SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
กิจการประเภทแฟรนไซส์
&
รัฐวิสาหกิจ
แฟรนไชส์ (อังกฤษ: franchise) เป็นชื่อเรียกการทา
ธุรกิจโดยมีการให้สิทธิและส่วนการครอบครองการบริหารจัดการและ
การจัดจาหน่ายทั้งหมดในมือของผู้ที่ได้รับกรรมสิทธิ์โดยชอบธรรม
โดยเริ่มมาจากบริษัท ทารางรถไฟ และบริษัทสาธารณูปโภค ที่
พยายามขยายการเติบโตของบริษัทให้มากที่สุด โดยการออกขาย
สิทธิ์ที่ได้รับสัมปทาน รวมทั้งขายชื่อของกิจการ รวมทั้งระบบการ
ทางานของตัวเองให้ผู้อื่นโดยทาให้มีแบบแผนในการจัดการไปใน
ทิศทางเดียวกัน ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งในการขยายตลาดและช่องทาง
การจัดจาหน่ายของธุรกิจผ่านผู้ประกอบการอิสระโดยบริษัทจะให้
สิทธิเครื่องหมายการค้าและวิธีการในการทาธุรกิจที่จะถ่ายทอดให้ใน
รูปแบบของการทางานทั้งหมด เช่น ระบบการผลิต ระบบการขาย
ระบบการบริหารการตลาด เพื่อที่จะให้รูปแบบวิธีดาเนินธุรกิจในทุกๆ
สาขาให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกันตามต้นแบบของบริษัท
ประเภทของแฟนไชส์
แฟรนไชส์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ
1. Product or Brand Franchise เป็นระบบแฟรนไชส์ที่ให้
สิทธิ เพื่อจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของแฟรนไชส์ซอร์ รวมถึงการให้สิทธิในการใช้
เครื่องหมายการค้าของผู้ผลิตด้วย
2. Business Format Franchise เป็นระบบแฟรนไชส์ที่ให้
สิทธิ เพื่อจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของแฟรนไชส์ซอร์ รวมถึงการให้สิทธิในการใช้
เครื่องหมายการค้าของผู้ผลิต เพื่อขายสินค้าหรือบริการ โดยมีการถ่ายทอดวิธีการ
ดาเนินธุรกิจแบบร้านมาตรฐาน
3. Conversion Franchise เป็นระบบแฟรนไชส์ที่ให้สิทธิเพื่อจัด
จาหน่ายผลิตภัณฑ์ของแฟรนไชส์ซอร์ รวมถึงการให้สิทธิในการใช้เครื่องหมายการค้า
ของผู้ผลิต โดยผู้ผลิตได้เปลี่ยนธุรกิจที่มีอยู่เดิม ให้เปลี่ยนมาใช้ในรูปแบบใหม่
ระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย
ธุรกิจแฟรนไชส์ในประเทศไทยที่มีการริเริ่มมากกว่า 20 ปี เริ่มตั้งแต่
ปีพ.ศ. 2526 ธุรกิจแรกๆ ที่พยายามผลักดันการขยายงานโดยใช้รูปแบบแฟรน
ไชส์ เป็นธุรกิจด้านอาหารและร้านค้าแบบมินิมาร์ท แต่ส่วนใหญ่จะมีปัญหา
ในเรื่องความเข้าใจที่ถูกต้องของสิทธิ ที่มักให้แฟรนไชส์เป็นผู้ลงทุน ที่เน้นทา
ธุรกิจแบบซื้อเพื่อการลงทุน ไม่มีการมองถึงการสร้างธุรกิจของตนเอง บางครั้ง
ยังใช้การบริหารแบบเก่าที่เน้นความเป็นระบบครอบครัวทาให้อัตราความ
ล้มเหลวธุรกิจแฟรนไชส์ของไทยในภาพรวมเพิ่มขึ้น[ต้องการอ้างอิง] บางครั้ง
การลงทุนของแฟรนไชส์ซีที่ประสบปัญหาเกิดจากการจัดการของตนเองบ้าง
หรือก็เกิดจากระบบงานของบริษัทแม่ที่เน้นการขยายธุรกิจที่มุ่งผลทาง
การตลาด อ้างอิงจาก ThaiFranchiseCenter.com
ธุรกิจแฟรนไชส์จะต้องประกอบด้วยปัจจัยหลัก 3 ประการคือ
- มีผู้ซื้อและผู้ขายแฟรนไชส์ เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ฝ่าย ก็คือแฟรน
ไชส์ซอร์ และแฟรนไชส์ซี ซึ่งมีการตกลงร่วมในการทาธุรกิจร่วมกันทั้งมีสัญญาและ
ไม่มีสัญญา แต่ในอนาคตรูปแบบข้อตกลงจะปรับรูปสู่ระบบการสร้างสัญญาทั้งหมด
เพื่อให้ทั้งระบบแฟรนไชส์ในตลาดจะต้องถูกระบบ เพราะไม่เช่นนั้นแฟรนไชส์ซีที่ไม่ดี
จะทาลายระบบด้วย
- เครื่องหมายการค้า หรือบริการ มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีรูปแบบ ระบบ
ธุรกิจ และใช้เครื่องหมายการค้าเดียวกัน ระบบการจัดการธุรกิจอาจจะเป็นเครื่องมือ
หรือสูตรที่คิดค้นขึ้นมาเอง ในการผลิตสินค้า หรือบริการ โดยมีมาตรฐานที่อยู่ในตรา
สินค้า Brand เดียวกัน
- มีการจ่ายค่าตอบแทนอย่างน้อย 2 อย่าง คือ ค่าแรกเข้าในการใช้
เครื่องหมายการค้า (Franchise Fee) และค่าตอบแทนผลดาเนินการ
(Royalty Fee)
สถิติธุรกิจแฟรนไชส์ในไทย
สถิติธุรกิจแฟรนไชส์ในไทย
- จานวนธุรกิจแฟรนไชส์ในประเทศไทยนั้น มีความเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา แน่นอนว่าธุรกิจแฟรนไชส์ ก็เหมือนธุรกิจ SMEs อื่นๆในเรื่องของ การล้ม
หายตายจาก ไปจากระบบนั้น ยอมรับว่ายังคงมีอยู่ สิ่งสาคัญคือ ธุรกิจแฟรนไชส์ในบ้าน
เรานั้น เหลือที่ทาการตลาดอย่างแท้จริง อยู่กี่กิจการ และขยายสาขาไปได้มากน้อยแค่
ไหน
- ข้อมูลเหล่านี้มีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับนักวิชาการ, นักวิจัย
รวมถึงผู้สนใจในธุรกิจแฟรนไชส์โดยทั่วไป เพื่อให้มองเห็นภาพรวม ความเป็นไป และ
แนวโน้มการเจริญเติบโตของธุรกิจแฟรนไชส์ ในประเทศไทย เพื่อเป็นดัชนีชี้วัด และ
เตรียมความพร้อมรับมือกับนานาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) อ้างอิงจาก
ThaiFranchiseCenter.com
รัฐวิสาหกิจ (อังกฤษ: state enterprise,
state-owned enterprise, หรือ government
enterprise) เป็นวิสาหกิจธุรกิจ (business
enterprise) ที่รัฐมีอานาจควบคุมอย่างมีนัยสาคัญ ด้วยวิธี
เป็นเจ้าของอย่างเต็มรูปแบบ โดยส่วนมาก หรือโดยส่วนน้อยแต่
ในระดับสาคัญ[1] การกาหนดลักษณะของรัฐวิสาหกิจนั้น
แตกต่างกันไปตามรูปแบบทางกฎหมายและการดาเนินงาน
รัฐวิสาหกิจอาจมีวัตถุประสงค์เป็นนโยบายสาธารณะได้ เช่น
บริษัทรถไฟของรัฐ แต่รัฐวิสาหกิจแตกต่างจากหน่วยงาน
ราชการหรือหน่วยงานของรัฐที่มีวัตถุประสงค์หลักเป็นการ
ดาเนินงานเพื่อสาธารณะ
รัฐวิสาหกิจ (State Enterprise) คือ องค์การ หรือ
บริษัท หรือหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่
รัฐวิสาหกิจเป็นหน่วยงานที่ดาเนินกิจการเพื่อแสวงหาผล
กาไร เช่นเดียวกับองค์กรธุรกิจเอกชน บางรัฐวิสาหกิจก็เป็น
ธุรกิจผูกขาด ซึ่งหมายถึงรัฐดาเนินการได้แต่เพียผู้เดียว
ห้ามเอกชนดาเนินการ เช่น สลากกินแบ่ง เป็นต้น
จุดมุ่งหมายของการจัดตั้งรัฐวิสาหกิจนั้น นอกเหนือจากผล
กาไรแล้ว บางรัฐวิสาหกิจถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นระบบ
สาธารณูปโภคให้กับประชาชน เพื่อความมั่นคงด้าน
พลังงาน หรือบางครั้งเพราะไม่มีเอกชนที่มีความสามารถ
พอที่จะดาเนินกิจการประเภทนั้น ๆ
รัฐวิสาหกิจไทย มีหลักการในการจัดตั้ง 7 ประการ คือ
- เพื่อเป็นเครื่องมือในการดาเนินธุรกิจแทนรัฐ
- เพื่อเป็นตัวอย่างแก่เอกชนในการดาเนินธุรกิจ
- เพื่อความมั่นคงของประเทศ เช่น กิจการที่เป็น
สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ไฟฟ้า น้าประปา รวมถึงยุทธ
ปัจจัยในการสงคราม อาทิ องค์การแบตเตอรี่ องค์การแก้ว
องค์การฟอกหนัง องค์การเชื้อเพลิง
- เพื่อส่งเสริมสังคมและวัฒนธรรม
- เพื่อจัดทาบริการสาธารณะ
- เพื่อประโยชน์ในด้านการคลังและเสริมรายได้ให้แก่รัฐ
- เพื่อควบคุมสินค้าอันตราย
ปัจจุบันมีรัฐวิสาหกิจดาเนินกิจการอยู่ทั้งหมด 56 แห่ง ดังรายชื่อต่อไปนี้
1. การเคหะแห่งชาติ
2. การไฟฟ้านครหลวง
3. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
4. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
5. การกีฬาแห่งประเทศไทย
6. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
7. การท่าเรือแห่งประเทศไทย
8. การทางพิเศษแห่งประเทศไทย
9. การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
10. การประปานครหลวง
11. การประปาส่วนภูมิภาค
12. การยางแห่งประเทศไทย
13. การรถไฟแห่งประเทศไทย
14. การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย
15. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
การเกษตร
16. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่ง
ประเทศไทย
17. ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน)
18. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดย่อมแห่งประเทศไทย
19. ธนาคารออมสิน
20. ธนาคารอาคารสงเคราะห์
21. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย
22. บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย
23. บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาด
ย่อม
24. บริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด
25. บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน)
26. บริษัท การบินไทย จากัด (มหาชน)
27. บริษัท ขนส่ง จากัด
28. บริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน)
29. บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน)
30. บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จากัด
31. บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน)
32. บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จากัด
33. บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด
34. บริษัท สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว
จากัด
35. บริษัท อสมท จากัด (มหาชน)
36. บริษัท อู่กรุงเทพ จากัด
37. โรงงานไพ่
37. โรงงานไพ่
38. โรงงานยาสูบ
39. โรงพิมพ์ตารวจ
40. สถาบันการบินพลเรือน
41. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งประเทศไทย
42. สานักงานธนานุเคราะห์
43. สานักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล
44. องค์การเภสัชกรรม
45. องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ
46. องค์การคลังสินค้า
47. องค์การจัดการน้าเสีย
48. องค์การตลาด
49. องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร
50. องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
51. องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศ
ไทย
52. องค์การสวนพฤกษศาสตร์
53. องค์การสวนสัตว์
54 องค์การสะพานปลา
55. องค์การสุรา
56. องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
นายอเล็กซานเดอร์ เสนทาวงศ์ เลขที่ 9
นางสาวสุพรรษา จิ๋วแบน เลขที่ 13
นางสาวอรสา นามราชา เลขที่ 15
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/1
โรงเรียนหนองกองิทยาคม

More Related Content

Similar to Num mus

ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจthnaporn999
 
Hand book / Guide book "Sme's basic Knowlage How2Mange wit Tax&Vat" by kosit ...
Hand book / Guide book "Sme's basic Knowlage How2Mange wit Tax&Vat" by kosit ...Hand book / Guide book "Sme's basic Knowlage How2Mange wit Tax&Vat" by kosit ...
Hand book / Guide book "Sme's basic Knowlage How2Mange wit Tax&Vat" by kosit ...Kozit karnchom
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจNetsai Tnz
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2 Pa'rig Prig
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2thnaporn999
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2thnaporn999
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexPeerasak C.
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานthnaporn999
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังNattakorn Sunkdon
 
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจการวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจguest530b
 

Similar to Num mus (14)

ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจ
 
Hand book / Guide book "Sme's basic Knowlage How2Mange wit Tax&Vat" by kosit ...
Hand book / Guide book "Sme's basic Knowlage How2Mange wit Tax&Vat" by kosit ...Hand book / Guide book "Sme's basic Knowlage How2Mange wit Tax&Vat" by kosit ...
Hand book / Guide book "Sme's basic Knowlage How2Mange wit Tax&Vat" by kosit ...
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2หน่วยธุรกิจ2
หน่วยธุรกิจ2
 
7 eleven
7 eleven7 eleven
7 eleven
 
Organization Theory
Organization TheoryOrganization Theory
Organization Theory
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนังตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
ตัวอย่างแผนธุรกิจการส่งออกเครื่องหนัง
 
01 businessfinance v1
01 businessfinance v101 businessfinance v1
01 businessfinance v1
 
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจการวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
 

Num mus

  • 2.
  • 3. แฟรนไชส์ (อังกฤษ: franchise) เป็นชื่อเรียกการทา ธุรกิจโดยมีการให้สิทธิและส่วนการครอบครองการบริหารจัดการและ การจัดจาหน่ายทั้งหมดในมือของผู้ที่ได้รับกรรมสิทธิ์โดยชอบธรรม โดยเริ่มมาจากบริษัท ทารางรถไฟ และบริษัทสาธารณูปโภค ที่ พยายามขยายการเติบโตของบริษัทให้มากที่สุด โดยการออกขาย สิทธิ์ที่ได้รับสัมปทาน รวมทั้งขายชื่อของกิจการ รวมทั้งระบบการ ทางานของตัวเองให้ผู้อื่นโดยทาให้มีแบบแผนในการจัดการไปใน ทิศทางเดียวกัน ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งในการขยายตลาดและช่องทาง การจัดจาหน่ายของธุรกิจผ่านผู้ประกอบการอิสระโดยบริษัทจะให้ สิทธิเครื่องหมายการค้าและวิธีการในการทาธุรกิจที่จะถ่ายทอดให้ใน รูปแบบของการทางานทั้งหมด เช่น ระบบการผลิต ระบบการขาย ระบบการบริหารการตลาด เพื่อที่จะให้รูปแบบวิธีดาเนินธุรกิจในทุกๆ สาขาให้อยู่ในมาตรฐานเดียวกันตามต้นแบบของบริษัท
  • 4. ประเภทของแฟนไชส์ แฟรนไชส์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท คือ 1. Product or Brand Franchise เป็นระบบแฟรนไชส์ที่ให้ สิทธิ เพื่อจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของแฟรนไชส์ซอร์ รวมถึงการให้สิทธิในการใช้ เครื่องหมายการค้าของผู้ผลิตด้วย 2. Business Format Franchise เป็นระบบแฟรนไชส์ที่ให้ สิทธิ เพื่อจัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ของแฟรนไชส์ซอร์ รวมถึงการให้สิทธิในการใช้ เครื่องหมายการค้าของผู้ผลิต เพื่อขายสินค้าหรือบริการ โดยมีการถ่ายทอดวิธีการ ดาเนินธุรกิจแบบร้านมาตรฐาน 3. Conversion Franchise เป็นระบบแฟรนไชส์ที่ให้สิทธิเพื่อจัด จาหน่ายผลิตภัณฑ์ของแฟรนไชส์ซอร์ รวมถึงการให้สิทธิในการใช้เครื่องหมายการค้า ของผู้ผลิต โดยผู้ผลิตได้เปลี่ยนธุรกิจที่มีอยู่เดิม ให้เปลี่ยนมาใช้ในรูปแบบใหม่
  • 5. ระบบแฟรนไชส์ในเมืองไทย ธุรกิจแฟรนไชส์ในประเทศไทยที่มีการริเริ่มมากกว่า 20 ปี เริ่มตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2526 ธุรกิจแรกๆ ที่พยายามผลักดันการขยายงานโดยใช้รูปแบบแฟรน ไชส์ เป็นธุรกิจด้านอาหารและร้านค้าแบบมินิมาร์ท แต่ส่วนใหญ่จะมีปัญหา ในเรื่องความเข้าใจที่ถูกต้องของสิทธิ ที่มักให้แฟรนไชส์เป็นผู้ลงทุน ที่เน้นทา ธุรกิจแบบซื้อเพื่อการลงทุน ไม่มีการมองถึงการสร้างธุรกิจของตนเอง บางครั้ง ยังใช้การบริหารแบบเก่าที่เน้นความเป็นระบบครอบครัวทาให้อัตราความ ล้มเหลวธุรกิจแฟรนไชส์ของไทยในภาพรวมเพิ่มขึ้น[ต้องการอ้างอิง] บางครั้ง การลงทุนของแฟรนไชส์ซีที่ประสบปัญหาเกิดจากการจัดการของตนเองบ้าง หรือก็เกิดจากระบบงานของบริษัทแม่ที่เน้นการขยายธุรกิจที่มุ่งผลทาง การตลาด อ้างอิงจาก ThaiFranchiseCenter.com
  • 6. ธุรกิจแฟรนไชส์จะต้องประกอบด้วยปัจจัยหลัก 3 ประการคือ - มีผู้ซื้อและผู้ขายแฟรนไชส์ เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ฝ่าย ก็คือแฟรน ไชส์ซอร์ และแฟรนไชส์ซี ซึ่งมีการตกลงร่วมในการทาธุรกิจร่วมกันทั้งมีสัญญาและ ไม่มีสัญญา แต่ในอนาคตรูปแบบข้อตกลงจะปรับรูปสู่ระบบการสร้างสัญญาทั้งหมด เพื่อให้ทั้งระบบแฟรนไชส์ในตลาดจะต้องถูกระบบ เพราะไม่เช่นนั้นแฟรนไชส์ซีที่ไม่ดี จะทาลายระบบด้วย - เครื่องหมายการค้า หรือบริการ มีการถ่ายทอดเทคโนโลยีรูปแบบ ระบบ ธุรกิจ และใช้เครื่องหมายการค้าเดียวกัน ระบบการจัดการธุรกิจอาจจะเป็นเครื่องมือ หรือสูตรที่คิดค้นขึ้นมาเอง ในการผลิตสินค้า หรือบริการ โดยมีมาตรฐานที่อยู่ในตรา สินค้า Brand เดียวกัน - มีการจ่ายค่าตอบแทนอย่างน้อย 2 อย่าง คือ ค่าแรกเข้าในการใช้ เครื่องหมายการค้า (Franchise Fee) และค่าตอบแทนผลดาเนินการ (Royalty Fee) สถิติธุรกิจแฟรนไชส์ในไทย
  • 7. สถิติธุรกิจแฟรนไชส์ในไทย - จานวนธุรกิจแฟรนไชส์ในประเทศไทยนั้น มีความเปลี่ยนแปลงอยู่ ตลอดเวลา แน่นอนว่าธุรกิจแฟรนไชส์ ก็เหมือนธุรกิจ SMEs อื่นๆในเรื่องของ การล้ม หายตายจาก ไปจากระบบนั้น ยอมรับว่ายังคงมีอยู่ สิ่งสาคัญคือ ธุรกิจแฟรนไชส์ในบ้าน เรานั้น เหลือที่ทาการตลาดอย่างแท้จริง อยู่กี่กิจการ และขยายสาขาไปได้มากน้อยแค่ ไหน - ข้อมูลเหล่านี้มีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งสาหรับนักวิชาการ, นักวิจัย รวมถึงผู้สนใจในธุรกิจแฟรนไชส์โดยทั่วไป เพื่อให้มองเห็นภาพรวม ความเป็นไป และ แนวโน้มการเจริญเติบโตของธุรกิจแฟรนไชส์ ในประเทศไทย เพื่อเป็นดัชนีชี้วัด และ เตรียมความพร้อมรับมือกับนานาประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (ASEAN Economic Community: AEC) อ้างอิงจาก ThaiFranchiseCenter.com
  • 8.
  • 9. รัฐวิสาหกิจ (อังกฤษ: state enterprise, state-owned enterprise, หรือ government enterprise) เป็นวิสาหกิจธุรกิจ (business enterprise) ที่รัฐมีอานาจควบคุมอย่างมีนัยสาคัญ ด้วยวิธี เป็นเจ้าของอย่างเต็มรูปแบบ โดยส่วนมาก หรือโดยส่วนน้อยแต่ ในระดับสาคัญ[1] การกาหนดลักษณะของรัฐวิสาหกิจนั้น แตกต่างกันไปตามรูปแบบทางกฎหมายและการดาเนินงาน รัฐวิสาหกิจอาจมีวัตถุประสงค์เป็นนโยบายสาธารณะได้ เช่น บริษัทรถไฟของรัฐ แต่รัฐวิสาหกิจแตกต่างจากหน่วยงาน ราชการหรือหน่วยงานของรัฐที่มีวัตถุประสงค์หลักเป็นการ ดาเนินงานเพื่อสาธารณะ
  • 10. รัฐวิสาหกิจ (State Enterprise) คือ องค์การ หรือ บริษัท หรือหน่วยงานของรัฐ หรือรัฐเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ รัฐวิสาหกิจเป็นหน่วยงานที่ดาเนินกิจการเพื่อแสวงหาผล กาไร เช่นเดียวกับองค์กรธุรกิจเอกชน บางรัฐวิสาหกิจก็เป็น ธุรกิจผูกขาด ซึ่งหมายถึงรัฐดาเนินการได้แต่เพียผู้เดียว ห้ามเอกชนดาเนินการ เช่น สลากกินแบ่ง เป็นต้น จุดมุ่งหมายของการจัดตั้งรัฐวิสาหกิจนั้น นอกเหนือจากผล กาไรแล้ว บางรัฐวิสาหกิจถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นระบบ สาธารณูปโภคให้กับประชาชน เพื่อความมั่นคงด้าน พลังงาน หรือบางครั้งเพราะไม่มีเอกชนที่มีความสามารถ พอที่จะดาเนินกิจการประเภทนั้น ๆ
  • 11. รัฐวิสาหกิจไทย มีหลักการในการจัดตั้ง 7 ประการ คือ - เพื่อเป็นเครื่องมือในการดาเนินธุรกิจแทนรัฐ - เพื่อเป็นตัวอย่างแก่เอกชนในการดาเนินธุรกิจ - เพื่อความมั่นคงของประเทศ เช่น กิจการที่เป็น สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน ไฟฟ้า น้าประปา รวมถึงยุทธ ปัจจัยในการสงคราม อาทิ องค์การแบตเตอรี่ องค์การแก้ว องค์การฟอกหนัง องค์การเชื้อเพลิง - เพื่อส่งเสริมสังคมและวัฒนธรรม - เพื่อจัดทาบริการสาธารณะ - เพื่อประโยชน์ในด้านการคลังและเสริมรายได้ให้แก่รัฐ - เพื่อควบคุมสินค้าอันตราย
  • 12. ปัจจุบันมีรัฐวิสาหกิจดาเนินกิจการอยู่ทั้งหมด 56 แห่ง ดังรายชื่อต่อไปนี้ 1. การเคหะแห่งชาติ 2. การไฟฟ้านครหลวง 3. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 4. การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 5. การกีฬาแห่งประเทศไทย 6. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 7. การท่าเรือแห่งประเทศไทย 8. การทางพิเศษแห่งประเทศไทย 9. การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย 10. การประปานครหลวง 11. การประปาส่วนภูมิภาค 12. การยางแห่งประเทศไทย 13. การรถไฟแห่งประเทศไทย
  • 13. 14. การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย 15. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร 16. ธนาคารเพื่อการส่งออกและนาเข้าแห่ง ประเทศไทย 17. ธนาคารกรุงไทย จากัด (มหาชน) 18. ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมแห่งประเทศไทย 19. ธนาคารออมสิน 20. ธนาคารอาคารสงเคราะห์ 21. ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย 22. บรรษัทตลาดรองสินเชื่อที่อยู่อาศัย 23. บรรษัทประกันสินเชื่ออุตสาหกรรมขนาด ย่อม
  • 14. 24. บริษัท ไปรษณีย์ไทย จากัด 25. บริษัท กสท โทรคมนาคม จากัด (มหาชน) 26. บริษัท การบินไทย จากัด (มหาชน) 27. บริษัท ขนส่ง จากัด 28. บริษัท ท่าอากาศยานไทย จากัด (มหาชน) 29. บริษัท ทีโอที จากัด (มหาชน) 30. บริษัท ธนารักษ์พัฒนาสินทรัพย์ จากัด 31. บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) 32. บริษัท รถไฟฟ้า ร.ฟ.ท. จากัด 33. บริษัท วิทยุการบินแห่งประเทศไทย จากัด 34. บริษัท สหโรงแรมไทยและการท่องเที่ยว จากัด 35. บริษัท อสมท จากัด (มหาชน) 36. บริษัท อู่กรุงเทพ จากัด 37. โรงงานไพ่
  • 15. 37. โรงงานไพ่ 38. โรงงานยาสูบ 39. โรงพิมพ์ตารวจ 40. สถาบันการบินพลเรือน 41. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งประเทศไทย 42. สานักงานธนานุเคราะห์ 43. สานักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล 44. องค์การเภสัชกรรม 45. องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ 46. องค์การคลังสินค้า 47. องค์การจัดการน้าเสีย 48. องค์การตลาด
  • 16. 49. องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร 50. องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ 51. องค์การส่งเสริมกิจการโคนมแห่งประเทศ ไทย 52. องค์การสวนพฤกษศาสตร์ 53. องค์การสวนสัตว์ 54 องค์การสะพานปลา 55. องค์การสุรา 56. องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้
  • 17. นายอเล็กซานเดอร์ เสนทาวงศ์ เลขที่ 9 นางสาวสุพรรษา จิ๋วแบน เลขที่ 13 นางสาวอรสา นามราชา เลขที่ 15 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6/1 โรงเรียนหนองกองิทยาคม