกระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำน ร่ำงกำย มิลลิแอมแปร์ (mA) ปฏิกิริยำร่ำงกำย < 0.5 ไม่รู้สึกตัว 0.5-2 เริ่มรู้สึกตัวเล็กน้อย 2-10 กล้ามเนื้อหดตัว, กระตุกปานกลางถึงขั้นรุนแรง 5-25 เจ็บปวดกล้ามเนื้อ, เกร็งไม่สามารถหลุดออกมาได้ > 25 กล้ามเนื้อหดตัว, กระตุกรุนแรง 50-200 หัวใจเต้นผิดปกติ หากใช้เวลานานจะเสียชีวิต > 100 หัวใจหยุดเต้น, เนื้อผิวหนังตามร่างกายไหม้
  • 6. 6 บทที่ 1 ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 1.3 กำรปฐมพยำบำลผู้ประสบอุบัติเหตุกระแสไฟฟ้ ำไหลผ่ำนร่ำงกำย เมื่อมีผู้ประสบอุบัติเหตุเกิดกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านร่างกายจนทาให้เกิดการสิ้นสติ ผู้ประสบเหตุการณ์ดังกล่าวมีความจาเป็นต้องเรียนรู้วิธีปฏิบัติสาหรับการให้ความช่วยเหลือ เมื่อพบผู้ประสบอุบัติเหตุ โดยสิ่งที่ต้องกระทาตามลาดับของความสาคัญมีดังนี้ 1.3.1 ขั้นตอนตรวจสอบกำรเต้นของหัวใจ ขั้นแรก ตรวจดูว่าผู้ป่ วยหายใจหรือไม่ในกรณีที่ผู้ป่ วยยังมีลมหายใจอยู่ จะต้องรีบตามแพทย์หรือนาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล หรือสถานพยาบาลที่ใกล้ที่สุด และให้ ผู้ป่วยอบอุ่นอยู่ตลอดเวลา พยายามให้เท้าผู้ป่วยอยู่สูงกว่าศีรษะ 1. คลาชีพจรที่ลาคอ 5-10 วินาที โดยวางนิ้วชี้และนิ้วกลางลงบนลูกกระเดือก ผู้บาดเจ็บ แล้วเลื่อนนิ้วลงไปด้านข้างระหว่างร่องลูกกระเดือกกับกล้ามเนื้อคอ ส่วนมือ อีกข้างดันหน้าผากให้หน้าแหงนตลอดเวลา เพื่อคลาชีพจรเส้นเลือดแดงใหญ่ที่ลาคอ เพื่อให้ แน่ใจว่าการหายใจยังปกติ ดังภาพที่ 1.2 ภำพที่ 1.2 การคลาหาจุดชีพจรเพื่อตรวจการหายใจของผู้ป่วย 2. ให้ผู้บาดเจ็บนอนหงายบริเวณที่โล่งและให้แหงนศีรษะพร้อมกับยกคาง ของผู้บาดเจ็บขึ้นและใช้มือผู้ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บช้อนคอของผู้บาดเจ็บ ดังภาพที่ 1.3 ภำพที่ 1.3 การเปิดช่องทางเดินของระบบการหายใจของผู้บาดเจ็บ
  • 7. บทที่ 1 ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 7 กรณีผู้ป่วยไม่หายใจทาให้สมองถูกทาลายทางการแพทย์ กล่าวว่าไม่มีออกซิเจนไป หล่อเลี้ยงสมองนานกว่า 5 นาที โอกาสที่ผู้ป่วยเสียชีวิตมีมาก ดังนั้น การช่วยให้ผู้ป่วยหายใจ โดยวิธีใช้ปากเป่าให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วยโดยตรงเป็นวิธีดีที่สุด เพราะเป็นวิธีที่ทุกคนปฏิบัติได้ ทันทีและง่าย ซึ่งเป็นวิธีการค้นคว้าของโรงพยาบาลจอห์น ฮอปกิ้น (John Hobkin Hospital) พิสูจน์ว่าวิธีนี้ผู้ป่วยจะได้รับออกซิเจนมากที่สุด ในระหว่างที่ทาการช่วยให้ผู้ป่วยหายใจควร ให้ผู้ป่วยอยู่ในที่อบอุ่นหรือห่มผ้าให้อุ่นเสมอและการให้ออกซิเจนทางปากจะต้องทาติดต่อกัน จนกระทั่งผู้ป่วยหายใจ 1.3.2 ขั้นตอนปฐมพยำบำลผู้ป่ วยสิ้นสติโดยตรงทำงปำก 1. วางผู้ป่วยนอนหงายให้ศีรษะแหงนต่าลาคอยืดตรงและยกคางขึ้น 2. จับขากรรไกรล่างของผู้ป่วยให้ยกขึ้นจนปากของผู้ป่วยเปิด 3. ล้วงสิ่งต่าง ๆ ที่อาจติดค้างอยู่ในปากและลาคอออกให้หมด เพื่อมิให้ ขวางทางลมแล้วบีบจมูกคนเจ็บให้สนิทไม่ให้ลมออกได้ 4. ใช้มือบนของผู้ปฐมพยาบาลผลักหน้าผากให้แหงนขึ้น ใช้มือล่างยกคาง ส่วนที่เป็นกระดูกพร้อมเปิดทางเดินลมหายใจ ดังภาพที่ 1.4 และให้ทาบปากลงปิดปากคนเจ็บ ให้สนิทแล้วเป่าลมเข้าเป็นจังหวะประมาณ 12-15 ครั้งต่อนาที ดังภาพที่ 1.5 ภำพที่ 1.4 การเปิดทางเดินลมหายใจ ภำพที่ 1.5 การให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วยทางปาก
  • 8. 8 บทที่ 1 ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 5. ขณะเป่าลมเข้าปากของผู้ป่วยให้สังเกตดูหน้าอกของผู้ป่วยจะกระเพื่อมขึ้น เมื่อเป่าลมเข้าไประยะแรกให้จังหวะเร็วในตอนต้น แล้วจึงช้าลงเหลือ 15 ครั้งต่อนาที และ หากไม่กระเพื่อมขึ้นลงอาจเป็นเพราะท่านอนไม่ดีหรือมีสิ่งกีดขวางทางเดินหายใจ 6. ถ้าไม่สามารถอ้าปากของผู้ป่วยได้ให้ใช้มือปิดปากผู้ป่วยให้สนิท แล้วเป่า ลมเข้าทางจมูกโดยใช้วิธีปฏิบัติทานองเดียวกับการเป่าปาก 1.3.3 ขั้นตอนกำรนวดหัวใจภำยนอก 1. วางผู้ป่วยนอนหงายให้ศีรษะแหงนและลาคอเหยียดตรง 2. ล้วงสิ่งของต่าง ๆ ที่อาจติดค้างอยู่ในปากและลาคอออกเพื่อไม่ให้ ขวางทางลม 3. นั่งคุกเข่าลงข้างลาตัวผู้ป่วยระหว่างแขนซ้ายกับลาตัวของผู้ป่วย วางมือทั้ง สองซ้อนทับกันบนทรวงอกบริเวณหัวใจ เหยียดแขนตรง และใช้มือคลากระดูกชายโครง เลื่อนมาถึงตรงกลางจะสัมผัสกระดูกลิ้นปี่ได้ ใช้นิ้วกลางและนิ้วชี้วางจากปลายกระดูกลิ้นปี่ ขึ้นมา ให้วางมือถัดจากนิ้วชี้ขึ้นมา ดังภาพที่ 1.6 ภำพที่ 1.6 การวางตาแหน่งมือของผู้ปฐมพยาบาล 4. ในกรณีผู้ป่วยเป็นผู้ใหญ่ให้นั่งคุกเข่าข้างลาตัวผู้ป่วยใช้มือคลากระดูกชาย โครงเลื่อนถึงตรงกลางจะสัมผัสกระดูกลิ้นปี่ใช้นิ้วกลางและนิ้วชี้วางจากปลายกระดูกลิ้นปี่ ขึ้นมา ให้วางมือถัดจากนิ้วชี้ขึ้นมา จากนั้นใช้ส้นมือกดด้วยน้าหนักตัวให้หน้าอกยุบลง ประมาณ 1 นิ้ว เป็นจังหวะ 60 ครั้งต่อนาที สาหรับเด็กใช้ส้นมือกดเพียงมือเดียว ถ้าเป็นเด็ก ทารกใช้ปลายนิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนาง กดให้ลึกเล็กน้อย ดังภาพที่ 1.7
  • 9. บทที่ 1 ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 9 ภำพที่ 1.7 ท่าในการกดของผู้ปฐมพยาบาล 5. ขณะนาส่งโรงพยาบาลให้นวดต่อไปเรื่อย ๆ จนกว่าหัวใจจะกลับมาทางาน อีกครั้งหรือคนเจ็บได้รับการช่วยเหลือจากแพทย์ กรณีผู้ป่วยมีอาการทั้งปอดและหัวใจไม่ทางานสามารถให้ความช่วยเหลือได้ดังนี้ 6. ถ้ามีผู้ทาการปฐมพยาบาลเพียงคนเดียว ให้ทาการปฐมพยาบาลทั้งสอง อย่างโดยทาสลับกัน คือ ทาการเป่าปาก 2 ครั้ง ครั้งละประมาณ 4 วินาที แล้วนวดหัวใจ 15 ครั้ง ครั้งละประมาณ 1 วินาที 7. ถ้ามีผู้ทาการปฐมพยาบาล 2 คน ให้ปฏิบัติพร้อมกันตามจังหวะให้เป่า ปาก 1 ครั้ง นวดหัวใจจานวน 5 ครั้ง จนกว่าปอดและหัวใจจะทางาน 1.4 กำรป้ องกันอันตรำยที่เกิดจำกเครื่องใช้ไฟฟ้ ำ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ในชีวิตประจาวันสามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1.4.1 อุปกรณ์ไฟฟ้ ำ การเลือกใช้วัสดุและอุปกรณ์ที่เกี่ยวกับระบบไฟฟ้ าควรได้รับมาตรฐาน เป็นที ยอมรับตามสากลได้แก่ มอก. ย่อมาจากมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หรือ ISO ย่อมา จาก International Organization for Standardization จะเป็นสิ่งที่กาหนดความเชื่อมั่นของ อุปกรณ์ดังกล่าวที่ไม่ส่งผลอันตรายกับผู้นาไปใช้งาน 1.4.2 อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ เป็น ส่วนประกอบภายในของเครื่องใช้ไฟฟ้ าต่าง ๆ จะต้องมีกระแสไฟฟ้ า และแรงเคลื่อนไฟฟ้ า พบว่า ส่วนมากใช้ระบบแรงเคลื่อนไฟฟ้ า กระแสตรงจะเป็ นแรงเคลื่อนที่ถูกลดค่า และรูปแบบแรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่มาจาก แรงเคลื่อนไฟฟ้ ากระแสสลับ ดังนั้น จึงต้องมีความระมัดระวังในการป้ องกันอันตรายไม่ให้
  • 10. 10 บทที่ 1 ความปลอดภัยเกี่ยวกับงานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เกิดกับ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องใช้ไฟฟ้ าดังกล่าวได้แก่ ชุดเครื่องเสียงขนาดกาลังวัตต์ ต่าง ๆ ควรมีการติดตั้งระบบกราวนด์ลงกับดิน และเครื่องรับโทรทัศน์ต้องใช้แรงเคลื่อนไฟฟ้า ที่มีค่าสูง สาหรับการผลักอิเล็กตรอนให้ยิงกวาดผ่านหน้าจอ ดังนั้น จึงไม่ควรแก้ไขเครื่องรับ โทรทัศน์ ในกรณีที่ไม่เข้าใจการทางานของวงจรภายในโทรทัศน์ 1.5 ข้อแนะนำทั่วไปเกี่ยวกับกำรใช้ไฟฟ้ ำ ปัจจุบันไฟฟ้ าได้มีบทบาทเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันของมนุษย์ จึงจาเป็นที่ จะต้องศึกษาหาความรู้ เพื่อให้ทราบถึงอันตรายของไฟฟ้ า และวิธีปฏิบัติให้ปลอดภัยจาก อันตรายจากไฟฟ้า มีดังต่อไปนี้ 1. เสาไฟฟ้ าบริเวณภายนอกอาคารตามถนนต่าง ๆ ที่มีลวดตัวนาต่อจากยอดเสาหรือ จากหม้อแปลงไฟฟ้ าลงมาตามเสาไปยังดินจะต้องระวังไม่ให้มือหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของ ร่างกายไปสัมผัสสายไฟ เพราะอาจจะเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ ถ้าหากสายไฟที่ต่อไว้ เกิดการ ชารุดหรือฉนวนสึกหรอ 2. รั้วหรือหลังคาที่เป็นโลหะสังกะสี อาจแตะกับสายไฟและมีกระแสไฟฟ้ าไหลอยู่ โดยไม่ทราบจึงควรระวังไม่ให้คมสังกะสีบาดหรือเสียดสีกับสายไฟ โดยใช้หลอด หรือ ท่อ กระเบื้อง หรือท่อเอส-ล่อน (พี.วี.ซี.) ครอบสายไฟไว้ และควรระวังไม่ให้ตะปูที่ตอกตรึง สังกะสีทะลุถูกสายไฟ 3. ห้องน้าเป็นสถานที่มีน้าเปียกชื้นอยู่เป็นประจา เมื่อร่างกายเปียกน้าย่อมมีโอกาสที่ จะได้รับอันตรายจากไฟฟ้ าได้ง่าย จึงไม่ควรติดตั้งสวิตช์ เต้าเสียบ หรือเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ไม่มี การป้ องกันอย่างดีไว้ในห้องน้า ก่อนเปลี่ยนหลอดไฟควรยกสวิตช์เปิดวงจรก่อนเสมอ 4. การติดตั้งสายไฟและอุปกรณ์ไฟฟ้ า เพื่อประดับตู้เลี้ยงปลาหากใช้สายไฟและ อุปกรณ์ไฟฟ้ าที่ไม่เหมาะสมหรือติดตั้งไม่ถูกต้องอาจส่งผลทาให้เกิดไฟรั่วที่ตู้เลี้ยงปลาได้ บริเวณตู้เลี้ยงปลาจะเปียกชื้น จึงทาให้โอกาสที่จะเกิดอันตรายมีมาก จึงไม่ควรที่จะติดตั้ง สายไฟและอุปกรณ์ไฟฟ้ าไว้กับตู้เลี้ยงปลา แต่ถ้าจาเป็นจะต้องใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ า เช่น เครื่อง สูบน้า เครื่องอัดอากาศ ควรจะต้องมีการต่อสายดินไว้