SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
วิธีคลายเครียด
ด้วยอโรมาเธอราพี
[ How to relieve stress
with aromatherapy ]
สารบัญ
ประวัติโครงงาน
อโรมาเธอราพี คืออะไร?
ผลต่อรางกาย
การบาบัดรักษา
บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
ข้อควรระวังในการใช้นามันหอมระเหย
ผู้จัดทา
VDO อ้างอิงอโรมา 3 กลุ่ม
ประวัติโครงงาน - ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
วิธีคลายเครียดด้วยอโรมาเธอราพี
- ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
How to relieve stress with aromatherapy
- ประเภทโครงงาน วิทยาศาสตร์สุขภาพ
- ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวญาณิศา อูปอินทร์ และ นางสาวกรณิศ นิกรพันธุ์
- ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
- ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
- ระยะเวลาดาเนินงาน 4สัปดาห์ (30 ส.ค. 2562 – 20 ก.ย. 2562 )
ประวัติโครงงาน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
สุคนธบาบัดถูกนามาใช้ครังแรกในปี พ.ศ. 2471 โดยนักเคมีชาวฝรั่งเศส เรเน่มัวริส กาเต้ฟอเซ่
(Rene Maurice Gattefosse) ซึ่งได้ค้นพบคุณสมบัติในการฆ่าเชือของนามันลาเวนเดอร์โดยบังเอิญ และได้รับฉายาว่า
"บิดาแห่งสุคนธบาบัด" จากนัน มากาเร็ต มอรี (Magaret Maury) และ มิเชอลิน อาซีเยร์ (Micheline Arcier)
ได้นาศาสตร์ แห่งการบาบัดรักษาด้วยกลิ่นเข้าไปยังเกาะอังกฤษ และได้พัฒนาการใช้ผสมผสานกับการนวด
ในการรักษาคนไข้ จนทาให้ศาสตร์แห่งการบาบัดด้วยกลิ่นและการนวดเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
องค์ประกอบสาคัญที่ใช้ในสุคนธบาบัดคือนามันหอมระเหย (essential oil)
และต้องเป็นนามันหอมระเหยที่สกัดมาจากพืชเท่านัน หากเป็นนาหอมที่สังเคราะห์ขึน
จะไม่ส่งผลต่อการบาบัดรักษา หรือฆ่าเชือ หรือทาให้จิตใจสงบ นามันหอมระเหยเข้าสู่ร่างกาย
โดยทางผิวหนังและการสูดดม หากได้รับผ่านทางผิวหนังก็จะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด
ไปมีผลต่อระบบอวัยวะต่างๆ และถูกขับออกได้เช่นเดียวกับโมเลกุลของยา
ประวัติโครงงาน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
จากการสารวจแบบประเมินความเครียดคนไทยของกรมสุขภาพจิต พบว่าในปัจจุบัน
มีผู้ที่ประสบปัญหาความเครียดมากขึน อันมีสาเหตุมากจาการเรียน การทางาน ปัญหาครอบครัว
ปัญหาเศรษฐกิจ และอื่นๆ หลายหน่วยงานออกมาแนะนาแนวทางการแก้ไขปัญหาความเครียด
โดยมีการใช้วิธีอโรมาเธอราพี หรือสุคนธบาบัดเป็นหนึ่งในแนวทางการลดความเครียดที่ง่าย
จึงเป็นวิธีที่ค่อนข้างได้รับความนิยม แต่ถึงอย่างนันก็ยังคงมีคนส่วนมากที่ไม่รู้จักที่มาของอโรมาเธอราพี
และเข้าใจผิดเกี่ยวกับวิธีการใช้งาน
ประวัติโครงงาน
Study!
ขอบเขตโครงงาน
สืบค้นรวบรวมที่มา ความหมาย ผลต่อร่างกาย ประโยชน์
และข้อควรระวังในการใช้ เพื่อบุคคลทั่วไปบทความนีมีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้
แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนาของแพทย์ การวินิจฉัยโรค
หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครัง
และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเอง
ประวัติโครงงาน วัตถุประสงค์
1.ศึกษาที่มาและความหมายของอโรมาเธอราพี
2.ศึกษาวิธีการทาอโรมาเธอราพีที่ถูกต้อง
3.ศึกษาประโยชน์และผลกระทบของอโรมาเธอราพี
ประวัติโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
-สามารถรับมือกับความเครียดได้
-มีความรู้ในเรื่องอโรมาเธอราพีมากขึน
-สามารถบอกที่มาและความหมายของอรามาเธอราพีได้
-สามารถอธิบายและสาธิตการทาโรมาเธอราพีได้
-บุคคลทั่วไปสามารถนาความรู้และวิธีการบาบัดนีไปใช้ในชีวิตประจาวัน
หรือการประกอบอาชีพได้
อโรมาเธอราพี คืออะไร?
“ อโรมาเธอราพี เป็นที่รู้จักกันมานานกว่า 6,000 ปี เริ่มต้นใช้ในอียิปต์ ชาวอียิปต์มักใช้การเผา
ให้ได้มาซี่งกลิ่นหอมเพื่อบูชาเทพเจ้า เช่น กลิ่น FRANKINCENSE บูชาพระอาทิตย์
กลิ่น RA และ MYRRH บูชาพระจันทร์นอกจากนีชาวอียิปต์ยังใช้กลิ่นจากพืชธรรมชาติเพื่อความสดชื่น
นิยมใช้กับนามันนวดและผสมลงในอ่างแช่ ต่อมาชาวกรีกได้นา AROMATIC OILS (นามันหอมระเหย)
เพื่อนามาใช้บาบัดรักษา แพทย์กรีกผู้หนึ่งชื่อ PEDACIUS DIOSCORIDES ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับ
พืชสมุนไพรกับการแพทย์ไว้ เมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว และหลักการนีก็ยังใช้อยู่จนปัจจุบันนี “
PEDACIUS DIOSCORIDES
- AROMA (อโรมา) แปลว่า กลิ่น กลิ่นหอม
- THERAPY (เธอราพี) แปลว่า การบาบัดรักษา
- AROMA THERAPY (อโรมา-เธอราพี) หมายถึง
การบาบัดรักษาโรคโดยใช้กลิ่นหอม
อโรมาเธอราพี คืออะไร?
“ คาว่า อโรมาเธอราพี ถูกนามาใช้เป็นครังแรกโดยนักเคมีชาวฝรั่งเศส ชื่อ RENE MAURICE GATTEFOSSE
(เรเน มอริช กัดฟอส) เมื่อปี ค.ศ.1928 อโรมาเธอราพี เป็นการนาประโยชน์ของนามันหอมระเหย
ทาให้ร่างกาย จิตใจอารมณ์เกิดความสมดุล หลักการนีถูกนามาศึกษา โดยใช้หลักทางสรีรศาสตร์
ที่มนุษย์สามารถสัมผัสรับกลิ่น (OLFACTORY NERVES) ซึ่งอยู่เหนือโพรงจมูก (NASAL CAVITY)
เมื่อกลิ่นต่างๆ จากโมเลกุลของละอองเกสรดอกไม้ ผ่านกระเปาะรับกลิ่น (OLFACTORY BULBS)
ที่ต่อกับลิมบิค ซีสเต็ม (LIMBIC SYSTEM) ซึ่งเป็นสมองส่วนควบคุมอารมณ์และความทรงจา “
บางตาราสามารถแบ่งประเภทของกลิ่นอโรมา ได้ 3 กลุ่ม ดังนี
กลิ่นออกฤทธิ์กระตุ้นการทางานของร่างกาย (stimulating)
- ยูคาลิปตัส: บรรเทาอาการหวัด ไอ ลดไข้ ปวดศรีษะ ช่วยเรื่องความดันต่้า บรรเทา การนอนกรน
- สะระแหน่: ทาให้สดชื่น คลายเครียด คืนความจา บรรเทาอาการปวด คัน อักเสบ ช่วยระบบหายใจโล่ง
ช่วยเรื่องการย่อยอาหาร ทาให้อยากอาหาร
- โรสแมรี่: บรรเทาอาการหลอดลมอักเสบ บรรเทาหวัด เมาค้าง และอาการปวด ศีรษะ ไมเกรน นอนไม่หลับ 7
อโรมา 3 กลุ่ม
กลิ่นออกฤทธิให้สดชื่น (Refreshing)
- ส้มแมนดาริน: ลดอาการท้อแท้ หดหู่ ซึมเศร้า ช่วยบรรเทาการนอนไม่หลับ บรรเทาอาการ
ของวัยหมดประจ้าเดือน
- ส้ม: ผ่อนคลายความเครียด ลดอาการอ่อนเพลียเมื่อยล้า บรรเทาอาการนอนไม่หลับ
- มะนาว: ผ่อนคลายความเครียด ลดอาการอ่อนเพลียเมื่อยล้า บรรเทาอาการนอนไม่ หลับ
- มะกรูด: คลายเครียด ลดความท้อแท้ ซึมเศร้า ผ่อนคลายกล้ามเนือ
- ดอกไม้: ผ่อนคลายความเครียด ลดอาการอ่อนเพลียเมื่อยล้า บรรเทาอาการนอน ไม่หลับ
อโรมา 3 กลุ่ม
กลิ่นออกฤทธิ์ให้ผ่อนคลาย (Relaxing)
- ลาเวนเดอร์: แก้โรคนากัดเท้า บรรเทาเมาค้าง หลอดลมอักเสบ ปวดศีรษะ นอนไม่ หลับ ความดันโลหิตสูง
คลายความปวดเมื่อย ลดความเครียด
- กระดังงา: บรรเทาอารมณ์ความท้อแท้ หดหู่ ซึมเศร้า ลดอาการอ่อนเพลีย ช่วยลด ความดันสูง
- กุหลาบ: บรรเทาอาการปวดศีรษะ อาการนอนไม่หลับ ผ่อนคลายความเครียด
- มะลิ: บรรเทาอารมณ์ท้อแท้ หดหู่ ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ หย่อนสมรรถภาพทางเพศ
สาหรับวัยหมดประจาเดือน
- เจอราเนียม: ช่วยลดความดันสูง ท้าให้นอนหลับสบาย ผ่อนคลายกล้ามเนือ แก้คัน ท้องร่วง
- ดอกส้ม: ขจัดความกังวล ท้อแท้ หดหู่ นอนไม่หลับ หย่อนสมรรถภาพทางเพศ
บรรเทาอาการวัยหมดประจ้าเดือน
- วนิลา: บรรเทาอาการนอนไม่หลับ ลดอาการเครียด คลายกังวล หย่อนสมรรถภาพ ทางเพศ
- ชาเขียว: ท้าให้สดชื่น แก้หวัด ผ่อนคลาย
อโรมา 3 กลุ่ม
“ ผลต่อร่างกาย (Physiological Effects) ของนามันหอมระเหย เกิดเมื่อโมเลกุลเล็กๆ
นับร้อยเหล่านีไปถึงสมองส่วนลิมบิค (limbic system) ซึ่งควบคุมอารมณ์และความรู้สึก
โดยจะมีความสัมพันธ์กับประสบการณ์และความจา และเนื่องจากสมองส่วนนีเชื่อมต่อโดยตรง
กับสมองที่ควบคุมการเต้นของหัวใจ ความดัน การหายใจ ความจา ระดับความเครียด
สมดุลย์ฮอร์โมน ดังนันการสูดดมนามันหอมระเหยจึงเป็นวิธีที่ให้ผลทางร่างกายและระบบประสาท
ที่เร็วที่สุดทางหนึ่ง “
ผลต่อรางกาย
“ เพราะหลังจากการสูดดมนามันหอมระเหยจะเข้าสู่กระแสเลือดโดยทางเนือเยื่อของปอด
และจากระบบประสาทรับกลิ่นจะไปมีผลต่อสมองส่วนต่างๆ เช่น สมองส่วนคอร์เท็กซ์
มีผลต่อการเรียนรู้ (intellectual process) ต่อมพิทิวทอรี (pituitary gland)
ซึ่งควบคุมระบบฮอร์โมนทังหมด รวมทังฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต
และสมองส่วนไฮโปธาลามัสซึ่งควบคุมความโกรธและความรุนแรง “
ผลต่อรางกาย
การบาบัดรักษา
การสูดดมโดยตรง
การสูดดมจากไอระเหย
การอาบหรือแช่นา
การนวด
การสูดดมโดยตรง
ทาได้โดยเปิดฝา ขวดแล้วสูดดมกลิ่นโดยตรง
หรือใช้สาลี ผ้าเช็ดหน้าชุบนามันหอมระเหยแล้วสูดดม
วิธีนีเป็นวิธีที่ง่ายและมีประสิทธิภาพดี
ก้านไม้หอม
ก้านไม้หอม
คุณสมบัติของก้านไม้หอม
ก้านไม้หอม เป็นนามันหอมระเหยคุณภาพดี เป็นกลิ่นไทยสปา ที่ให้ความหอมกลิ่น
แนวอโรม่าของสมุนไพร ซึ่งจะช่วยให้เกิดความรู้สึกผ่อนคลาย และปลอดโปร่ง โล่งสบาย
ช่วยสร้างให้บรรยากาศเสมือนกับว่ามีสปามาอยู่ที่บ้าน ที่เห็นส่วนใหญ่จะเน้นมาในแพคเกจดีไซน์เรียบหรู
มาพร้อมกับขวดนามันหอมที่เป็นขวดแก้วใสสวยงาม
การสูดดมจากไอระเหย
มี 2 วิธี
วิธีแรก หยดนามันหอมระเหย 5-10 หยด ใน ชามอ่างที่มีนาร้อน หลังจากนันก้มหน้าเหนือ
ชามอ่างพร้อมกับใช้ผ้าขนหนูสะอาดๆ คลุม เหนือศีรษะ และสูดหายใจลึกๆ วิธีนี
เหมาะสาหรับบรรเทาอาการไข้หวัดได้เป็นอย่างดี
การสูดดมจากไอระเหย
วิธีที่ 2 คือ ใช้เตานามันหอมระเหยที่มีนาอยู่ 1/3 ส่วน หยดนามันหอมระเหยลงไป
พร้อมทังจุดเทียนใต้เตา เมื่อนาร้อนไอนาจะพา กลิ่นหอมระเหยไปทั่วบริเวณ ในประเทศญี่ปุ่น
มีการใช้กลิ่นส้มหรือกลิ่นกุหลาบในที่ทางานพบว่า พนักงานทางานได้มีประสิทธิภาพดีขึน
NEW UPDATE!
เครื่องพ่นอโรมา
โดยปกติแล้วเครื่องพ่นอโรม่าจะมีขนาดให้เลือกไม่มาก
ตังแต่ขนาดปริมาณนา 100 ml ถึง 300 ml หรือสาหรับเครื่องพ่น
ขนาดใหญ่จะมีปริมาณนาถึงระดับ 1000 ml เลยก็ว่าได้ อย่างไรก็ดี
ในตลาดส่วนมากแล้วเครื่องพ่นไอนาอโรม่าจะมีปริมาณนาที่สามารถ
บรรจุอยู่ภายในเครื่องพ่นไอนาอโรม่าได้ตังแต่ช่วง 100-300 เป็น
ปริมาณมาตรฐาน ซึ่งปริมาณขนาด 100 ml นันจะเหมาะสาหรับห้อง
ขนาดไม่เกิน 25 ตารางเมตรหรือห้องขนาดคอนโดทั่วไป สาหรับ
พืนที่ที่มากขึนอาจจะเลือกใช้เครื่องพ่นไอนาอโรม่าที่มีปริมาณบรรจุนา
อยู่ในระดับ 300 จะมีความเหมาะสมกับพืนที่
เครื่องพ่นอโรมา
ทังนีความสูงของเพดานในบ้านหรือร้านสปาทั่วไปจะอยู่ที่ประมาณ 2.5 เมตรซึ่งความ
สูงของเพดานเหล่านีจะไม่มีผลกับปริมาณการใช้เครื่องพ่นไอนาอโรม่ามาก เพราะปริมาณไอนา
เครื่องพ่นอโรม่าเหล่านีจะมีการกระจายตัวฟุ้งอยู่ในระดับพืนหรือในระดับที่คนเดินเป็นหลักไม่มี
การกระจายตัวเหมือนเครื่องปรับอากาศแต่อย่างใดที่จะต้องกินพืนที่และปริมาตรของอากาศใน
ห้องทังหมด โดยสรุปแล้วการเลือกขนาดของเครื่องพ่นไอนาอโรม่านันคุณเพียงแต่พิจารณาถึง
ปริมาณขนาดของพืนที่ห้องที่คุณกาลังจะสร้างบรรยากาศกลิ่นหอมไม่ทั่วเท่านันก็เพียงพอแล้ว
เครื่องพ่นอโรมา
เครื่องพ่นอโรมา
ข้อดีของการใช้เครื่องพ่นอโรมา
การใช้เครื่องพ่นอโรมาจะช่วยเพิ่มกลิ่นหอมๆ ภายในห้องให้มีความหอมฟุ้งไปทั่วบริเวณ แม้จะมีไอนาที่
ออกมาจากเครื่องแต่มันจะค่อยๆ ระเหยไปอย่างรวดเร็ว คงเหลือไว้แค่กลิ่นหอมๆ โดยไม่ทาให้เป็นการเพิ่มความชืนใน
ห้อง หากเปิดในห้องแอร์ อาจจะทาให้ความชืนมากกว่าห้องปกติซึ่งเป็นความเย็นของระบบการทางานจากแอร์และไอนา
จากเครื่องพ่นอโรมาร่วมกัน ซึ่งมีการเพิ่มไอนาเข้ามาจึงทาให้มีกลิ่นอายหอมๆ เข้าไปด้วย ไม่ว่าตามห้องต่างๆ หรือ
แม้แต่ร้านสปา ต่างก็หันมาใช้เครื่องนีกันมากขึน
การอาบหรือแช่นา
หยดนามันหอมระเหย
ประมาณ 20-30 หยด
ลงในอ่างนาอุ่น จากนันแช่ตัว
ประมาณ 20 นาที วิธีนีจะได้รับ
ความสดชื่นดีที่สุด อีกทังทาให้
ร่างกายอบอุ่นสามารถฆ่าเชือโรคได้
บรรเทาอาการปวด เมื่อย ผ่อนคลาย
ความตึงเครียดได้ กลิ่นที่ใช้ได้ดี คือ
กลิ่นโรสแมรี่, เบอร์กามอท, ลาเวนเดอร์
เป็นต้น
การนวด เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพมาก นา- มันหอมระเหยสามารถซึมเข้าสู่ผิวหนังผ่านทางรูขุมขน
นอกจากจะมีผลต่อผิวพรรณแล้ว ยังสามารถเข้าสู่ทางเดินโลหิต และไปทั่วทุกส่วนของร่างกาย
เชื่อกันว่าการนวดด้วยนามันหอมระเหยเป็นวิธีที่ดี ที่สุดในการดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย
วิธีใช้ : ให้ เจือจางนามันหอมระเหย 10 หยด กับนามันหลัก 20 มิลลิลิตร แล้วนวดตามต้องการ
(นามันหลัก คือ นามันที่สกัดได้จากพืช เช่น นามันจากเมล็ดอัลมอนด์, นามันงา, นามัน โจโจบา
หรือนามันเมล็ดองุ่น เป็นต้น
“ ในการใช้นามันหอมระเหย มีข้อควรระวัง เนื่องจากนามันหอมระเหยมีความเข้มข้นสูง
ควรมีการเจือจางก่อนเมื่อต้องใช้กับผิวหนังโดยตรง มิฉะนันอาจทาให้เกิดอาการแพ้ได้
และควรหลีกเลี่ยงที่จะใช้หญิงมีครรภ์ เด็ก ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ เบาหวาน ลมบ้าหมู
ควรจะทาการศึกษารายละเอียด และคาเตือนในการใช้อย่างถี่ถ้วนก่อน “
การนวด
บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
โดย รองศาสตราจารย์ ดร. อ้อมบุญ วัลลิสุต
ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
อโรมาเธอราพี (Aromatherapy) หรือ สุคนธบาบัด คือ ศาสตร์ในการใช้นามันหอมระเหยที่ได้จากการสกัดพืชหอม
(ขอยาว่าต้องเป็นนามันหอมระเหยที่ได้จากการสกัดจากพืชเท่านัน) เพื่อการบาบัดรักษาหลายอาการ ตังแต่ อาการติดเชือต่างๆ
โรคผิวหนัง ไปจนถึงภูมิคุ้มกันบกพร่องและความเครียด มีการใช้นามันหอมระเหยในยุโรปมากว่าร้อยปี และมีการใช้ในการแพทย์
ตะวันออกมานานกว่าพันปี แต่ในประเทศฝรั่งเศสมีการ ใช้สุคนธบาบัดทางการแพทย์อย่างเป็นระบบ และมีการวิจัยกันอย่างกว้างขวาง
ทั่วโลกในทุกๆ ด้าน ส่วนสหรัฐอเมริกานิยมใช้สุคนธบาบัดร่วมกับการแพทย์ทางเลือกอื่นๆ ในการรักษาโรคต่างๆ
บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
ในประเทศไทยก็มีการใช้แบบพืนบ้านเช่น การเข้ากระโจมแก้หวัด ผู้เขียนจาได้ว่าตอนเป็นเด็กเล็ก
เมื่อเป็นหวัดคุณแม่จะให้นั่งอยู่หน้ากาละมังเคลือบที่มีสมุนไพรเปราะหอม หอมแดง ใบมะขาม และเทนาเดือดลงไป
พร้อมกับเอาผ้าเช็ดตัวคลุมโปงครอบไว้ทังตัว ไอหอมระเหยเข้าจมูกเข้าไปบาบัดอาการหวัด สักพักเมื่อนาพออุ่นๆ
คุณแม่ก็จะเอานานันรดศีรษะไล่หวัดอีกรอบ เป็นอันว่าไปโรงเรียนได้ อดหยุดอยู่กับบ้าน ความรู้ติดตัวนีได้เอาไปใช้
เมื่อผู้เขียนได้ไปทางานที่ประเทศภูฏานแล้วเกิดเป็นไข้หวัดอย่างแรง โดยตื่นขึนมากลางดึกมีอาการปวดหัวมาก มีไข้
ปวดเมื่อยเนือตัว หายใจไม่สะดวก ถ้าเป็นประเทศไทยก็ไปโรงพยาบาล หรือ ให้ลูกดูแล แต่ที่นี่ภูฏาน
แถมพาราเซตามอลก็หมด ยาสมุนไพรแก้หวัดก็หมดเพราะใจดีแจกคนอื่นด้วย เลยเข้าครัว โชคดีที่เปราะหอมก็เป็น
เครื่องเทศอย่างหนึ่งและเคยซือไว้ แต่ไม่มีหอมแดงใช้หอมฝรั่งแทน ใบมะขามหาไม่ได้ แต่สองอย่างนีก็เพียงพอที่จะขจัด
อาการทังหมดนีได้และกลับไปนอนพักต่อ ไปทางานวันรุ่งขึนได้ ยังมีอีกมากมายที่เราใช้สืบต่อกันมา
บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
ถ้าเป็นประเทศไทยก็ไปโรงพยาบาล หรือ ให้ลูกดูแล แต่ที่นี่ภูฏาน
แถมพาราเซตามอลก็หมด ยาสมุนไพรแก้หวัดก็หมดเพราะใจดีแจกคนอื่นด้วย เลยเข้าครัว โชคดีที่เปราะหอมก็เป็น
เครื่องเทศอย่างหนึ่งและเคยซือไว้ แต่ไม่มีหอมแดงใช้หอมฝรั่งแทน ใบมะขามหาไม่ได้ แต่สองอย่างนีก็เพียงพอที่จะขจัด
อาการทังหมดนีได้และกลับไปนอนพักต่อ ไปทางานวันรุ่งขึนได้ ยังมีอีกมากมายที่เราใช้สืบต่อกันมา
บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
แม้แต่การแพทย์แผนปัจจุบันก็มีการใช้ทิงเจอร์กายาน (Benzoin Tincture) มีขายที่โรงพยาบาลศิริราช
ซึ่งคุณพ่อของผู้เขียนใช้ในการรมจมูกเพราะท่านเป็นไซนัสอักเสบ และผู้เขียนก็ใช้เป็นประจาเมื่อมีอาการหวัดคัดจมูกร่วมกับ
การรมเปราะหอมและหัวหอม วิธีการใช้คือ หากระป๋องผลไม้ขนาดเท่าแก้วกาแฟซึ่งเป็นกระป๋องอลูมิเนียมเคลือบด้านใน
ทากรวยขนาดพอดีครอบปากกระป๋อง ใช้กระดาษแข็งพอม้วนได้ ตัดปลายแหลมให้มีช่องพอให้ไอระเหยออกมาได้
ต้มนาเดือดจัดเทลงในกระป๋อง สัก 3/4 กระป๋อง เททิงเจอร์กายานลงไปประมาณ 5 ซีซี หรือหนึ่งช้อนชา รีบเอากรวยครอบ
และเอาจมูกไปสูดดมที่ช่อง ระวังไอร้อนลวกจมูกจากการสูดดมใกล้เกินไป ควรใช้หลังมือสัมผัสไอที่ระเหยออกมาก่อนว่าร้อนไปหรือไม่
และระยะห่างแค่ไหนจึงพอดี เราต้องการกลิ่นหอมไม่ใช่ความร้อน เมื่อเย็นลงจะสามารถสูดดมได้ใกล้ขึนๆ เมื่อไม่มีไอระเหยออกมาแล้ว
เทนาทิงแล้วสูดดมสารหอมที่เหลือติดก้นกระป๋องทาให้หายใจโล่ง กระป๋องนีเก็บไว้ใช้ได้อีกไม่ต้องล้าง เพราะกายานใช้เป็นยากันบูด
ในยาไทยและเครื่องสาอาง ถ้าอยากล้างต้องใช้แอลกอฮอลล์ละลายสารเรซินที่ติดอยู่ออกไปก่อนจึงล้างตามปกติได้
บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
ในด้านวิทยาศาสตร์ อโรมาเธอราพี
เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งของ Herbal Medicine
เพราะเป็นการใช้นามันหอมระเหย (essential oil) ที่ได้จากการกลั่นพืชหอม หรือ ด้วยการสกัดด้วย
วิธีต่างๆ โดยนามัน (essence) ของพืชเหล่านีมีคุณสมบัติในการรักษา ส่วนของพืชอาจจะเป็น ดอก ใบ กิ่ง
เปลือก แก่น ยาง ผล หรือ เมล็ดก็ได้ แต่เนื่องจากมีปริมาณน้อยจึงต้องใช้วัตถุดิบพืชจานวนมาก และส่งผลให้
มีราคาแพง จึงมีการใช้กลิ่นสังเคราะห์ปนปลอม จึงขอเตือนว่าผู้ที่ต้องการผลบาบัดต้องใช้นามันหอมระเหยจากพืชเท่านัน
ที่จริงแล้วส่วนที่ทาการบาบัดคือร่างกายเราเอง แต่โมเลกุลเล็กๆ หลายๆ โมเลกุลในนามันหอมระเหยเข้าสู่สมองของเรา
ผ่านประสาทรับกลิ่นที่อยู่ในโพรงจมูกด้านบน ซึ่งส่วนนีใกล้สมองมาก และทาให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองทางเภสัชวิทยา
ของร่างกายมนุษย์
บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
ในนามันหอมระเหยมีโมเลกุลเล็กๆ นับร้อยโมเลกุล และทุกๆ โมเลกุลล้วนมีผลต่อการบาบัดรักษา
มิใช่แต่เพียงสารที่มีมากเท่านัน นามันหอมระเหยหลายๆ ชนิดมีส่วนประกอบที่คล้ายๆ กัน อาจต่างกันบ้าง
ในบางโมเลกุลและสัดส่วน แต่ให้ผลการรักษาที่ต่างกัน รวมทังกลิ่นซึ่งมีความเฉพาะเจาะจงกับพืชแต่ละชนิด
(essence) เช่น กลิ่นมะลิ ก็จะไม่พบในดอกกุหลาบ เป็นต้น
VDO ผลิตภัณฑ์อโรมา การพัฒนาธุรกิจ การดีไซน์
จาก @aroma
ข้อควรระวังในการใช้นามันหอมระเหย ในการใช้นามันหอมระเหย ควรศึกษาวิธีการใช้ให้ละเอียดก่อน เพราะ
ถึงแม้ว่าวิธีการใช้ ง่ายแต่ก็มีข้อมูลอีกหลายอย่างที่ควรทราบและพึงระวัง ดังนี
1. ควรเจือจางนามันหอมระเหยด้วย carrier oil ก่อนใช้ เนื่องจากนามันหอมระเหยที่ เข้มข้นอาจทาให้
ระคายเคืองได้ และไม่ควรให้นามันหอมระเหยสัมผัสบริเวณรอบดวงตาและผิว ที่อ่อนบาง
2. ก่อนใช้นามันหอมระเหย ควรทดสอบก่อนว่าเกิดอาการแพ้หรือไม่
3. นามันหอมระเหยบางชนิดเหนี่ยวนาให้ ผิวหนังมีความไวต่อแสง (photosensitive) เช่นนามันมะกรูด
นามันมะนาว ฯลฯ ดังนันจึงควร หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดโดยตรงภายหลัง จากการ ใช้นามันหอมระเหย
เป็นเวลาอย่างน้อย 4 ชั่วโมง
ข้อควรระวังในการใช้นามันหอมระเหย
4. สตรีที่อยู่ในระหว่างการตังครรภ์ควร หลีกเลี่ยงการใช้นามันหอมระเหยต่อไปนี คือ นามัน
โหระพา นามันกานพล ูนามันเปปเปอร์มินต์ นามันกุหลาบ นามันโรสแมรี่ นามันแคลรี่ เซจ
(clary sage oil) นามันไทม์ (thyme oil) นามันวินเทอร์กรีน (wintergreen oil) นามัน
มาร์ โจแรม (marjoram oil) และเมอร์ (myrrh)
5. ผู้ที่เป็นโรคลมชัก และผู้ที่มีความดันโลหิตสูง ควรหลีกเลี่ยงนามันโรสแมรี่ นามันเซจ (sage
oil)
6. ควรเก็บนามันหอมระเหยในขวดที่มีสี เข้ม ในที่ปลอดภัยห่างจากมือเด็กและเปลวไฟ
7. ไม่ควรรับประทานนามันหอมระเหย นอกจากได้รับคาแนะน้าจากผู้เชี่ยวชาญ
ข้อควรระวังในการใช้นามันหอมระเหย
อ้างอิง
-เว็บไชต์กรมสุขภาพจิต
https://www.dmh.go.th/
-แบบประเมินความเครียดของกรมสุขภาพจิต
https://www.dmh.go.th/test/qtest5/
-บทความโรคเครียด โรงพยาบาลวิภาวดี
https://www.vibhavadi.com/health316
-บทความอโรมาเธอราพี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/
-บทความอโรมาเธอราพี โรงงานสบู่Factory spa soap
https://www.spasoapfactory.com/article/

-บทความอโรมาเธอราพี นาหอมไอดู
https://idofragrance.com/
-บทความอโรมาเธอราพี Pobpad
https://www.pobpad.com/aromatherapy
-บทความอโรมาเธอราพี กองการแพทย์ทางเลือก
https://thaicam.go.th
-เครื่องพ่นอโรมาใช้ไม่ยากอย่างที่คิด,ก้านไม้หอมปรับอากาศ
https://idofragrance.com/
ผู้จัดทา
นางสาว กรณิศ นิกรพันธุ์ เลขที่ 13 นางสาว ญาณิศา อูปอินทร์ เลขที่ 33

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

Aroma2562 615-33-13

  • 3. ประวัติโครงงาน - ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) วิธีคลายเครียดด้วยอโรมาเธอราพี - ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) How to relieve stress with aromatherapy - ประเภทโครงงาน วิทยาศาสตร์สุขภาพ - ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวญาณิศา อูปอินทร์ และ นางสาวกรณิศ นิกรพันธุ์ - ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ - ชื่อที่ปรึกษาร่วม - - ระยะเวลาดาเนินงาน 4สัปดาห์ (30 ส.ค. 2562 – 20 ก.ย. 2562 )
  • 4. ประวัติโครงงาน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน สุคนธบาบัดถูกนามาใช้ครังแรกในปี พ.ศ. 2471 โดยนักเคมีชาวฝรั่งเศส เรเน่มัวริส กาเต้ฟอเซ่ (Rene Maurice Gattefosse) ซึ่งได้ค้นพบคุณสมบัติในการฆ่าเชือของนามันลาเวนเดอร์โดยบังเอิญ และได้รับฉายาว่า "บิดาแห่งสุคนธบาบัด" จากนัน มากาเร็ต มอรี (Magaret Maury) และ มิเชอลิน อาซีเยร์ (Micheline Arcier) ได้นาศาสตร์ แห่งการบาบัดรักษาด้วยกลิ่นเข้าไปยังเกาะอังกฤษ และได้พัฒนาการใช้ผสมผสานกับการนวด ในการรักษาคนไข้ จนทาให้ศาสตร์แห่งการบาบัดด้วยกลิ่นและการนวดเป็นที่นิยมมากในปัจจุบัน
  • 5. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน องค์ประกอบสาคัญที่ใช้ในสุคนธบาบัดคือนามันหอมระเหย (essential oil) และต้องเป็นนามันหอมระเหยที่สกัดมาจากพืชเท่านัน หากเป็นนาหอมที่สังเคราะห์ขึน จะไม่ส่งผลต่อการบาบัดรักษา หรือฆ่าเชือ หรือทาให้จิตใจสงบ นามันหอมระเหยเข้าสู่ร่างกาย โดยทางผิวหนังและการสูดดม หากได้รับผ่านทางผิวหนังก็จะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด ไปมีผลต่อระบบอวัยวะต่างๆ และถูกขับออกได้เช่นเดียวกับโมเลกุลของยา ประวัติโครงงาน
  • 6. ที่มาและความสาคัญของโครงงาน จากการสารวจแบบประเมินความเครียดคนไทยของกรมสุขภาพจิต พบว่าในปัจจุบัน มีผู้ที่ประสบปัญหาความเครียดมากขึน อันมีสาเหตุมากจาการเรียน การทางาน ปัญหาครอบครัว ปัญหาเศรษฐกิจ และอื่นๆ หลายหน่วยงานออกมาแนะนาแนวทางการแก้ไขปัญหาความเครียด โดยมีการใช้วิธีอโรมาเธอราพี หรือสุคนธบาบัดเป็นหนึ่งในแนวทางการลดความเครียดที่ง่าย จึงเป็นวิธีที่ค่อนข้างได้รับความนิยม แต่ถึงอย่างนันก็ยังคงมีคนส่วนมากที่ไม่รู้จักที่มาของอโรมาเธอราพี และเข้าใจผิดเกี่ยวกับวิธีการใช้งาน ประวัติโครงงาน Study!
  • 7. ขอบเขตโครงงาน สืบค้นรวบรวมที่มา ความหมาย ผลต่อร่างกาย ประโยชน์ และข้อควรระวังในการใช้ เพื่อบุคคลทั่วไปบทความนีมีจุดประสงค์เพื่อให้ความรู้ แก่ผู้อ่าน และไม่สามารถแทนการแนะนาของแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือการรักษาได้ ผู้อ่านควรพบแพทย์เพื่อให้แพทย์ตรวจที่สถานพยาบาลทุกครัง และไม่ควรตีความเองหรือวางแผนการรักษาด้วยตัวเอง ประวัติโครงงาน วัตถุประสงค์ 1.ศึกษาที่มาและความหมายของอโรมาเธอราพี 2.ศึกษาวิธีการทาอโรมาเธอราพีที่ถูกต้อง 3.ศึกษาประโยชน์และผลกระทบของอโรมาเธอราพี
  • 8. ประวัติโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ -สามารถรับมือกับความเครียดได้ -มีความรู้ในเรื่องอโรมาเธอราพีมากขึน -สามารถบอกที่มาและความหมายของอรามาเธอราพีได้ -สามารถอธิบายและสาธิตการทาโรมาเธอราพีได้ -บุคคลทั่วไปสามารถนาความรู้และวิธีการบาบัดนีไปใช้ในชีวิตประจาวัน หรือการประกอบอาชีพได้
  • 9. อโรมาเธอราพี คืออะไร? “ อโรมาเธอราพี เป็นที่รู้จักกันมานานกว่า 6,000 ปี เริ่มต้นใช้ในอียิปต์ ชาวอียิปต์มักใช้การเผา ให้ได้มาซี่งกลิ่นหอมเพื่อบูชาเทพเจ้า เช่น กลิ่น FRANKINCENSE บูชาพระอาทิตย์ กลิ่น RA และ MYRRH บูชาพระจันทร์นอกจากนีชาวอียิปต์ยังใช้กลิ่นจากพืชธรรมชาติเพื่อความสดชื่น นิยมใช้กับนามันนวดและผสมลงในอ่างแช่ ต่อมาชาวกรีกได้นา AROMATIC OILS (นามันหอมระเหย) เพื่อนามาใช้บาบัดรักษา แพทย์กรีกผู้หนึ่งชื่อ PEDACIUS DIOSCORIDES ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับ พืชสมุนไพรกับการแพทย์ไว้ เมื่อประมาณ 1,200 ปีมาแล้ว และหลักการนีก็ยังใช้อยู่จนปัจจุบันนี “ PEDACIUS DIOSCORIDES
  • 10. - AROMA (อโรมา) แปลว่า กลิ่น กลิ่นหอม - THERAPY (เธอราพี) แปลว่า การบาบัดรักษา - AROMA THERAPY (อโรมา-เธอราพี) หมายถึง การบาบัดรักษาโรคโดยใช้กลิ่นหอม อโรมาเธอราพี คืออะไร? “ คาว่า อโรมาเธอราพี ถูกนามาใช้เป็นครังแรกโดยนักเคมีชาวฝรั่งเศส ชื่อ RENE MAURICE GATTEFOSSE (เรเน มอริช กัดฟอส) เมื่อปี ค.ศ.1928 อโรมาเธอราพี เป็นการนาประโยชน์ของนามันหอมระเหย ทาให้ร่างกาย จิตใจอารมณ์เกิดความสมดุล หลักการนีถูกนามาศึกษา โดยใช้หลักทางสรีรศาสตร์ ที่มนุษย์สามารถสัมผัสรับกลิ่น (OLFACTORY NERVES) ซึ่งอยู่เหนือโพรงจมูก (NASAL CAVITY) เมื่อกลิ่นต่างๆ จากโมเลกุลของละอองเกสรดอกไม้ ผ่านกระเปาะรับกลิ่น (OLFACTORY BULBS) ที่ต่อกับลิมบิค ซีสเต็ม (LIMBIC SYSTEM) ซึ่งเป็นสมองส่วนควบคุมอารมณ์และความทรงจา “
  • 11. บางตาราสามารถแบ่งประเภทของกลิ่นอโรมา ได้ 3 กลุ่ม ดังนี กลิ่นออกฤทธิ์กระตุ้นการทางานของร่างกาย (stimulating) - ยูคาลิปตัส: บรรเทาอาการหวัด ไอ ลดไข้ ปวดศรีษะ ช่วยเรื่องความดันต่้า บรรเทา การนอนกรน - สะระแหน่: ทาให้สดชื่น คลายเครียด คืนความจา บรรเทาอาการปวด คัน อักเสบ ช่วยระบบหายใจโล่ง ช่วยเรื่องการย่อยอาหาร ทาให้อยากอาหาร - โรสแมรี่: บรรเทาอาการหลอดลมอักเสบ บรรเทาหวัด เมาค้าง และอาการปวด ศีรษะ ไมเกรน นอนไม่หลับ 7 อโรมา 3 กลุ่ม
  • 12. กลิ่นออกฤทธิให้สดชื่น (Refreshing) - ส้มแมนดาริน: ลดอาการท้อแท้ หดหู่ ซึมเศร้า ช่วยบรรเทาการนอนไม่หลับ บรรเทาอาการ ของวัยหมดประจ้าเดือน - ส้ม: ผ่อนคลายความเครียด ลดอาการอ่อนเพลียเมื่อยล้า บรรเทาอาการนอนไม่หลับ - มะนาว: ผ่อนคลายความเครียด ลดอาการอ่อนเพลียเมื่อยล้า บรรเทาอาการนอนไม่ หลับ - มะกรูด: คลายเครียด ลดความท้อแท้ ซึมเศร้า ผ่อนคลายกล้ามเนือ - ดอกไม้: ผ่อนคลายความเครียด ลดอาการอ่อนเพลียเมื่อยล้า บรรเทาอาการนอน ไม่หลับ อโรมา 3 กลุ่ม
  • 13. กลิ่นออกฤทธิ์ให้ผ่อนคลาย (Relaxing) - ลาเวนเดอร์: แก้โรคนากัดเท้า บรรเทาเมาค้าง หลอดลมอักเสบ ปวดศีรษะ นอนไม่ หลับ ความดันโลหิตสูง คลายความปวดเมื่อย ลดความเครียด - กระดังงา: บรรเทาอารมณ์ความท้อแท้ หดหู่ ซึมเศร้า ลดอาการอ่อนเพลีย ช่วยลด ความดันสูง - กุหลาบ: บรรเทาอาการปวดศีรษะ อาการนอนไม่หลับ ผ่อนคลายความเครียด - มะลิ: บรรเทาอารมณ์ท้อแท้ หดหู่ ปวดศีรษะ นอนไม่หลับ หย่อนสมรรถภาพทางเพศ สาหรับวัยหมดประจาเดือน - เจอราเนียม: ช่วยลดความดันสูง ท้าให้นอนหลับสบาย ผ่อนคลายกล้ามเนือ แก้คัน ท้องร่วง - ดอกส้ม: ขจัดความกังวล ท้อแท้ หดหู่ นอนไม่หลับ หย่อนสมรรถภาพทางเพศ บรรเทาอาการวัยหมดประจ้าเดือน - วนิลา: บรรเทาอาการนอนไม่หลับ ลดอาการเครียด คลายกังวล หย่อนสมรรถภาพ ทางเพศ - ชาเขียว: ท้าให้สดชื่น แก้หวัด ผ่อนคลาย อโรมา 3 กลุ่ม
  • 14. “ ผลต่อร่างกาย (Physiological Effects) ของนามันหอมระเหย เกิดเมื่อโมเลกุลเล็กๆ นับร้อยเหล่านีไปถึงสมองส่วนลิมบิค (limbic system) ซึ่งควบคุมอารมณ์และความรู้สึก โดยจะมีความสัมพันธ์กับประสบการณ์และความจา และเนื่องจากสมองส่วนนีเชื่อมต่อโดยตรง กับสมองที่ควบคุมการเต้นของหัวใจ ความดัน การหายใจ ความจา ระดับความเครียด สมดุลย์ฮอร์โมน ดังนันการสูดดมนามันหอมระเหยจึงเป็นวิธีที่ให้ผลทางร่างกายและระบบประสาท ที่เร็วที่สุดทางหนึ่ง “ ผลต่อรางกาย
  • 15. “ เพราะหลังจากการสูดดมนามันหอมระเหยจะเข้าสู่กระแสเลือดโดยทางเนือเยื่อของปอด และจากระบบประสาทรับกลิ่นจะไปมีผลต่อสมองส่วนต่างๆ เช่น สมองส่วนคอร์เท็กซ์ มีผลต่อการเรียนรู้ (intellectual process) ต่อมพิทิวทอรี (pituitary gland) ซึ่งควบคุมระบบฮอร์โมนทังหมด รวมทังฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต และสมองส่วนไฮโปธาลามัสซึ่งควบคุมความโกรธและความรุนแรง “ ผลต่อรางกาย
  • 18. ก้านไม้หอม คุณสมบัติของก้านไม้หอม ก้านไม้หอม เป็นนามันหอมระเหยคุณภาพดี เป็นกลิ่นไทยสปา ที่ให้ความหอมกลิ่น แนวอโรม่าของสมุนไพร ซึ่งจะช่วยให้เกิดความรู้สึกผ่อนคลาย และปลอดโปร่ง โล่งสบาย ช่วยสร้างให้บรรยากาศเสมือนกับว่ามีสปามาอยู่ที่บ้าน ที่เห็นส่วนใหญ่จะเน้นมาในแพคเกจดีไซน์เรียบหรู มาพร้อมกับขวดนามันหอมที่เป็นขวดแก้วใสสวยงาม
  • 19. การสูดดมจากไอระเหย มี 2 วิธี วิธีแรก หยดนามันหอมระเหย 5-10 หยด ใน ชามอ่างที่มีนาร้อน หลังจากนันก้มหน้าเหนือ ชามอ่างพร้อมกับใช้ผ้าขนหนูสะอาดๆ คลุม เหนือศีรษะ และสูดหายใจลึกๆ วิธีนี เหมาะสาหรับบรรเทาอาการไข้หวัดได้เป็นอย่างดี
  • 20. การสูดดมจากไอระเหย วิธีที่ 2 คือ ใช้เตานามันหอมระเหยที่มีนาอยู่ 1/3 ส่วน หยดนามันหอมระเหยลงไป พร้อมทังจุดเทียนใต้เตา เมื่อนาร้อนไอนาจะพา กลิ่นหอมระเหยไปทั่วบริเวณ ในประเทศญี่ปุ่น มีการใช้กลิ่นส้มหรือกลิ่นกุหลาบในที่ทางานพบว่า พนักงานทางานได้มีประสิทธิภาพดีขึน NEW UPDATE! เครื่องพ่นอโรมา
  • 21. โดยปกติแล้วเครื่องพ่นอโรม่าจะมีขนาดให้เลือกไม่มาก ตังแต่ขนาดปริมาณนา 100 ml ถึง 300 ml หรือสาหรับเครื่องพ่น ขนาดใหญ่จะมีปริมาณนาถึงระดับ 1000 ml เลยก็ว่าได้ อย่างไรก็ดี ในตลาดส่วนมากแล้วเครื่องพ่นไอนาอโรม่าจะมีปริมาณนาที่สามารถ บรรจุอยู่ภายในเครื่องพ่นไอนาอโรม่าได้ตังแต่ช่วง 100-300 เป็น ปริมาณมาตรฐาน ซึ่งปริมาณขนาด 100 ml นันจะเหมาะสาหรับห้อง ขนาดไม่เกิน 25 ตารางเมตรหรือห้องขนาดคอนโดทั่วไป สาหรับ พืนที่ที่มากขึนอาจจะเลือกใช้เครื่องพ่นไอนาอโรม่าที่มีปริมาณบรรจุนา อยู่ในระดับ 300 จะมีความเหมาะสมกับพืนที่ เครื่องพ่นอโรมา
  • 22. ทังนีความสูงของเพดานในบ้านหรือร้านสปาทั่วไปจะอยู่ที่ประมาณ 2.5 เมตรซึ่งความ สูงของเพดานเหล่านีจะไม่มีผลกับปริมาณการใช้เครื่องพ่นไอนาอโรม่ามาก เพราะปริมาณไอนา เครื่องพ่นอโรม่าเหล่านีจะมีการกระจายตัวฟุ้งอยู่ในระดับพืนหรือในระดับที่คนเดินเป็นหลักไม่มี การกระจายตัวเหมือนเครื่องปรับอากาศแต่อย่างใดที่จะต้องกินพืนที่และปริมาตรของอากาศใน ห้องทังหมด โดยสรุปแล้วการเลือกขนาดของเครื่องพ่นไอนาอโรม่านันคุณเพียงแต่พิจารณาถึง ปริมาณขนาดของพืนที่ห้องที่คุณกาลังจะสร้างบรรยากาศกลิ่นหอมไม่ทั่วเท่านันก็เพียงพอแล้ว เครื่องพ่นอโรมา
  • 23. เครื่องพ่นอโรมา ข้อดีของการใช้เครื่องพ่นอโรมา การใช้เครื่องพ่นอโรมาจะช่วยเพิ่มกลิ่นหอมๆ ภายในห้องให้มีความหอมฟุ้งไปทั่วบริเวณ แม้จะมีไอนาที่ ออกมาจากเครื่องแต่มันจะค่อยๆ ระเหยไปอย่างรวดเร็ว คงเหลือไว้แค่กลิ่นหอมๆ โดยไม่ทาให้เป็นการเพิ่มความชืนใน ห้อง หากเปิดในห้องแอร์ อาจจะทาให้ความชืนมากกว่าห้องปกติซึ่งเป็นความเย็นของระบบการทางานจากแอร์และไอนา จากเครื่องพ่นอโรมาร่วมกัน ซึ่งมีการเพิ่มไอนาเข้ามาจึงทาให้มีกลิ่นอายหอมๆ เข้าไปด้วย ไม่ว่าตามห้องต่างๆ หรือ แม้แต่ร้านสปา ต่างก็หันมาใช้เครื่องนีกันมากขึน
  • 24. การอาบหรือแช่นา หยดนามันหอมระเหย ประมาณ 20-30 หยด ลงในอ่างนาอุ่น จากนันแช่ตัว ประมาณ 20 นาที วิธีนีจะได้รับ ความสดชื่นดีที่สุด อีกทังทาให้ ร่างกายอบอุ่นสามารถฆ่าเชือโรคได้ บรรเทาอาการปวด เมื่อย ผ่อนคลาย ความตึงเครียดได้ กลิ่นที่ใช้ได้ดี คือ กลิ่นโรสแมรี่, เบอร์กามอท, ลาเวนเดอร์ เป็นต้น
  • 25. การนวด เป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพมาก นา- มันหอมระเหยสามารถซึมเข้าสู่ผิวหนังผ่านทางรูขุมขน นอกจากจะมีผลต่อผิวพรรณแล้ว ยังสามารถเข้าสู่ทางเดินโลหิต และไปทั่วทุกส่วนของร่างกาย เชื่อกันว่าการนวดด้วยนามันหอมระเหยเป็นวิธีที่ดี ที่สุดในการดูดซึมเข้าสู่ร่างกาย วิธีใช้ : ให้ เจือจางนามันหอมระเหย 10 หยด กับนามันหลัก 20 มิลลิลิตร แล้วนวดตามต้องการ (นามันหลัก คือ นามันที่สกัดได้จากพืช เช่น นามันจากเมล็ดอัลมอนด์, นามันงา, นามัน โจโจบา หรือนามันเมล็ดองุ่น เป็นต้น
  • 26. “ ในการใช้นามันหอมระเหย มีข้อควรระวัง เนื่องจากนามันหอมระเหยมีความเข้มข้นสูง ควรมีการเจือจางก่อนเมื่อต้องใช้กับผิวหนังโดยตรง มิฉะนันอาจทาให้เกิดอาการแพ้ได้ และควรหลีกเลี่ยงที่จะใช้หญิงมีครรภ์ เด็ก ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ เบาหวาน ลมบ้าหมู ควรจะทาการศึกษารายละเอียด และคาเตือนในการใช้อย่างถี่ถ้วนก่อน “ การนวด
  • 27. บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน โดย รองศาสตราจารย์ ดร. อ้อมบุญ วัลลิสุต ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 28. อโรมาเธอราพี (Aromatherapy) หรือ สุคนธบาบัด คือ ศาสตร์ในการใช้นามันหอมระเหยที่ได้จากการสกัดพืชหอม (ขอยาว่าต้องเป็นนามันหอมระเหยที่ได้จากการสกัดจากพืชเท่านัน) เพื่อการบาบัดรักษาหลายอาการ ตังแต่ อาการติดเชือต่างๆ โรคผิวหนัง ไปจนถึงภูมิคุ้มกันบกพร่องและความเครียด มีการใช้นามันหอมระเหยในยุโรปมากว่าร้อยปี และมีการใช้ในการแพทย์ ตะวันออกมานานกว่าพันปี แต่ในประเทศฝรั่งเศสมีการ ใช้สุคนธบาบัดทางการแพทย์อย่างเป็นระบบ และมีการวิจัยกันอย่างกว้างขวาง ทั่วโลกในทุกๆ ด้าน ส่วนสหรัฐอเมริกานิยมใช้สุคนธบาบัดร่วมกับการแพทย์ทางเลือกอื่นๆ ในการรักษาโรคต่างๆ บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
  • 29. ในประเทศไทยก็มีการใช้แบบพืนบ้านเช่น การเข้ากระโจมแก้หวัด ผู้เขียนจาได้ว่าตอนเป็นเด็กเล็ก เมื่อเป็นหวัดคุณแม่จะให้นั่งอยู่หน้ากาละมังเคลือบที่มีสมุนไพรเปราะหอม หอมแดง ใบมะขาม และเทนาเดือดลงไป พร้อมกับเอาผ้าเช็ดตัวคลุมโปงครอบไว้ทังตัว ไอหอมระเหยเข้าจมูกเข้าไปบาบัดอาการหวัด สักพักเมื่อนาพออุ่นๆ คุณแม่ก็จะเอานานันรดศีรษะไล่หวัดอีกรอบ เป็นอันว่าไปโรงเรียนได้ อดหยุดอยู่กับบ้าน ความรู้ติดตัวนีได้เอาไปใช้ เมื่อผู้เขียนได้ไปทางานที่ประเทศภูฏานแล้วเกิดเป็นไข้หวัดอย่างแรง โดยตื่นขึนมากลางดึกมีอาการปวดหัวมาก มีไข้ ปวดเมื่อยเนือตัว หายใจไม่สะดวก ถ้าเป็นประเทศไทยก็ไปโรงพยาบาล หรือ ให้ลูกดูแล แต่ที่นี่ภูฏาน แถมพาราเซตามอลก็หมด ยาสมุนไพรแก้หวัดก็หมดเพราะใจดีแจกคนอื่นด้วย เลยเข้าครัว โชคดีที่เปราะหอมก็เป็น เครื่องเทศอย่างหนึ่งและเคยซือไว้ แต่ไม่มีหอมแดงใช้หอมฝรั่งแทน ใบมะขามหาไม่ได้ แต่สองอย่างนีก็เพียงพอที่จะขจัด อาการทังหมดนีได้และกลับไปนอนพักต่อ ไปทางานวันรุ่งขึนได้ ยังมีอีกมากมายที่เราใช้สืบต่อกันมา บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
  • 30. ถ้าเป็นประเทศไทยก็ไปโรงพยาบาล หรือ ให้ลูกดูแล แต่ที่นี่ภูฏาน แถมพาราเซตามอลก็หมด ยาสมุนไพรแก้หวัดก็หมดเพราะใจดีแจกคนอื่นด้วย เลยเข้าครัว โชคดีที่เปราะหอมก็เป็น เครื่องเทศอย่างหนึ่งและเคยซือไว้ แต่ไม่มีหอมแดงใช้หอมฝรั่งแทน ใบมะขามหาไม่ได้ แต่สองอย่างนีก็เพียงพอที่จะขจัด อาการทังหมดนีได้และกลับไปนอนพักต่อ ไปทางานวันรุ่งขึนได้ ยังมีอีกมากมายที่เราใช้สืบต่อกันมา บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน
  • 31. บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน แม้แต่การแพทย์แผนปัจจุบันก็มีการใช้ทิงเจอร์กายาน (Benzoin Tincture) มีขายที่โรงพยาบาลศิริราช ซึ่งคุณพ่อของผู้เขียนใช้ในการรมจมูกเพราะท่านเป็นไซนัสอักเสบ และผู้เขียนก็ใช้เป็นประจาเมื่อมีอาการหวัดคัดจมูกร่วมกับ การรมเปราะหอมและหัวหอม วิธีการใช้คือ หากระป๋องผลไม้ขนาดเท่าแก้วกาแฟซึ่งเป็นกระป๋องอลูมิเนียมเคลือบด้านใน ทากรวยขนาดพอดีครอบปากกระป๋อง ใช้กระดาษแข็งพอม้วนได้ ตัดปลายแหลมให้มีช่องพอให้ไอระเหยออกมาได้ ต้มนาเดือดจัดเทลงในกระป๋อง สัก 3/4 กระป๋อง เททิงเจอร์กายานลงไปประมาณ 5 ซีซี หรือหนึ่งช้อนชา รีบเอากรวยครอบ และเอาจมูกไปสูดดมที่ช่อง ระวังไอร้อนลวกจมูกจากการสูดดมใกล้เกินไป ควรใช้หลังมือสัมผัสไอที่ระเหยออกมาก่อนว่าร้อนไปหรือไม่ และระยะห่างแค่ไหนจึงพอดี เราต้องการกลิ่นหอมไม่ใช่ความร้อน เมื่อเย็นลงจะสามารถสูดดมได้ใกล้ขึนๆ เมื่อไม่มีไอระเหยออกมาแล้ว เทนาทิงแล้วสูดดมสารหอมที่เหลือติดก้นกระป๋องทาให้หายใจโล่ง กระป๋องนีเก็บไว้ใช้ได้อีกไม่ต้องล้าง เพราะกายานใช้เป็นยากันบูด ในยาไทยและเครื่องสาอาง ถ้าอยากล้างต้องใช้แอลกอฮอลล์ละลายสารเรซินที่ติดอยู่ออกไปก่อนจึงล้างตามปกติได้
  • 32. บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน ในด้านวิทยาศาสตร์ อโรมาเธอราพี เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งของ Herbal Medicine เพราะเป็นการใช้นามันหอมระเหย (essential oil) ที่ได้จากการกลั่นพืชหอม หรือ ด้วยการสกัดด้วย วิธีต่างๆ โดยนามัน (essence) ของพืชเหล่านีมีคุณสมบัติในการรักษา ส่วนของพืชอาจจะเป็น ดอก ใบ กิ่ง เปลือก แก่น ยาง ผล หรือ เมล็ดก็ได้ แต่เนื่องจากมีปริมาณน้อยจึงต้องใช้วัตถุดิบพืชจานวนมาก และส่งผลให้ มีราคาแพง จึงมีการใช้กลิ่นสังเคราะห์ปนปลอม จึงขอเตือนว่าผู้ที่ต้องการผลบาบัดต้องใช้นามันหอมระเหยจากพืชเท่านัน ที่จริงแล้วส่วนที่ทาการบาบัดคือร่างกายเราเอง แต่โมเลกุลเล็กๆ หลายๆ โมเลกุลในนามันหอมระเหยเข้าสู่สมองของเรา ผ่านประสาทรับกลิ่นที่อยู่ในโพรงจมูกด้านบน ซึ่งส่วนนีใกล้สมองมาก และทาให้เกิดปฏิกิริยาตอบสนองทางเภสัชวิทยา ของร่างกายมนุษย์
  • 33. บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน ในนามันหอมระเหยมีโมเลกุลเล็กๆ นับร้อยโมเลกุล และทุกๆ โมเลกุลล้วนมีผลต่อการบาบัดรักษา มิใช่แต่เพียงสารที่มีมากเท่านัน นามันหอมระเหยหลายๆ ชนิดมีส่วนประกอบที่คล้ายๆ กัน อาจต่างกันบ้าง ในบางโมเลกุลและสัดส่วน แต่ให้ผลการรักษาที่ต่างกัน รวมทังกลิ่นซึ่งมีความเฉพาะเจาะจงกับพืชแต่ละชนิด (essence) เช่น กลิ่นมะลิ ก็จะไม่พบในดอกกุหลาบ เป็นต้น
  • 35. ข้อควรระวังในการใช้นามันหอมระเหย ในการใช้นามันหอมระเหย ควรศึกษาวิธีการใช้ให้ละเอียดก่อน เพราะ ถึงแม้ว่าวิธีการใช้ ง่ายแต่ก็มีข้อมูลอีกหลายอย่างที่ควรทราบและพึงระวัง ดังนี 1. ควรเจือจางนามันหอมระเหยด้วย carrier oil ก่อนใช้ เนื่องจากนามันหอมระเหยที่ เข้มข้นอาจทาให้ ระคายเคืองได้ และไม่ควรให้นามันหอมระเหยสัมผัสบริเวณรอบดวงตาและผิว ที่อ่อนบาง 2. ก่อนใช้นามันหอมระเหย ควรทดสอบก่อนว่าเกิดอาการแพ้หรือไม่ 3. นามันหอมระเหยบางชนิดเหนี่ยวนาให้ ผิวหนังมีความไวต่อแสง (photosensitive) เช่นนามันมะกรูด นามันมะนาว ฯลฯ ดังนันจึงควร หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดโดยตรงภายหลัง จากการ ใช้นามันหอมระเหย เป็นเวลาอย่างน้อย 4 ชั่วโมง ข้อควรระวังในการใช้นามันหอมระเหย
  • 36. 4. สตรีที่อยู่ในระหว่างการตังครรภ์ควร หลีกเลี่ยงการใช้นามันหอมระเหยต่อไปนี คือ นามัน โหระพา นามันกานพล ูนามันเปปเปอร์มินต์ นามันกุหลาบ นามันโรสแมรี่ นามันแคลรี่ เซจ (clary sage oil) นามันไทม์ (thyme oil) นามันวินเทอร์กรีน (wintergreen oil) นามัน มาร์ โจแรม (marjoram oil) และเมอร์ (myrrh) 5. ผู้ที่เป็นโรคลมชัก และผู้ที่มีความดันโลหิตสูง ควรหลีกเลี่ยงนามันโรสแมรี่ นามันเซจ (sage oil) 6. ควรเก็บนามันหอมระเหยในขวดที่มีสี เข้ม ในที่ปลอดภัยห่างจากมือเด็กและเปลวไฟ 7. ไม่ควรรับประทานนามันหอมระเหย นอกจากได้รับคาแนะน้าจากผู้เชี่ยวชาญ ข้อควรระวังในการใช้นามันหอมระเหย
  • 37. อ้างอิง -เว็บไชต์กรมสุขภาพจิต https://www.dmh.go.th/ -แบบประเมินความเครียดของกรมสุขภาพจิต https://www.dmh.go.th/test/qtest5/ -บทความโรคเครียด โรงพยาบาลวิภาวดี https://www.vibhavadi.com/health316 -บทความอโรมาเธอราพี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/ -บทความอโรมาเธอราพี โรงงานสบู่Factory spa soap https://www.spasoapfactory.com/article/ -บทความอโรมาเธอราพี นาหอมไอดู https://idofragrance.com/ -บทความอโรมาเธอราพี Pobpad https://www.pobpad.com/aromatherapy -บทความอโรมาเธอราพี กองการแพทย์ทางเลือก https://thaicam.go.th -เครื่องพ่นอโรมาใช้ไม่ยากอย่างที่คิด,ก้านไม้หอมปรับอากาศ https://idofragrance.com/
  • 38. ผู้จัดทา นางสาว กรณิศ นิกรพันธุ์ เลขที่ 13 นางสาว ญาณิศา อูปอินทร์ เลขที่ 33