SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
ประวัติความเป็นมาลีลาศ
ในสมัยดึกดำบรรพ์ ชำวสปำร์ต้ำ จะฝึกกีฬำเช่น ชกมวย, ยิงธนู, วิ่ง, ขี่ม้ำล่ำสัตว์ รวมกำร เต้นรำ
ส่วนชำวโรมันมีกำรเต้นรำเพื่อแสดงควำมกล้ำหำญ ผู้ที่มีชื่อเสียงในกำรเต้นตำของโรมันคือ ซีซีโร (Cicero:106 –43B.C.)
กำรเต้นรำแบบบอลรูม เริ่มตั้งแต่สมัยพระนำงเจ้ำอลิซำเบ็ธที่1ซึ่งสมัยนั้นครั่งไคล้กำรเต้นรำที่เรียกว่ำ “โวลต้ำ” (Volta)
ซึ่งมีกำรจับคู่แบบวอลซ์ในปัจจุบัน กำรเต้นแบบโวลต้ำนั้นฝ่ำยชำยจะช่วยให้ฝ่ำยหญิงกระโดดขึ้นในอำกำศด้วย ซึ่งพระรำชินีเอง
ทรงพอพระทัยมำก
เช็คสเปียร์ (Shakespeare :1564–1616) อยู่ในกรุงลอนดอนหลำยปี ได้กล่ำวไว้ในบทละครเรื่องพระเจ้ำเฮนรี่ที่5 ว่ำ
มีกำรเต้นอีกอย่ำงเรียกว่ำ “โคแรนโท หรือ โคแรนเท” (Courante)
สมัยศตวรรษที่ 17 กำรเต้นรำมีแบบแผนมำกขึ้น จอห์น วีเวอร์ และ จอห์น เพทฟอร์ด(JohnWeaver& JohnPlayford)
เป็นนักเขียนชำวอังกฤษที่มีชื่อเสียง เพลฟอร์ดได้เขียนเกี่ยวกับกำรเต้นรำแบบเก่ำของอังกฤษซึ่งรวบรวมได้ถึง 900แบบอย่ำง
แซมมวล ไพปส์ (SamuelPepys :1632 –1704) ได้เขียนบันทึกประจำวันในสมัยกำรปกครองของพระเจ้ำชำร์ลส์ที่ 2
และได้บันทึกไว้เมื่อค.ศ.1662 ถึงงำนรำตรีสโมสร ซึ่งพระเจ้ำชำร์ลส์ที่ 2ทรงพำสุภำพสตรีออกเต้น “โคแรนโท” (Coranto)
กำรเต้นรำได้แพร่เข้ำมำประเทศฝรั่งเศส เปลี่ยนมำเรียกเป็นสำเนียงฝรั่งเศสว่ำคองเทรดองเซ่(Conterdanse)
พระเจ้ำหลุยส์ที่14ทรงโปรดปรำนมำกและต่อมำได้แพร่หลำยไปยังประเทศอิตำลีและ สเปน
กำรเต้นรำแบบบอลรูมในจังหวะวอลซ์ (Waltz) ได้เริ่มขึ้นประมำณค.ศ. 1800เป็นจังหวะที่นิยมกันมำกในสมัยนั้น
ในสมัยพระนำงเจ้ำวิคตอเรีย (The VictorianEra :1830 –80)กำรไปงำนรำตรีสโมสร หนุ่มสำวจะไปเป็นคู่ๆ
ต้องต่ำงคนต่ำงไป และฝ่ำยชำยจะขอลีลำศกับหญิงคนเดิมมำกกว่ำ 4ครั้ง ไม่ได้หญิงโสดก็จะต้องมีพี่เลี้ยงไปด้วย
ฝ่ำยหญิงจะมีบัตรเล็กๆ สีขำวจดบันทึกไว้ว่ำ เพลงใดมีชำยขอจองลีลำศไว้บ้ำง
ในศตวรรษที่ 20 นิโกรในอเมริกำมีบทบำทมำกทำงด้ำนดนตรี และลีลำต่ำงๆ ในนิวออร์ลีน
มีกำรเล่นดนตรีแบบพื้นเมืองของอำฟริกำ ตอนแรกเรียกว่ำจังหวะ (Syncopation) มีท่วงทำนองเร้ำใจ และเป็นจุดเริ่มต้นของยุคแจ๊ส
(Jazz Age) สมัยเริ่มสงครำมโลกครั้งที่1 ใหม่ๆ ดนตรีจังหวะนี้ก็เข้ำมำแพร่หลำยในอังกฤษพร้อมๆ
กันนั้นก็มีจังหวะพื้นเมืองอีกจังหวะหนึ่งมำจำกอเมริกำใต้คือจังหวะแทงโก(Tango)
ซึ่งมีจุดกำเนิดมำจำกเพลงพื้นเมืองของพวกคำวบอยในอำร์เยนตินำยุคนั้นเรียกว่ำแร็กโทม์ (Rag–Time)
ซึ่งกำรเต้นไม่มีกฏเกณฑ์อะไร
ต่อมำประมำณปี ค.ศ.1929
มีครูลีลำศในอังกฤษรวมกันเป็นคณะกรรมกำรปรับปรุงกำรลีลำสแบบบอลรูมขึ้นมำเป็นมำตรฐำน 4จังหวะ
(ถ้ำรวมควิกวอลซ์ด้วยจะเป็น 5จังหวะ)ถือว่ำเป็นแบบฉบับของชำวอังกฤษ คือวอลซ์ (Waltz) ควิกสเต็ป (Quickstep) แทงโก
(Tango) และ ฟอกซ์ทรอต (Fox-trot)
เนื่องจำกอิทธิพลของยุคแจ๊ส(Jazz Age) ก็ได้เกิดกำรลีลำศแบบลำตินอเมริกำ ซึ่งจัดไว้เป็นมำตรฐำน 4จังหวะ
(ถ้ำรวมพำโซโดเบิ้ล ก็จะเป็น 5จังหวะ)คือรัมบ้ำ (Rumba) ชำ ชำ ช่ำ (Cha –Cha –Cha) แซมบ้ำ (Samba) และไจว์ฟ (Jive)
โดยคัดเลือกจำกกำรลีลำศประจำชำติต่ำงๆ เช่น แซมบ้ำจำกบรำซิล รัมบ้ำจำกคิวบำ พำโซโดเบิ้ลจำกสเปน และไจว์ฟจำกอเมริกำ
การลีลาศในประเทศไทย
กำรลีลำศในประเทศไทยเกิดขึ้นเมื่อใดนั้นไม่มีหลักฐำนยืนยันได้แน่ชัดแต่จำกบันทึกของแหม่มแอนนำ
ทำให้มีหลักฐำนเชื่อได้ว่ำ เมืองไทยมีลีลำศมำตั้งแต่สมัยรัชกำลที่ 4
และบุคคลที่ได้รับกำรยกย่องให้เป็นนักลีลำศคนแรกก็คือ พระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว
ตำมบันทึกของแหม่มแอนนำเล่ำว่ำ ในช่วงหนึ่งของกำรสนทนำได้พูดถึงกำรเต้นรำ
ซึ่งแหม่มแอนนำพยำยำมสอนพระองค์ท่ำนให้รู้จักกำรเต้นรำแบบสุภำพ ซึ่งเป็นที่นิยมของชำติตะวันตก พร้อมกับแสดงท่ำ
และบอกว่ำจังหวะวอลซ์นั้นหรูมำก มักนิยมเต้นกันในวังยุโรปซึ่งพระองค์ท่ำนก็ฟังอยู่เฉยๆ ไม่ออกควำมเห็นใดๆ
แต่พอแหม่มแอนนำแสดงท่ำ พระองค์ท่ำนกลับสอนว่ำใกล้เกินไปแขนต้องวำงให้ถูก และ พระองค์ท่ำนก็เต้นให้ดู
จนแหม่มแอนนำถึงกับงง จึงทูลถำมว่ำใครเป็นคนสอนให้พระองค์ ท่ำนก็ไม่ตอบจึงไม่รู้ว่ำใครเป็นผู้สอนพระองค์
สันนิษฐำนกันว่ำพระองค์ท่ำนคงจะศึกษำจำกตำรำด้วยพระองค์เอง
ในสมัยรัชกำลที่ 5 กำรเต้นรำยังไม่เป็นที่แพร่หลำยมำกนักคงมีแต่เจ้ำนำยในวังที่เต้นกัน
ส่วนใหญ่มักจะเต้นจังหวะวอลซ์เพียงอย่ำงเดียว
และบำงครั้งได้มีกำรนำเอำจังหวะวอลซ์ไปสอดแทรกในกำรแสดงละครด้วย เช่น เรื่องพระอภัยมณี
ตอนที่กล่ำวถึงนำงละเวงได้กับพระอภัยมณี
ในสมัยรัชกำลที่ 6 ทุกๆ ปีในงำนเฉลิมพระชนมพรรษำก็มักจะจัดให้มีกำรเต้นรำกันใน พระบรมมหำรำชวัง
โดยมีองค์พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวเป็นประธำน ซึ่งบรรดำทูตำนุทูตทั้งหลำยต้องเข้ำเฝ้ำ
ส่วนแขกที่ชิญนั้นต้องได้รับบัตรเชิญจึงจะเข้ำไปในงำนได้
ในสมัยรัชกำลที่ 7 กำรเต้นรำได้รับควำมนิยมมำกขึ้น ได้เปิดให้มีกำรเต้นกันตำมสถำนที่ต่ำงๆกันมำก เช่น
ที่ห้อยเทียนเหลำเก้ำชั้น โลลิต้ำและคำร์เธ่ย์
ในพุทธศักรำช 2475หม่อมเจ้ำวรรณไวทยำกรวรรณ กับนำยหยิบณนคร
ได้ปรึกษำกันและจัดตั้งสมำคมที่เกี่ยวกับกำรเต้นรำขึ้น ชื่อ “ สมำคมสมัครเล่นเต้นรำ” โดยมีหม่อมเจ้ำไวทยำกรวรวรรณ
เป็นประธำน นำยหยิบณนครเป็นเลขำธิกำรสมำคม และมีคณะกรรมกำรอีกหลำยท่ำน เช่น หลวงเฉลิม สุนทรกำญจน์
นำยแพทย์เติม บุนนำคพระยำปกิตกลสำร พระยำวิชิตหลวงสุขุม นัยประดิษฐ์หลวงชำติตระกำรโกศล
สถำนที่ตั้งสมำคมนั้นไม่แน่นนอนคือวนเวียนไปตำมบ้ำนสมำชิกแล้วแต่สะดวก
กำรตั้งเป็นสมำคมครั้งนี้ไม่ได้จดทะเบียนให้เป็นที่ถูกต้องแต่อย่ำงใด สมำชิกส่วนมำกเป็นข้ำรำชกำรชั้นผู้ใหญ่
ซึ่งได้พำบุตรหรือบุตรีเข้ำฝึกหัดด้วย ทำให้สมำชิกเพิ่มขึ้นมำอย่ำงรวดเร็ว มักจัดให้มีงำนเต้นรำขึ้นบ่อยๆ
ที่สมำคมคณะรำษฎร์ วังสรำญรมย์ และได้จัดแข่งขันกำรเต้นรำขึ้นครั้งแรกที่วังสรำญรมย์นี้ ผู้ชนะเลิศเป็นแชมเปี้ยนคือ
พลเรือตรีเฉียบแสงชูโต และคุณประนอม สุขุม
ในปี พ.ศ. 2476 นักศึกษำกลุ่มหนึ่งเห็นว่ำคำว่ำ “ เต้นรำ” เมื่อผวนแล้วจะฟังไม่ไพเรำะหู
ดังนั้นหม่อมเจ้ำไวทยำกรวรวรรณ จึงบัญญัติศัพท์คำว่ำ “ลีลำศ” ขึ้นแทนคำว่ำ “เต้นรำ” นับแต่บัดนี้เป็นต้นมำ
ต่อมำสมำคมสมัครเล่นเต้นรำก็สลำยตัวไปกลำยเป็น “สมำคมครูลีลำศแห่งประเทศไทย” โดยมีนำยหยิบณนคร
เป็นผู้ประสำนงำนจนสำมำรถส่งนักลีลำศไปแข่งยังต่ำงประเทศได้
รวมทั้งให้กำรต้อนรับนักลีลำศชำวต่ำงชำติที่มำเยี่ยมหรือแสดงในเมืองไทย ในช่วงที่เกิดสงครำมโลกครั้งที่ 2
ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่เข้ำร่วมสงครำมโลกครั้งนี้ด้วย จึงทำให้กำรลีลำศซบเซำไป
เมื่อสงครำมโลกครั้งที่ 2สิ้นสุดลง ในเดือนกันยำยน พ.ศ. 2488
วงกำรลีลำศของเมืองไทยก็เริ่มคึกคักมีชีวิตชีวำขึ้นดังเดิม มีโรงเรียนสอนลีลำศเปิดขึ้นหลำยแห่ง
โดยเฉพำะสำขำบอลรูมหรือ ModernBallroom Branch อำจำรย์ยอดบุรี
ซึ่งไปศึกษำที่ประเทศอังกฤษแล้วนำกลับมำเผยแพร่ใน เมืองไทย ทำให้กำรลีลำศซึ่ง ศำสตรำจำรย์ศุภชัย วำนิชวัฒนำ
เป็นผู้นำอยู่ก่อนแล้วเจริญขึ้นเป็นลำดับ
ต่อมำได้มีบุคคลชั้นนำในกำรลีลำศประมำณ 10ท่ำน
ซึ่งเคยเป็นผู้ชนะเลิศในกำรแข่งขันในสมัยหลังสงครำมโลกครั้งที่2เช่น คุณกวีกรโกวิท , คุณอุไร โทณวนิก , คุณจำลอง
มำณยมฑลคุณปัตตำนะ เหมะสุจิ โดยมีนำยแพทย์ประสบวรมิศร์ เป็นผู้ประสำนงำนติดต่อพบปะปรึกษำหำรือ
และมีแนวควำมคิดจะรวมนักลีลำศทั้งหมดให้อยู่ในสมำคมเดียวกัน
เพื่อเป็นกำรผนึกกำลังและช่วยกันปรับปรุงมำตรฐำนกำรลีลำศทั้งทำงทฤษฎีและทำงปฏิบัติ ซึ่งทุกคนเห็นพ้องต้องกัน
จึงมีกำรร่ำงระเบียบข้อบังคับขึ้นมำ ได้ยื่นจดทะเบียนเป็นสมำคมตำมกฎหมำย เมื่อวันที่7สิงหำคม พ.ศ. 2491
ซึ่งสภำวัฒนธรรมแห่งชำติ ได้อนุญำติให้จัดตั้ง “ สมำคมลีลำศแห่งประเทศไทย ” เมื่อวันที่16ตุลำคม 2491
โดยมีหลวงประกอบนิติสำร เป็นนำยกสมำคมคนแรก ปัจจุบันสมำคมแห่งประเทศไทย
เป็นสมำชิกของสภำกำรลีลำศนำนำชำติ ด้วยประเทศหนึ่ง
หลังจำกนั้นกำรลีลำศได้รับควำมนิยมแพร่หลำยเป็นอย่ำงมำก มีกำรจัดตั้งสมำคมลีลำศขึ้น
มีสถำนลีลำศเปิดเพิ่มขึ้น มีกำรจัดส่งนักกีฬำลีลำศไปแข่งขันในต่ำงประเทศ
และจัดแข่งขันลีลำศนำนำชำติขึ้นในประเทศไทย ในสมัยจอมพลสฤษณ์ ธนะรัตต์ได้ให้เรียนสอนลีลำศต่ำงๆ
สังกัดกระทรวงศึกษำธิกำร และมีกำรกำหนดหลักสูตรลีลำศขึ้นอย่ำงเป็นแบบแผน
มีสถำบันที่เปิดสอนลีลำศเกิดขึ้นเกือบทุกจังหวัด ปัจจุบันมีหลักสูตรกำรสอนลีลำศในสถำนศึกษำ ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษำ
จนถึงระดับอุดมศึกษำ
ความรู้พื้นฐานในการเต้นลีลาศ
ในกำรฝึกลีลำศ จะต้องคำนึงถึงทักษะเบื้องต้นของกำรลีลำศเป็นอันดับแรก และจะต้องปฏิบัติให้ถูกต้อง
ฝึกหัดจนเกิดควำมชำนำญ หำกละเลยถึงหลักและทักษะเบื้องต้นจะทำให้ผู้ฝึกลีลำศขำดควำมก้ำวหน้ำ
และไม่มีศิลปะของกำรลีลำศอย่ำงแท้จริง ทักษะเบื้องต้นของกำรฝึกลีลำศเพื่อให้เกิดควำมชำนำญ มีดังนี้
โครงสร้างของดนตรีประกอบด้วย
1. จังหวะ (beat) หมายถึง เสียงที่เกิดขึ้นและตกบนตัวโน้ตทุกตัว
หรือหมู่ของเสียงที่ทาให้เกิดจังหวะขึ้นในห้องเพลง โดยปกติจะตกบนตัวโน้ตตัวแรกของห้องเพลง เช่น
จังหวะ 2/4 จังหวะ 3/4 หรือจังหวะ 4/4
2. เสียงเน้น (Accent) หมายถึง เสียงที่เคาะลงบนจังหวะ จะได ้ยินชัดเจนมากกว่าเสียงเคาะในห้องเพลง
โดยปกติจะตกบนตัวโน้ตตัวแรกของห้องเพลง
3. ห้องเพลง (bar) หมายถึง
กลุ่มของจังหวะที่ประกอบกันขึ้นเป็นช่วงหรือตอนปกติจะอยู่ระหว่างเสียงเน้นเสียงหนึ่งกับเสียงเน้นอีกเสียงห
นึ่ง
4. ความเร็ว (Tempo) หมายถึง อัตราความเร็วของดนตรีที่บรรเลงโดยใช ้เวลาเป็นตัวกาหนด เช่น ใน 1
นาทีจะบรรเลงกี่ห้องเพลง การหัดฟังจังหวะดนตรีควรเลือกฟังจากดนตรีที่มีเสียงชัดเจน ฟังง่าย
ถ้าเป็นดนตรีจังหวะ 2/4 จะได ้ยินเสียงเคาะลงบนจังหวะ 2 จังหวะใน 1 ห้องเพลง เสียงที่ได ้ยินแต่ละครั้งใน 1
ห้องเพลงนั้น จะมีเสียงหนึ่งเป็นเสียงหนักและอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงเบาต่อเนื่องกันไปทุก ๆ ห้องเพลง
การฝึกนับจังหวะจะนับ 1 – 2 , 1 – 2 , 1 – 2 ………… ไปเรื่อย ๆ จนจบเพลง
ทิศทางในการลีลาศ (Line of Dance)
เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา (Counter Clockwise)
เป็นทิศทางของการลีลาศซึ่งถือเป็นสากล ดังนั้นในการลีลาศจะต ้องลีลาศไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
ทั้งนี้เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งเป็นการป้องกันมิให้ลีลาศไปชนกับคู่อื่น ทิศทางนี้เรียกว่า “แนวลีลาศ” (Line
of Dance) ซึ่งนิยมเรียกกันด ้วยคาย่อว่า L.O.D.
การลีลาศในแต่ละจังหวะหรือแต่ละลวดลาย (Figure) มีการเริ่มต ้นและสิ้นสุดในทิศทางที่แตกต่างกัน
ผู้ฝึกลีลาศจึงควรทาความเข ้าใจ
เกี่ยวกับทิศทางการเคลื่อนที่ในการลีลาศให้ถูกต ้องเสียก่อนจะทาให้สามารถฝึกลีลาศได ้อย่างรวดเร็วและถูกต ้องตามเ
ทคนิคของการลีลาศ ตาแหน่งการยืนในการลีลาศ (Position of Stand)
จะสัมพันธ์กับทิศทางที่ผู้ลีลาศหันหน้าไปในทิศทางต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่ 8 ทิศทาง
การเรียกชื่อตาแหน่งที่ยืนจะเรียกตามทิศทางที่หันหน้าไป ดังนี้
1. ยืนหันหน้าตามแนวลีลาศ (Facing Line of Dance)
2. ยืนหันหน้าย้อนแนวลีลาศ (Facing Against Line of Dance)
3. ยืนหันหน้าเข ้ากลางห้องหรือกลางฟลอร์ (Facing Centre)
4. ยืนหันหน้าเข ้าฝาห้อง (Facing Wall)
5. ยืนหันหน้าเฉียงกลางห้องตามแนวลีลาศ (Facing Diagonally of Centre)
6. ยืนหันหน้าเฉียงฝาตามแนวลีลาศ (Facing Diagonally of Wall)
7. ยืนหันหน้าเฉียงฝาย้อนแนวลีลาศ (Facing Diagonally of Wall Against Line of Dance)
8. ยืนหันหน้าเฉียงกลางห้องย้อนแนวลีลาศ (Facing Diagonally of Centre Against Line of Dance)
การจัดทิศทางและการเคลื่อนไหวเท้า (Alignmentand FootWork)
การจัดทิศทาง(Alignment)
กำรจัดทิศทำงมีส่วนสัมพันธ์กับทิศทำงในกำรลีลำศ เป็นส่วนที่อธิบำยถึงทิศทำงในกำรลีลำศให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
เนื่องจำกทิศทำงกำรลีลำศจะบอกเพียงว่ำ คู่ลีลำศจะเคลื่อนที่ไปทำงไหน จึงต้องมีกำรอธิบำยถึงกำรจัดทิศทำง
เพื่อให้เกิดกำรปฏิบัติเป็นรูปแบบมำตรฐำนเดียวกัน โดยจะใช้คำอยู่ 3คำในกำรจัดทิศทำงคือ หันหน้ำ(Facing) หันหลัง
(backing) และชี้เท้ำ (Pointing) โดยกำรหันหน้ำหรือหันหลังจะระบุอย่ำงชัดเจนว่ำ หันหน้ำเข้ำฝำห้อง
หันหลังเฉียงฝำย้อนแนวลีลำศ เป็นต้น ส่วนกำรชี้เท้ำจะใช้เมื่อก้ำวเท้ำเดินไปทำงด้ำนข้ำง
หรือกำรก้ำวเท้ำชี้ไปนอกทิศทำงที่หันหน้ำอยู่ในขณะอย่ำงถูกต้อง
การเคลื่อนไหวเท้า (Foot Work)
การเคลื่อนไหวเท้า หมายถึง การใช ้ส่วนของเท้าสัมผัสกับพื้นในแต่ละก้าว (Step)
การเคลื่อนไหวเท้ามีประโยชน์ที่จะนามาปฏิบัติเป็นความรู้เบื้องต ้น เกี่ยวกับการวางเท้าให้ถูกต ้องในแต่ละก้าว
คาที่ใช ้เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวเท้า มีดังนี้
1. ส ้นเท้า (Hell) หมายถึง ให้ส่วนของส ้นเท้าสัมผัสพื้นก่อน
2. ปลายเท้า (Toe) หมายถึง ให้ส่วนของโคนนิ้วเท้าถึงปลายนิ้วเท้า สัมผัสพื้นก่อน
3. จุดหมุนของเท้า (ball of Foot) หมายถึง ให้ส่วนของฝ่ าเท้าถึงโคนนิ้วเท้าสัมผัสพื้นก่อน
4. ฝ่ าเท้า (Whole Foot) หมายถึง ให้ทุกส่วนของเท้าสัมผัสพื้นก่อน
การฝึกเดินในการลีลาศ (GeneralOutline ofThe Walk)
มีคำพูดว่ำ “ถ้ำท่ำนเดินได้ท่ำนก็สำมำรถลีลำศได้” คำพูดนี้คงจะไม่เป็นควำมจริงนัก เพรำะท่ำทำงกำรเดินทั่ว ๆ
ไปกับกำรเดินในกำรลีลำศนั้นไม่เหมือนกัน เพียงแต่มีควำมสัมพันธ์กันเท่ำนั้น กล่ำวคือ กำรเดินในกำรลีลำศ
มีกำรเคลื่อนไหวเท้ำทั้งสองข้ำงติดต่อกันไปบนฟลอร์ลีลำศ ตำมลวดลำย (Figure) ของแต่ละจังหวะ ดังนั้นอำจกล่ำวได้ว่ำ
“คนที่เดินได้สำมำรถเรียนรู้และฝึกลีลำศได้” กำรเดินในกำรลีลำศแตกต่ำงไปจำกกำรเดินธรรมดำ คือ
ขณะเดินไม่ว่ำจะก้ำวเท้ำไปข้ำงหน้ำหรือถอยหลังก็ตำม ปลำยเท้ำจะชี้ตรงไปข้ำงหน้ำเสมอ
เท้ำทั้งสองข้ำงลำกผ่ำนกันจนเกือบสัมผัสกัน และถ่ำยน้ำหนักตัวไปยังเท้ำที่ก้ำวไปใหม่เสมอดังนั้น
ท่ำทำงกำรเดินจึงนับว่ำเป็นพื้นฐำนสำคัญในกำรลีลำศที่ผู้ฝึกลีลำศใหม่ ๆ ควรให้ควำมสนใจ และฝึกฝนให้ถูกต้องเสียก่อน
กำรจัดทรวดทรงหรือกำรวำงลำตัวที่ดี เป็นบุคลิกภำพที่มีคุณค่ำต่อกำรลีลำศ เพรำะทำให้ดูแล้วสง่ำงำมน่ำมอง
กำรที่ลีลำศได้แต่ไม่สวยงำม อำจเนื่องมำจำกกำรละเลยหรือไม่ให้ควำมสนใจในกำรจัดทรวดทรงของตนเอง เช่น เข่ำงอ
ไหล่ห่อท้องยื่น เป็นต้น ซึ่งจะทำให้ทรวดทรงของบุคคลนั้นอยู่ในลักษณะที่ห่อเหี่ยวดูเฉื่อยชำ ไม่กระฉับกระเฉง
หรือมองดูคล้ำยกับคนเหนื่อยอ่อน ดังนั้นผู้ที่มีทรวดทรงไม่ดีไม่สง่ำงำม จะต้องปรับปรุงแก้ไขด้วยกำรฝึกฝนตนเองบ่อย ๆ
ดังนี้
การเดินไปข้างหน้าของผู้ชาย (The Forward Walk Gentlemen)
กำรจัดทรวดทรง : ยืนตัวตรงหย่อนเข่ำเล็กน้อยแต่ไม่ถึงกับย่อเข่ำ
ลำตัวตั้งแต่เท้ำถึงศรีษะเอนไปข้ำงหน้ำจนรู้สึกว่ำน้ำหนักตัวอยู่ที่ปลำยเท้ำ แต่ส้นเท้ำไม่ลอยพ้นพื้น
ในกำรเอนลำตัวไปข้ำงหน้ำนั้น พยำยำมรักษำลำตัวตั้งแต่สะโพกขึ้นไปให้อยู่ในลักษณะตั้งตรง
เมื่ออยู่ในท่ำลักษณะดังกล่ำวแสดงว่ำพร้อมที่จะก้ำวเดิน
กำรเคลื่อนไหวขำและเท้ำ : โดยทั่วไปนิยมให้ผู้ชำยเริ่มต้นก้ำวเท้ำเดินด้วยเท้ำซ้ำยก่อนในกำรเริ่มต้น
จะเริ่มด้วยกำรให้น้ำหนักตัวอยู่ที่เท้ำขำว แล้วก้ำวเท้ำซ้ำยโดยเคลื่อนจำกสะโพกไป ข้ำงหน้ำ
ขณะที่เท้ำซ้ำยผ่ำนปลำยเท้ำขวำ ส้นเท้ำขวำจะเริ่มยกขึ้นพ้นพื้น และเมื่อก้ำวเท้ำซ้ำยออกไปเต็มที่แล้ว
ส้นเท้ำซ้ำยและปลำยเท้ำขวำจะสัมผัสพื้นพร้อมกัน
ให้วำงปลำยเท้ำซ้ำยรำบลงกับพื้นทันทีในขณะที่ลำตัวยังคงเคลื่อนที่ไปข้ำงหน้ำ ถ่ำยน้ำหนักตัวลงบนเท้ำซ้ำย
กำรก้ำวเท้ำขวำไปข้ำงหน้ำ ให้ลำกปลำยเท้ำไปกับพื้นและเคลื่อนผ่ำนเท้ำซ้ำยเช่นเดียวกับกำรก้ำวเท้ำเดินด้วยเท้ำซ้ำย
กำรถ่ำยน้ำหนักตัวขณะก้ำวเท้ำเดินจำกตำแหน่งที่อยู่กับที่
น้ำหนักตัวส่วนใหญ่จะอยู่บนปลำยเท้ำก่อนที่จะเริ่มก้ำวเท้ำออกไป ขณะกำลังก้ำวเท้ำเดิน
น้ำหนักตัวจะอยู่บนเท้ำที่ไม่ได้ก้ำว และเมื่อก้ำวเท้ำเกินออกไปเต็มที่แล้ว
น้ำหนักตัวจะถูกแบ่งอยู่ระหว่ำงส้นเท้ำหน้ำกับปลำยเท้ำหลัง แล้วค่อย ๆ ถ่ำยน้ำหนักตัวไปที่เท้ำหน้ำ
เมื่อวำงเท้ำหน้ำลงเต็มเท้ำน้ำหนักตัวทั้งหมดจะมำอยู่บนเท้ำหน้ำทันที
ข้อควรระวัง : จำกลักษณะท่ำยืนอยู่กับที่ จะรู้สึกว่ำลำตัวเคลื่อนไปข้ำงหน้ำก่อนเท้ำ
แต่ถ้ำเท้ำเคลื่อนที่ไปข้ำงหน้ำก่อนลำตัว น้ำหนักตัวจะถูกส่งไปข้ำงหลังมำกเกินไป
ตลอดเวลำที่กำลังเดินอยู่ปล่อยเข่ำให้สบำยและหย่อนเข่ำตำมธรรมชำติ ขำจะตรงเมื่อก้ำวเท้ำไปเต็มที่แล้วแต่ไม่
เกร็งเข่ำ
การเดินถอยหลังของผู้หญิง(The backward Walk Lady)
กำรจัดทรวดทรง : ยืนตัวตรงปล่อยเข่ำตำมสบำยแต่อย่ำให้งอ
วำงลำตัวเอนไปข้ำงหลังเล็กน้อยจนน้ำหนักตัวอยู่บนส้นเท้ำทั้งสองข้ำง
กำรทำเช่นนี้จะไม่ช่วยในกำรทรงตัวแต่ทำให้มองดูแล้วสง่ำงำม พยำยำมอย่ำเอนลำตัวไปข้ำงหลังมำกเกินไป
เพรำะจะทำให้เกิดส่วนโค้งที่ไม่สวยงำมของหลังขึ้น
ถึงแม้ว่ำผู้หญิงจะเอนลำตัวไปข้ำงหลัง แต่ก็ต้องออกแรงต้ำนกำรเคลื่อนที่ไปข้ำงหน้ำของผู้ชำยไว้บ้ำงเล็กน้อย
ซึ่งไม่ใช่แรงต้ำนทั้งตัวแต่จะใช้ส่วนล่ำงของร่ำงกำยตรงสะโพก มิฉะนั้น
จะเป็นกำรขัดขวำงกำรเคลื่อนที่ไปข้ำงหน้ำของผู้ชำย และทำให้ยำกต่อกำรก้ำวเท้ำออกนอกคู่ (Outside Partner)
ผู้หญิงไม่ควรเอนลำตัวมำข้ำงหน้ำ หรือทิ้งน้ำหนักตัวมำข้ำงหน้ำในขณะที่กำลังเดินถอยหลัง
เพรำะจะทำให้ผู้ชำยมีแรงต้ำนบริเวณหน้ำอก และรู้สึกลำบำกในกำรนำผู้หญิง
ทั้งยังทำให้ผู้ชำยรู้สึกว่ำผู้หญิงตัวหนักอีกด้วย
กำรจัดทรวดทรงเป็นเรื่องที่ค่อนข้ำงยำก
แต่ถ้ำได้พยำยำมฝึกกำรควบคุมกำรใช้กล้ำมเนื้อขำทั้งสองข้ำงให้สำมำรถลดส้นเท้ำลงเมื่อเร่งจังหวะในกำรลีลำศ
ก็อำจทำให้สำมำรถจัดทรวดทรงได้ง่ำยขึ้
กำรเคลื่อนไหวขำและเท้ำ : ผู้หญิงจะเริ่มต้นเดินถอยหลังด้วยเท้ำขวำก่อน เริ่มด้วยกำรถ่ำยน้ำหนักตัวไปอยู่บนเท้ำซ้ำย
ถอยเท้ำขวำไปข้ำงหลังโดยเคลื่อนออกจำกสะโพก เมื่อถอยเท้ำขวำผ่ำนเท้ำซ้ำย ปลำยเท้ำซ้ำยจะค่อย ๆ ยกขึ้นพ้นพื้น
เมื่อถอยเท้ำขวำออกไปเต็มที่ปลำยเท้ำขวำและส้นเท้ำซ้ำยจะสัมผัสพื้นพร้อมกัน ลำตัวยังคงเคลื่อนที่ไปข้ำงหลัง
ลดส้นเท้ำขวำลงบนพื้น ถ่ำยน้ำหนักตัวมำอยู่บนเท้ำขวำ เท้ำซ้ำยถอยตำมเท้ำขวำไปข้ำงหลัง (ถอยด้วยส้นเท้ำ)
เมื่อเท้ำซ้ำยถอยมำอยู่ระดับเดียวกับเท้ำขวำ ปลำยเท้ำซ้ำยจึงจะสัมผัสพื้น
สำหรับกำรเดินถอยหลังด้วยเท้ำซ้ำย ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับกำรเดินถอยหลังด้วยเท้ำขวำ
กำรถ่ำยน้ำหนักตัวในขณะที่เดินถอยหลังจำกตำแหน่งที่อยู่กับที่ น้ำหนักตัวจะอยู่บนส้นเท้ำก่อนเริ่มเดินถอยหลัง
เมื่อก้ำวเท้ำเดินถอยหลังน้ำหนักตัวจะอยู่บนเท้ำที่ไม่ได้ก้ำว
และเมื่อถอยเท้ำไปข้ำงหลังเต็มที่แล้วน้ำหนักตัวจะอยู่ระหว่ำงส้นเท้ำหน้ำกับปลำยเท้ำหลัง แล้วค่อย ๆ
ถ่ำยน้ำหนักตัวไปอยู่บนเท้ำหลัง
ข้อควรระวัง :
1. จำกท่ำยืนอยู่กับที่ เมื่อจะเคลื่อนที่จะต้องให้รู้สึกว่ำลำตัวเคลื่อนที่ไปก่อนเท้ำ
2. ไม่ลำกเท้ำไปกับพื้น ให้ยกปลำยเท้ำขึ้นขณะเคลื่อนเท้ำถอยไปข้ำงหลัง
เข่ำหย่อนและผ่อนคลำยตำมธรรมชำติตลอดกำรเดินขำ เหยียดตรงเมื่อก้ำวเท้ำถอยหลังไปเต็มที่แล้ว แต่ไม่เกร็งเข่ำ
3. ข้อเท้ำและหลังเท้ำปล่อยตำมสบำย
4. เท้ำทั้งสองข้ำงเหยียดตรง ยกปลำยเท้ำส้นเท้ำและข้ำงเท้ำด้ำนในผ่ำนซึ่งกันและกันทุกครั้งที่ก้ำวเดิน
การเดินไปข้างหน้าของผู้หญิง(The Forward Walk Lady)
ถึงแม้ว่ำกำรก้ำวขำและเท้ำของผู้หญิง จะเหมือนกับกำรเดินไปข้ำงหน้ำของผู้ชำย แต่ผู้หญิงจะต้องไม่เอนลำตัวไปข้ำงหน้ำ
ในกำรที่จะช่วยให้ผู้ชำยเดินถอยหลังได้สะดวกขึ้นนั้น ผู้หญิงจะต้องดันลำตัวไปข้ำงหน้ำขณะที่ก้ำวเท้ำเดิน
แต่จะต้องไม่ทำให้ผู้ชำยเสียกำรทรงตัว สำหรับผู้ชำยยังคงเป็นผู้นำในกำรเคลื่อนที่ไปข้ำงหน้ำหรือถอยหลังอยู่เช่นเดิม
การเดินถอยหลังของผู้ชาย (The backward Walk Gentleman)
โดยปกติแล้ว ผู้ชำยมักจะไม่ค่อยเดินถอยหลัง ยกเว้นจังหวะสโลว์ฟอกซ์ทรอท (Slow Fox-trot)
ถึงแม้ว่ำกำรก้ำวเท้ำเดินถอยหลังของผู้ชำย จะมีลักษณะกำรก้ำวขำและเท้ำเหมือนกับกำรเดินถอยหลังของผู้หญิงก็ตำม
แต่ผู้ชำยต้องรักษำทรวดทรงให้เหมือนกับกำรเดินไปข้ำงหน้ำอยู่เสมอ
อนึ่งในกำรฝึกเดินลีลำศ หำกเป็นกำรฝึกเดินเพียงลำพัง ส่วนใหญ่จะเก็บมือโดยกำรท้ำวเอวหรือเก็บมือแบบ C.b.M. คือ
คว่ำฝ่ำมือทั้งสองข้ำงวำงทับกันในระดับอกและกำงศอกทั้งสองข้ำงขนำนกับพื้น
วิธีนี้นิยมนำมำใช้ในกำรฝึกลีลำศประเภทบอลรูม (ballroom Dancing) แต่ในขณะที่ลีลำศกับคู่นั้น
หำกมือข้ำงใดไม่ได้ใช้หรือไม่ได้จับคู่ลีลำศ ก็จะมีตำแหน่งของกำรวำงแขน (Arm Position)
โดยนำมำจำกท่ำลีลำศของบัลเล่ย์ กำรจะวำงแขนในลักษณะใดขึ้นอยู่กับรูปแบบของกำรลีลำศในลวดลำยนั้น ๆ
การจับคู่ลีลาศ (The Hold)
กำรจับคู่ลีลำศ เป็นสิ่งสำคัญที่ผู้ฝึก ลีลำศจะต้องทรำบ และให้ควำมสนใจมำกเป็นพิเศษ
เพรำะถ้ำจับคู่ไม่ถูกต้องตำมแบบแผน นอกจำกจะทำให้ขำดควำมสง่ำงำมแล้ว ยังเป็นอุปสรรคอย่ำงยิ่งในกำรนำ(Lead)
และกำรตำม (Follow) เพรำะจะทำให้เสียกำรทรงตัวและกำรก้ำวเท้ำของคู่ลีลำศไม่สอดคล้องสัมพันธ์กัน
หรืออำจทำให้เหยียบเท้ำกันได้ดังนั้นกำรจับคู่ลีลำศที่ถูกต้องจึงมีควำมสำคัญและจำเป็นอย่ำงยิ่งในกำรลีลำศ
โดยเฉพำะผู้ชำยจะต้องศึกษำทำควำมเข้ำใจให้ถูกต้อง
โดยปกติ ท่ำเริ่มต้นในกำรจับคู่ลีลำศแทบทุกจังหวะ จะจับคู่แบบบอลรูมปิด (Closed ballroom) ได้แก่ จังหวะวอลซ์ (Waltz)
จังหวะควิกสเต็ป (Quick Step) จังหวะชำชำ ช่ำ (Cha Cha Cha) และจังหวะบีกิน (beguine) แต่เมื่อคู่ลีลำศออกลวดลำย
(Figure) ต่ำงๆแล้ว กำรจับคู่ลีลำศจะเปลี่ยนไปเป็นแบบอื่นตำมลวดลำยของจังหวะนั้นๆ
มีเพียงบำงจังหวะที่จับคู่ลีลำศตอนเริ่มต้นแตกต่ำงออกไป ได้แก่จังหวะแทงโก้(Tango) จังหวะไจฟว์(Jive)
และจังหวะร็อคแอนด์โรล (RockandRoll) เป็นต้น
ประโยชน์ของการเต้นลีลาส
จากสภาพความเป็นอยู่ของคนในสังคมปัจจุบัน
ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทาให้เกิดปัญหาที่สลับซับซ ้อน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางด ้านเศรษฐกิจ
สังคมและการเมือง สภาพการณ์เหล่านี้เป็นสาเหตุทาให้ประชาชนประสบกับปัญหาต่าง ๆ
ทั้งทางด ้านร่างกายและจิตใจเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ ซึ่งจิตแพทย์ นักจิตวิทยา
และนักการศึกษาต่างก็พยายามเน้นและชี้นาให้เห็นถึงความจาเป็น เกี่ยวกับการใช ้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
โดยการเข ้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่สามารถผ่อนคลายความเครียด และเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น
ลีลาศเป็นกิจกรรมหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะช่วยผ่อนคลายความเครียดแล ้วยังช่วยพัฒนาทั้งทางด ้านร่างกาย จิตใจ
อารมณ์และสังคมได ้เป็นอย่างดี จึงพอสรุปประโยชน์ของการลีลาศได ้ ดังนี้
1. ก่อให้เกิดความซาบซึ้งในจังหวะดนตรี
2. ก่อให้เกิดความสนุกสนาม เพลิดเพลิน
3. เป็นกิจกรรมนันทนาการ และเป็นการใช ้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
4. เป็นกิจกรรมสื่อสัมพันธ์ทางสังคม ผู้ชายและผู้หญิงสามารถเข ้าร่วมในกิจกรรมพร้อมกันได ้
5. ช่วยพัฒนาทักษะทางกลไก (Motor Skill)
6. ช่วยส่งเสริมสุขภาพพลานามัย ทั้งทางด ้านร่างกายและจิตใจ
ให้แข็งแรงสมบูรณ์อันจะทาให้มีชีวิตยืนยาวและมีความสุข
7. ทาให้มีรูปร่างทรวดทรงงดงาม สมส่วน มีบุคลิกภาพในการเคลื่อนไหวที่ดูแล ้วสง่างาม ยิ่งขึ้น
8. ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดทางด ้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม
9. ช่วยให้รู้จักการเข ้าสังคม และรู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคมได ้เป็นอย่างดี
10. ช่วยส่งเสริมให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล ้าแสดงออกในสิ่งที่ดีงาม
11. ทาให้มีความซาบซึ้งในวัฒนธรรมอันดีงาม และช่วยจรรโลงให้คงอยู่ตลอดไป
12. เป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
13. เป็นกิจกรรมที่สามารถช่วยแก้ไขข ้อบกพร่องทางกาย
ประวัติความเป็นมาลีลาศ

More Related Content

What's hot

เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีToeyy Piraya
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงThanakorn Chanamai
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
ขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติกขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติกpanida428
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมbilly ratchadamri
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20mintra_duangsamorn
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่Thunrada Sukkaseam
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมAsina Pornwasin
 
ตารางติว O net
ตารางติว O netตารางติว O net
ตารางติว O netInmylove Nupad
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้Paramin Suwannawut
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบWatcharinz
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...Suphot Chaichana
 

What's hot (20)

เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
กล้วยบวชชี
กล้วยบวชชีกล้วยบวชชี
กล้วยบวชชี
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติกขั้นตอนการทำผ้าบาติก
ขั้นตอนการทำผ้าบาติก
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
การจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคมการจัดระเบียบทางสังคม
การจัดระเบียบทางสังคม
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ตารางติว O net
ตารางติว O netตารางติว O net
ตารางติว O net
 
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่องเทียนหอมไล่ยุงตะไคร้
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบ
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 

Viewers also liked

ข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศ
ข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศ
ข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศpeter dontoom
 
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อเฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อpeter dontoom
 
ประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอลประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอลTepasoon Songnaa
 
Infant feeding-and-climate-change-india (2)
Infant feeding-and-climate-change-india (2)Infant feeding-and-climate-change-india (2)
Infant feeding-and-climate-change-india (2)Neha Ahuja
 
การรวมกิจการ (ต่อ)
การรวมกิจการ (ต่อ)การรวมกิจการ (ต่อ)
การรวมกิจการ (ต่อ)Kittiya Youngjarean
 
Speed up your digital transformation
Speed up your digital transformationSpeed up your digital transformation
Speed up your digital transformationFranck de Dieuleveult
 
Digital Printing in Dubai
Digital Printing in DubaiDigital Printing in Dubai
Digital Printing in DubaiBruce Clay
 
การลงทุนในหุ้นสามัญ (ต่อ)
การลงทุนในหุ้นสามัญ (ต่อ)การลงทุนในหุ้นสามัญ (ต่อ)
การลงทุนในหุ้นสามัญ (ต่อ)Kittiya Youngjarean
 
Graphene light bulb set for shops
Graphene light bulb set for shopsGraphene light bulb set for shops
Graphene light bulb set for shopsskinnyengineer898
 
Bridging the gap between theory and practise
Bridging the gap between theory and practiseBridging the gap between theory and practise
Bridging the gap between theory and practiseAnshul Punetha
 
การรวมกิจการ
การรวมกิจการการรวมกิจการ
การรวมกิจการKittiya Youngjarean
 
Meaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. Siniel
Meaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. SinielMeaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. Siniel
Meaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. Sinielairazygy
 

Viewers also liked (20)

คค
 
ลีลาศ
ลีลาศลีลาศ
ลีลาศ
 
ข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศ
ข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศ
ข้อสอบนาฏศิลป์ลีลาศ
 
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อเฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
 
กีฬาลีลาศ
กีฬาลีลาศกีฬาลีลาศ
กีฬาลีลาศ
 
ประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอลประวัติวอลเลย์บอล
ประวัติวอลเลย์บอล
 
Enhance Pedadogies
Enhance PedadogiesEnhance Pedadogies
Enhance Pedadogies
 
Infant feeding-and-climate-change-india (2)
Infant feeding-and-climate-change-india (2)Infant feeding-and-climate-change-india (2)
Infant feeding-and-climate-change-india (2)
 
การรวมกิจการ (ต่อ)
การรวมกิจการ (ต่อ)การรวมกิจการ (ต่อ)
การรวมกิจการ (ต่อ)
 
Sat rday
Sat rdaySat rday
Sat rday
 
Ejercicio 7
Ejercicio 7Ejercicio 7
Ejercicio 7
 
Tugas 1
Tugas 1Tugas 1
Tugas 1
 
Speed up your digital transformation
Speed up your digital transformationSpeed up your digital transformation
Speed up your digital transformation
 
Digital Printing in Dubai
Digital Printing in DubaiDigital Printing in Dubai
Digital Printing in Dubai
 
IoT Protocols
IoT ProtocolsIoT Protocols
IoT Protocols
 
การลงทุนในหุ้นสามัญ (ต่อ)
การลงทุนในหุ้นสามัญ (ต่อ)การลงทุนในหุ้นสามัญ (ต่อ)
การลงทุนในหุ้นสามัญ (ต่อ)
 
Graphene light bulb set for shops
Graphene light bulb set for shopsGraphene light bulb set for shops
Graphene light bulb set for shops
 
Bridging the gap between theory and practise
Bridging the gap between theory and practiseBridging the gap between theory and practise
Bridging the gap between theory and practise
 
การรวมกิจการ
การรวมกิจการการรวมกิจการ
การรวมกิจการ
 
Meaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. Siniel
Meaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. SinielMeaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. Siniel
Meaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. Siniel
 

Similar to ประวัติความเป็นมาลีลาศ

บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.Nathathai
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 

Similar to ประวัติความเป็นมาลีลาศ (6)

บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 

ประวัติความเป็นมาลีลาศ

  • 1. ประวัติความเป็นมาลีลาศ ในสมัยดึกดำบรรพ์ ชำวสปำร์ต้ำ จะฝึกกีฬำเช่น ชกมวย, ยิงธนู, วิ่ง, ขี่ม้ำล่ำสัตว์ รวมกำร เต้นรำ ส่วนชำวโรมันมีกำรเต้นรำเพื่อแสดงควำมกล้ำหำญ ผู้ที่มีชื่อเสียงในกำรเต้นตำของโรมันคือ ซีซีโร (Cicero:106 –43B.C.) กำรเต้นรำแบบบอลรูม เริ่มตั้งแต่สมัยพระนำงเจ้ำอลิซำเบ็ธที่1ซึ่งสมัยนั้นครั่งไคล้กำรเต้นรำที่เรียกว่ำ “โวลต้ำ” (Volta) ซึ่งมีกำรจับคู่แบบวอลซ์ในปัจจุบัน กำรเต้นแบบโวลต้ำนั้นฝ่ำยชำยจะช่วยให้ฝ่ำยหญิงกระโดดขึ้นในอำกำศด้วย ซึ่งพระรำชินีเอง ทรงพอพระทัยมำก เช็คสเปียร์ (Shakespeare :1564–1616) อยู่ในกรุงลอนดอนหลำยปี ได้กล่ำวไว้ในบทละครเรื่องพระเจ้ำเฮนรี่ที่5 ว่ำ มีกำรเต้นอีกอย่ำงเรียกว่ำ “โคแรนโท หรือ โคแรนเท” (Courante) สมัยศตวรรษที่ 17 กำรเต้นรำมีแบบแผนมำกขึ้น จอห์น วีเวอร์ และ จอห์น เพทฟอร์ด(JohnWeaver& JohnPlayford) เป็นนักเขียนชำวอังกฤษที่มีชื่อเสียง เพลฟอร์ดได้เขียนเกี่ยวกับกำรเต้นรำแบบเก่ำของอังกฤษซึ่งรวบรวมได้ถึง 900แบบอย่ำง แซมมวล ไพปส์ (SamuelPepys :1632 –1704) ได้เขียนบันทึกประจำวันในสมัยกำรปกครองของพระเจ้ำชำร์ลส์ที่ 2 และได้บันทึกไว้เมื่อค.ศ.1662 ถึงงำนรำตรีสโมสร ซึ่งพระเจ้ำชำร์ลส์ที่ 2ทรงพำสุภำพสตรีออกเต้น “โคแรนโท” (Coranto) กำรเต้นรำได้แพร่เข้ำมำประเทศฝรั่งเศส เปลี่ยนมำเรียกเป็นสำเนียงฝรั่งเศสว่ำคองเทรดองเซ่(Conterdanse) พระเจ้ำหลุยส์ที่14ทรงโปรดปรำนมำกและต่อมำได้แพร่หลำยไปยังประเทศอิตำลีและ สเปน กำรเต้นรำแบบบอลรูมในจังหวะวอลซ์ (Waltz) ได้เริ่มขึ้นประมำณค.ศ. 1800เป็นจังหวะที่นิยมกันมำกในสมัยนั้น ในสมัยพระนำงเจ้ำวิคตอเรีย (The VictorianEra :1830 –80)กำรไปงำนรำตรีสโมสร หนุ่มสำวจะไปเป็นคู่ๆ ต้องต่ำงคนต่ำงไป และฝ่ำยชำยจะขอลีลำศกับหญิงคนเดิมมำกกว่ำ 4ครั้ง ไม่ได้หญิงโสดก็จะต้องมีพี่เลี้ยงไปด้วย ฝ่ำยหญิงจะมีบัตรเล็กๆ สีขำวจดบันทึกไว้ว่ำ เพลงใดมีชำยขอจองลีลำศไว้บ้ำง ในศตวรรษที่ 20 นิโกรในอเมริกำมีบทบำทมำกทำงด้ำนดนตรี และลีลำต่ำงๆ ในนิวออร์ลีน มีกำรเล่นดนตรีแบบพื้นเมืองของอำฟริกำ ตอนแรกเรียกว่ำจังหวะ (Syncopation) มีท่วงทำนองเร้ำใจ และเป็นจุดเริ่มต้นของยุคแจ๊ส (Jazz Age) สมัยเริ่มสงครำมโลกครั้งที่1 ใหม่ๆ ดนตรีจังหวะนี้ก็เข้ำมำแพร่หลำยในอังกฤษพร้อมๆ กันนั้นก็มีจังหวะพื้นเมืองอีกจังหวะหนึ่งมำจำกอเมริกำใต้คือจังหวะแทงโก(Tango) ซึ่งมีจุดกำเนิดมำจำกเพลงพื้นเมืองของพวกคำวบอยในอำร์เยนตินำยุคนั้นเรียกว่ำแร็กโทม์ (Rag–Time) ซึ่งกำรเต้นไม่มีกฏเกณฑ์อะไร ต่อมำประมำณปี ค.ศ.1929 มีครูลีลำศในอังกฤษรวมกันเป็นคณะกรรมกำรปรับปรุงกำรลีลำสแบบบอลรูมขึ้นมำเป็นมำตรฐำน 4จังหวะ (ถ้ำรวมควิกวอลซ์ด้วยจะเป็น 5จังหวะ)ถือว่ำเป็นแบบฉบับของชำวอังกฤษ คือวอลซ์ (Waltz) ควิกสเต็ป (Quickstep) แทงโก (Tango) และ ฟอกซ์ทรอต (Fox-trot) เนื่องจำกอิทธิพลของยุคแจ๊ส(Jazz Age) ก็ได้เกิดกำรลีลำศแบบลำตินอเมริกำ ซึ่งจัดไว้เป็นมำตรฐำน 4จังหวะ (ถ้ำรวมพำโซโดเบิ้ล ก็จะเป็น 5จังหวะ)คือรัมบ้ำ (Rumba) ชำ ชำ ช่ำ (Cha –Cha –Cha) แซมบ้ำ (Samba) และไจว์ฟ (Jive) โดยคัดเลือกจำกกำรลีลำศประจำชำติต่ำงๆ เช่น แซมบ้ำจำกบรำซิล รัมบ้ำจำกคิวบำ พำโซโดเบิ้ลจำกสเปน และไจว์ฟจำกอเมริกำ การลีลาศในประเทศไทย กำรลีลำศในประเทศไทยเกิดขึ้นเมื่อใดนั้นไม่มีหลักฐำนยืนยันได้แน่ชัดแต่จำกบันทึกของแหม่มแอนนำ ทำให้มีหลักฐำนเชื่อได้ว่ำ เมืองไทยมีลีลำศมำตั้งแต่สมัยรัชกำลที่ 4 และบุคคลที่ได้รับกำรยกย่องให้เป็นนักลีลำศคนแรกก็คือ พระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว ตำมบันทึกของแหม่มแอนนำเล่ำว่ำ ในช่วงหนึ่งของกำรสนทนำได้พูดถึงกำรเต้นรำ
  • 2. ซึ่งแหม่มแอนนำพยำยำมสอนพระองค์ท่ำนให้รู้จักกำรเต้นรำแบบสุภำพ ซึ่งเป็นที่นิยมของชำติตะวันตก พร้อมกับแสดงท่ำ และบอกว่ำจังหวะวอลซ์นั้นหรูมำก มักนิยมเต้นกันในวังยุโรปซึ่งพระองค์ท่ำนก็ฟังอยู่เฉยๆ ไม่ออกควำมเห็นใดๆ แต่พอแหม่มแอนนำแสดงท่ำ พระองค์ท่ำนกลับสอนว่ำใกล้เกินไปแขนต้องวำงให้ถูก และ พระองค์ท่ำนก็เต้นให้ดู จนแหม่มแอนนำถึงกับงง จึงทูลถำมว่ำใครเป็นคนสอนให้พระองค์ ท่ำนก็ไม่ตอบจึงไม่รู้ว่ำใครเป็นผู้สอนพระองค์ สันนิษฐำนกันว่ำพระองค์ท่ำนคงจะศึกษำจำกตำรำด้วยพระองค์เอง ในสมัยรัชกำลที่ 5 กำรเต้นรำยังไม่เป็นที่แพร่หลำยมำกนักคงมีแต่เจ้ำนำยในวังที่เต้นกัน ส่วนใหญ่มักจะเต้นจังหวะวอลซ์เพียงอย่ำงเดียว และบำงครั้งได้มีกำรนำเอำจังหวะวอลซ์ไปสอดแทรกในกำรแสดงละครด้วย เช่น เรื่องพระอภัยมณี ตอนที่กล่ำวถึงนำงละเวงได้กับพระอภัยมณี ในสมัยรัชกำลที่ 6 ทุกๆ ปีในงำนเฉลิมพระชนมพรรษำก็มักจะจัดให้มีกำรเต้นรำกันใน พระบรมมหำรำชวัง โดยมีองค์พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัวเป็นประธำน ซึ่งบรรดำทูตำนุทูตทั้งหลำยต้องเข้ำเฝ้ำ ส่วนแขกที่ชิญนั้นต้องได้รับบัตรเชิญจึงจะเข้ำไปในงำนได้ ในสมัยรัชกำลที่ 7 กำรเต้นรำได้รับควำมนิยมมำกขึ้น ได้เปิดให้มีกำรเต้นกันตำมสถำนที่ต่ำงๆกันมำก เช่น ที่ห้อยเทียนเหลำเก้ำชั้น โลลิต้ำและคำร์เธ่ย์ ในพุทธศักรำช 2475หม่อมเจ้ำวรรณไวทยำกรวรรณ กับนำยหยิบณนคร ได้ปรึกษำกันและจัดตั้งสมำคมที่เกี่ยวกับกำรเต้นรำขึ้น ชื่อ “ สมำคมสมัครเล่นเต้นรำ” โดยมีหม่อมเจ้ำไวทยำกรวรวรรณ เป็นประธำน นำยหยิบณนครเป็นเลขำธิกำรสมำคม และมีคณะกรรมกำรอีกหลำยท่ำน เช่น หลวงเฉลิม สุนทรกำญจน์ นำยแพทย์เติม บุนนำคพระยำปกิตกลสำร พระยำวิชิตหลวงสุขุม นัยประดิษฐ์หลวงชำติตระกำรโกศล สถำนที่ตั้งสมำคมนั้นไม่แน่นนอนคือวนเวียนไปตำมบ้ำนสมำชิกแล้วแต่สะดวก กำรตั้งเป็นสมำคมครั้งนี้ไม่ได้จดทะเบียนให้เป็นที่ถูกต้องแต่อย่ำงใด สมำชิกส่วนมำกเป็นข้ำรำชกำรชั้นผู้ใหญ่ ซึ่งได้พำบุตรหรือบุตรีเข้ำฝึกหัดด้วย ทำให้สมำชิกเพิ่มขึ้นมำอย่ำงรวดเร็ว มักจัดให้มีงำนเต้นรำขึ้นบ่อยๆ ที่สมำคมคณะรำษฎร์ วังสรำญรมย์ และได้จัดแข่งขันกำรเต้นรำขึ้นครั้งแรกที่วังสรำญรมย์นี้ ผู้ชนะเลิศเป็นแชมเปี้ยนคือ พลเรือตรีเฉียบแสงชูโต และคุณประนอม สุขุม ในปี พ.ศ. 2476 นักศึกษำกลุ่มหนึ่งเห็นว่ำคำว่ำ “ เต้นรำ” เมื่อผวนแล้วจะฟังไม่ไพเรำะหู ดังนั้นหม่อมเจ้ำไวทยำกรวรวรรณ จึงบัญญัติศัพท์คำว่ำ “ลีลำศ” ขึ้นแทนคำว่ำ “เต้นรำ” นับแต่บัดนี้เป็นต้นมำ ต่อมำสมำคมสมัครเล่นเต้นรำก็สลำยตัวไปกลำยเป็น “สมำคมครูลีลำศแห่งประเทศไทย” โดยมีนำยหยิบณนคร เป็นผู้ประสำนงำนจนสำมำรถส่งนักลีลำศไปแข่งยังต่ำงประเทศได้ รวมทั้งให้กำรต้อนรับนักลีลำศชำวต่ำงชำติที่มำเยี่ยมหรือแสดงในเมืองไทย ในช่วงที่เกิดสงครำมโลกครั้งที่ 2 ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่เข้ำร่วมสงครำมโลกครั้งนี้ด้วย จึงทำให้กำรลีลำศซบเซำไป เมื่อสงครำมโลกครั้งที่ 2สิ้นสุดลง ในเดือนกันยำยน พ.ศ. 2488 วงกำรลีลำศของเมืองไทยก็เริ่มคึกคักมีชีวิตชีวำขึ้นดังเดิม มีโรงเรียนสอนลีลำศเปิดขึ้นหลำยแห่ง โดยเฉพำะสำขำบอลรูมหรือ ModernBallroom Branch อำจำรย์ยอดบุรี ซึ่งไปศึกษำที่ประเทศอังกฤษแล้วนำกลับมำเผยแพร่ใน เมืองไทย ทำให้กำรลีลำศซึ่ง ศำสตรำจำรย์ศุภชัย วำนิชวัฒนำ เป็นผู้นำอยู่ก่อนแล้วเจริญขึ้นเป็นลำดับ ต่อมำได้มีบุคคลชั้นนำในกำรลีลำศประมำณ 10ท่ำน ซึ่งเคยเป็นผู้ชนะเลิศในกำรแข่งขันในสมัยหลังสงครำมโลกครั้งที่2เช่น คุณกวีกรโกวิท , คุณอุไร โทณวนิก , คุณจำลอง
  • 3. มำณยมฑลคุณปัตตำนะ เหมะสุจิ โดยมีนำยแพทย์ประสบวรมิศร์ เป็นผู้ประสำนงำนติดต่อพบปะปรึกษำหำรือ และมีแนวควำมคิดจะรวมนักลีลำศทั้งหมดให้อยู่ในสมำคมเดียวกัน เพื่อเป็นกำรผนึกกำลังและช่วยกันปรับปรุงมำตรฐำนกำรลีลำศทั้งทำงทฤษฎีและทำงปฏิบัติ ซึ่งทุกคนเห็นพ้องต้องกัน จึงมีกำรร่ำงระเบียบข้อบังคับขึ้นมำ ได้ยื่นจดทะเบียนเป็นสมำคมตำมกฎหมำย เมื่อวันที่7สิงหำคม พ.ศ. 2491 ซึ่งสภำวัฒนธรรมแห่งชำติ ได้อนุญำติให้จัดตั้ง “ สมำคมลีลำศแห่งประเทศไทย ” เมื่อวันที่16ตุลำคม 2491 โดยมีหลวงประกอบนิติสำร เป็นนำยกสมำคมคนแรก ปัจจุบันสมำคมแห่งประเทศไทย เป็นสมำชิกของสภำกำรลีลำศนำนำชำติ ด้วยประเทศหนึ่ง หลังจำกนั้นกำรลีลำศได้รับควำมนิยมแพร่หลำยเป็นอย่ำงมำก มีกำรจัดตั้งสมำคมลีลำศขึ้น มีสถำนลีลำศเปิดเพิ่มขึ้น มีกำรจัดส่งนักกีฬำลีลำศไปแข่งขันในต่ำงประเทศ และจัดแข่งขันลีลำศนำนำชำติขึ้นในประเทศไทย ในสมัยจอมพลสฤษณ์ ธนะรัตต์ได้ให้เรียนสอนลีลำศต่ำงๆ สังกัดกระทรวงศึกษำธิกำร และมีกำรกำหนดหลักสูตรลีลำศขึ้นอย่ำงเป็นแบบแผน มีสถำบันที่เปิดสอนลีลำศเกิดขึ้นเกือบทุกจังหวัด ปัจจุบันมีหลักสูตรกำรสอนลีลำศในสถำนศึกษำ ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษำ จนถึงระดับอุดมศึกษำ ความรู้พื้นฐานในการเต้นลีลาศ ในกำรฝึกลีลำศ จะต้องคำนึงถึงทักษะเบื้องต้นของกำรลีลำศเป็นอันดับแรก และจะต้องปฏิบัติให้ถูกต้อง ฝึกหัดจนเกิดควำมชำนำญ หำกละเลยถึงหลักและทักษะเบื้องต้นจะทำให้ผู้ฝึกลีลำศขำดควำมก้ำวหน้ำ และไม่มีศิลปะของกำรลีลำศอย่ำงแท้จริง ทักษะเบื้องต้นของกำรฝึกลีลำศเพื่อให้เกิดควำมชำนำญ มีดังนี้ โครงสร้างของดนตรีประกอบด้วย 1. จังหวะ (beat) หมายถึง เสียงที่เกิดขึ้นและตกบนตัวโน้ตทุกตัว หรือหมู่ของเสียงที่ทาให้เกิดจังหวะขึ้นในห้องเพลง โดยปกติจะตกบนตัวโน้ตตัวแรกของห้องเพลง เช่น จังหวะ 2/4 จังหวะ 3/4 หรือจังหวะ 4/4 2. เสียงเน้น (Accent) หมายถึง เสียงที่เคาะลงบนจังหวะ จะได ้ยินชัดเจนมากกว่าเสียงเคาะในห้องเพลง โดยปกติจะตกบนตัวโน้ตตัวแรกของห้องเพลง 3. ห้องเพลง (bar) หมายถึง กลุ่มของจังหวะที่ประกอบกันขึ้นเป็นช่วงหรือตอนปกติจะอยู่ระหว่างเสียงเน้นเสียงหนึ่งกับเสียงเน้นอีกเสียงห นึ่ง 4. ความเร็ว (Tempo) หมายถึง อัตราความเร็วของดนตรีที่บรรเลงโดยใช ้เวลาเป็นตัวกาหนด เช่น ใน 1 นาทีจะบรรเลงกี่ห้องเพลง การหัดฟังจังหวะดนตรีควรเลือกฟังจากดนตรีที่มีเสียงชัดเจน ฟังง่าย ถ้าเป็นดนตรีจังหวะ 2/4 จะได ้ยินเสียงเคาะลงบนจังหวะ 2 จังหวะใน 1 ห้องเพลง เสียงที่ได ้ยินแต่ละครั้งใน 1 ห้องเพลงนั้น จะมีเสียงหนึ่งเป็นเสียงหนักและอีกเสียงหนึ่งเป็นเสียงเบาต่อเนื่องกันไปทุก ๆ ห้องเพลง การฝึกนับจังหวะจะนับ 1 – 2 , 1 – 2 , 1 – 2 ………… ไปเรื่อย ๆ จนจบเพลง ทิศทางในการลีลาศ (Line of Dance) เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่า ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา (Counter Clockwise) เป็นทิศทางของการลีลาศซึ่งถือเป็นสากล ดังนั้นในการลีลาศจะต ้องลีลาศไปในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา
  • 4. ทั้งนี้เพื่อความเป็นระเบียบเรียบร้อย ทั้งเป็นการป้องกันมิให้ลีลาศไปชนกับคู่อื่น ทิศทางนี้เรียกว่า “แนวลีลาศ” (Line of Dance) ซึ่งนิยมเรียกกันด ้วยคาย่อว่า L.O.D. การลีลาศในแต่ละจังหวะหรือแต่ละลวดลาย (Figure) มีการเริ่มต ้นและสิ้นสุดในทิศทางที่แตกต่างกัน ผู้ฝึกลีลาศจึงควรทาความเข ้าใจ เกี่ยวกับทิศทางการเคลื่อนที่ในการลีลาศให้ถูกต ้องเสียก่อนจะทาให้สามารถฝึกลีลาศได ้อย่างรวดเร็วและถูกต ้องตามเ ทคนิคของการลีลาศ ตาแหน่งการยืนในการลีลาศ (Position of Stand) จะสัมพันธ์กับทิศทางที่ผู้ลีลาศหันหน้าไปในทิศทางต่าง ๆ ซึ่งมีอยู่ 8 ทิศทาง การเรียกชื่อตาแหน่งที่ยืนจะเรียกตามทิศทางที่หันหน้าไป ดังนี้ 1. ยืนหันหน้าตามแนวลีลาศ (Facing Line of Dance) 2. ยืนหันหน้าย้อนแนวลีลาศ (Facing Against Line of Dance) 3. ยืนหันหน้าเข ้ากลางห้องหรือกลางฟลอร์ (Facing Centre) 4. ยืนหันหน้าเข ้าฝาห้อง (Facing Wall) 5. ยืนหันหน้าเฉียงกลางห้องตามแนวลีลาศ (Facing Diagonally of Centre) 6. ยืนหันหน้าเฉียงฝาตามแนวลีลาศ (Facing Diagonally of Wall) 7. ยืนหันหน้าเฉียงฝาย้อนแนวลีลาศ (Facing Diagonally of Wall Against Line of Dance) 8. ยืนหันหน้าเฉียงกลางห้องย้อนแนวลีลาศ (Facing Diagonally of Centre Against Line of Dance) การจัดทิศทางและการเคลื่อนไหวเท้า (Alignmentand FootWork) การจัดทิศทาง(Alignment) กำรจัดทิศทำงมีส่วนสัมพันธ์กับทิศทำงในกำรลีลำศ เป็นส่วนที่อธิบำยถึงทิศทำงในกำรลีลำศให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เนื่องจำกทิศทำงกำรลีลำศจะบอกเพียงว่ำ คู่ลีลำศจะเคลื่อนที่ไปทำงไหน จึงต้องมีกำรอธิบำยถึงกำรจัดทิศทำง เพื่อให้เกิดกำรปฏิบัติเป็นรูปแบบมำตรฐำนเดียวกัน โดยจะใช้คำอยู่ 3คำในกำรจัดทิศทำงคือ หันหน้ำ(Facing) หันหลัง (backing) และชี้เท้ำ (Pointing) โดยกำรหันหน้ำหรือหันหลังจะระบุอย่ำงชัดเจนว่ำ หันหน้ำเข้ำฝำห้อง หันหลังเฉียงฝำย้อนแนวลีลำศ เป็นต้น ส่วนกำรชี้เท้ำจะใช้เมื่อก้ำวเท้ำเดินไปทำงด้ำนข้ำง หรือกำรก้ำวเท้ำชี้ไปนอกทิศทำงที่หันหน้ำอยู่ในขณะอย่ำงถูกต้อง การเคลื่อนไหวเท้า (Foot Work) การเคลื่อนไหวเท้า หมายถึง การใช ้ส่วนของเท้าสัมผัสกับพื้นในแต่ละก้าว (Step) การเคลื่อนไหวเท้ามีประโยชน์ที่จะนามาปฏิบัติเป็นความรู้เบื้องต ้น เกี่ยวกับการวางเท้าให้ถูกต ้องในแต่ละก้าว คาที่ใช ้เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวเท้า มีดังนี้ 1. ส ้นเท้า (Hell) หมายถึง ให้ส่วนของส ้นเท้าสัมผัสพื้นก่อน 2. ปลายเท้า (Toe) หมายถึง ให้ส่วนของโคนนิ้วเท้าถึงปลายนิ้วเท้า สัมผัสพื้นก่อน 3. จุดหมุนของเท้า (ball of Foot) หมายถึง ให้ส่วนของฝ่ าเท้าถึงโคนนิ้วเท้าสัมผัสพื้นก่อน 4. ฝ่ าเท้า (Whole Foot) หมายถึง ให้ทุกส่วนของเท้าสัมผัสพื้นก่อน การฝึกเดินในการลีลาศ (GeneralOutline ofThe Walk) มีคำพูดว่ำ “ถ้ำท่ำนเดินได้ท่ำนก็สำมำรถลีลำศได้” คำพูดนี้คงจะไม่เป็นควำมจริงนัก เพรำะท่ำทำงกำรเดินทั่ว ๆ ไปกับกำรเดินในกำรลีลำศนั้นไม่เหมือนกัน เพียงแต่มีควำมสัมพันธ์กันเท่ำนั้น กล่ำวคือ กำรเดินในกำรลีลำศ มีกำรเคลื่อนไหวเท้ำทั้งสองข้ำงติดต่อกันไปบนฟลอร์ลีลำศ ตำมลวดลำย (Figure) ของแต่ละจังหวะ ดังนั้นอำจกล่ำวได้ว่ำ “คนที่เดินได้สำมำรถเรียนรู้และฝึกลีลำศได้” กำรเดินในกำรลีลำศแตกต่ำงไปจำกกำรเดินธรรมดำ คือ ขณะเดินไม่ว่ำจะก้ำวเท้ำไปข้ำงหน้ำหรือถอยหลังก็ตำม ปลำยเท้ำจะชี้ตรงไปข้ำงหน้ำเสมอ เท้ำทั้งสองข้ำงลำกผ่ำนกันจนเกือบสัมผัสกัน และถ่ำยน้ำหนักตัวไปยังเท้ำที่ก้ำวไปใหม่เสมอดังนั้น ท่ำทำงกำรเดินจึงนับว่ำเป็นพื้นฐำนสำคัญในกำรลีลำศที่ผู้ฝึกลีลำศใหม่ ๆ ควรให้ควำมสนใจ และฝึกฝนให้ถูกต้องเสียก่อน
  • 5. กำรจัดทรวดทรงหรือกำรวำงลำตัวที่ดี เป็นบุคลิกภำพที่มีคุณค่ำต่อกำรลีลำศ เพรำะทำให้ดูแล้วสง่ำงำมน่ำมอง กำรที่ลีลำศได้แต่ไม่สวยงำม อำจเนื่องมำจำกกำรละเลยหรือไม่ให้ควำมสนใจในกำรจัดทรวดทรงของตนเอง เช่น เข่ำงอ ไหล่ห่อท้องยื่น เป็นต้น ซึ่งจะทำให้ทรวดทรงของบุคคลนั้นอยู่ในลักษณะที่ห่อเหี่ยวดูเฉื่อยชำ ไม่กระฉับกระเฉง หรือมองดูคล้ำยกับคนเหนื่อยอ่อน ดังนั้นผู้ที่มีทรวดทรงไม่ดีไม่สง่ำงำม จะต้องปรับปรุงแก้ไขด้วยกำรฝึกฝนตนเองบ่อย ๆ ดังนี้ การเดินไปข้างหน้าของผู้ชาย (The Forward Walk Gentlemen) กำรจัดทรวดทรง : ยืนตัวตรงหย่อนเข่ำเล็กน้อยแต่ไม่ถึงกับย่อเข่ำ ลำตัวตั้งแต่เท้ำถึงศรีษะเอนไปข้ำงหน้ำจนรู้สึกว่ำน้ำหนักตัวอยู่ที่ปลำยเท้ำ แต่ส้นเท้ำไม่ลอยพ้นพื้น ในกำรเอนลำตัวไปข้ำงหน้ำนั้น พยำยำมรักษำลำตัวตั้งแต่สะโพกขึ้นไปให้อยู่ในลักษณะตั้งตรง เมื่ออยู่ในท่ำลักษณะดังกล่ำวแสดงว่ำพร้อมที่จะก้ำวเดิน กำรเคลื่อนไหวขำและเท้ำ : โดยทั่วไปนิยมให้ผู้ชำยเริ่มต้นก้ำวเท้ำเดินด้วยเท้ำซ้ำยก่อนในกำรเริ่มต้น จะเริ่มด้วยกำรให้น้ำหนักตัวอยู่ที่เท้ำขำว แล้วก้ำวเท้ำซ้ำยโดยเคลื่อนจำกสะโพกไป ข้ำงหน้ำ ขณะที่เท้ำซ้ำยผ่ำนปลำยเท้ำขวำ ส้นเท้ำขวำจะเริ่มยกขึ้นพ้นพื้น และเมื่อก้ำวเท้ำซ้ำยออกไปเต็มที่แล้ว ส้นเท้ำซ้ำยและปลำยเท้ำขวำจะสัมผัสพื้นพร้อมกัน ให้วำงปลำยเท้ำซ้ำยรำบลงกับพื้นทันทีในขณะที่ลำตัวยังคงเคลื่อนที่ไปข้ำงหน้ำ ถ่ำยน้ำหนักตัวลงบนเท้ำซ้ำย กำรก้ำวเท้ำขวำไปข้ำงหน้ำ ให้ลำกปลำยเท้ำไปกับพื้นและเคลื่อนผ่ำนเท้ำซ้ำยเช่นเดียวกับกำรก้ำวเท้ำเดินด้วยเท้ำซ้ำย กำรถ่ำยน้ำหนักตัวขณะก้ำวเท้ำเดินจำกตำแหน่งที่อยู่กับที่ น้ำหนักตัวส่วนใหญ่จะอยู่บนปลำยเท้ำก่อนที่จะเริ่มก้ำวเท้ำออกไป ขณะกำลังก้ำวเท้ำเดิน น้ำหนักตัวจะอยู่บนเท้ำที่ไม่ได้ก้ำว และเมื่อก้ำวเท้ำเกินออกไปเต็มที่แล้ว น้ำหนักตัวจะถูกแบ่งอยู่ระหว่ำงส้นเท้ำหน้ำกับปลำยเท้ำหลัง แล้วค่อย ๆ ถ่ำยน้ำหนักตัวไปที่เท้ำหน้ำ เมื่อวำงเท้ำหน้ำลงเต็มเท้ำน้ำหนักตัวทั้งหมดจะมำอยู่บนเท้ำหน้ำทันที ข้อควรระวัง : จำกลักษณะท่ำยืนอยู่กับที่ จะรู้สึกว่ำลำตัวเคลื่อนไปข้ำงหน้ำก่อนเท้ำ แต่ถ้ำเท้ำเคลื่อนที่ไปข้ำงหน้ำก่อนลำตัว น้ำหนักตัวจะถูกส่งไปข้ำงหลังมำกเกินไป ตลอดเวลำที่กำลังเดินอยู่ปล่อยเข่ำให้สบำยและหย่อนเข่ำตำมธรรมชำติ ขำจะตรงเมื่อก้ำวเท้ำไปเต็มที่แล้วแต่ไม่ เกร็งเข่ำ การเดินถอยหลังของผู้หญิง(The backward Walk Lady) กำรจัดทรวดทรง : ยืนตัวตรงปล่อยเข่ำตำมสบำยแต่อย่ำให้งอ วำงลำตัวเอนไปข้ำงหลังเล็กน้อยจนน้ำหนักตัวอยู่บนส้นเท้ำทั้งสองข้ำง กำรทำเช่นนี้จะไม่ช่วยในกำรทรงตัวแต่ทำให้มองดูแล้วสง่ำงำม พยำยำมอย่ำเอนลำตัวไปข้ำงหลังมำกเกินไป เพรำะจะทำให้เกิดส่วนโค้งที่ไม่สวยงำมของหลังขึ้น ถึงแม้ว่ำผู้หญิงจะเอนลำตัวไปข้ำงหลัง แต่ก็ต้องออกแรงต้ำนกำรเคลื่อนที่ไปข้ำงหน้ำของผู้ชำยไว้บ้ำงเล็กน้อย ซึ่งไม่ใช่แรงต้ำนทั้งตัวแต่จะใช้ส่วนล่ำงของร่ำงกำยตรงสะโพก มิฉะนั้น
  • 6. จะเป็นกำรขัดขวำงกำรเคลื่อนที่ไปข้ำงหน้ำของผู้ชำย และทำให้ยำกต่อกำรก้ำวเท้ำออกนอกคู่ (Outside Partner) ผู้หญิงไม่ควรเอนลำตัวมำข้ำงหน้ำ หรือทิ้งน้ำหนักตัวมำข้ำงหน้ำในขณะที่กำลังเดินถอยหลัง เพรำะจะทำให้ผู้ชำยมีแรงต้ำนบริเวณหน้ำอก และรู้สึกลำบำกในกำรนำผู้หญิง ทั้งยังทำให้ผู้ชำยรู้สึกว่ำผู้หญิงตัวหนักอีกด้วย กำรจัดทรวดทรงเป็นเรื่องที่ค่อนข้ำงยำก แต่ถ้ำได้พยำยำมฝึกกำรควบคุมกำรใช้กล้ำมเนื้อขำทั้งสองข้ำงให้สำมำรถลดส้นเท้ำลงเมื่อเร่งจังหวะในกำรลีลำศ ก็อำจทำให้สำมำรถจัดทรวดทรงได้ง่ำยขึ้ กำรเคลื่อนไหวขำและเท้ำ : ผู้หญิงจะเริ่มต้นเดินถอยหลังด้วยเท้ำขวำก่อน เริ่มด้วยกำรถ่ำยน้ำหนักตัวไปอยู่บนเท้ำซ้ำย ถอยเท้ำขวำไปข้ำงหลังโดยเคลื่อนออกจำกสะโพก เมื่อถอยเท้ำขวำผ่ำนเท้ำซ้ำย ปลำยเท้ำซ้ำยจะค่อย ๆ ยกขึ้นพ้นพื้น เมื่อถอยเท้ำขวำออกไปเต็มที่ปลำยเท้ำขวำและส้นเท้ำซ้ำยจะสัมผัสพื้นพร้อมกัน ลำตัวยังคงเคลื่อนที่ไปข้ำงหลัง ลดส้นเท้ำขวำลงบนพื้น ถ่ำยน้ำหนักตัวมำอยู่บนเท้ำขวำ เท้ำซ้ำยถอยตำมเท้ำขวำไปข้ำงหลัง (ถอยด้วยส้นเท้ำ) เมื่อเท้ำซ้ำยถอยมำอยู่ระดับเดียวกับเท้ำขวำ ปลำยเท้ำซ้ำยจึงจะสัมผัสพื้น สำหรับกำรเดินถอยหลังด้วยเท้ำซ้ำย ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับกำรเดินถอยหลังด้วยเท้ำขวำ กำรถ่ำยน้ำหนักตัวในขณะที่เดินถอยหลังจำกตำแหน่งที่อยู่กับที่ น้ำหนักตัวจะอยู่บนส้นเท้ำก่อนเริ่มเดินถอยหลัง เมื่อก้ำวเท้ำเดินถอยหลังน้ำหนักตัวจะอยู่บนเท้ำที่ไม่ได้ก้ำว และเมื่อถอยเท้ำไปข้ำงหลังเต็มที่แล้วน้ำหนักตัวจะอยู่ระหว่ำงส้นเท้ำหน้ำกับปลำยเท้ำหลัง แล้วค่อย ๆ ถ่ำยน้ำหนักตัวไปอยู่บนเท้ำหลัง ข้อควรระวัง : 1. จำกท่ำยืนอยู่กับที่ เมื่อจะเคลื่อนที่จะต้องให้รู้สึกว่ำลำตัวเคลื่อนที่ไปก่อนเท้ำ 2. ไม่ลำกเท้ำไปกับพื้น ให้ยกปลำยเท้ำขึ้นขณะเคลื่อนเท้ำถอยไปข้ำงหลัง เข่ำหย่อนและผ่อนคลำยตำมธรรมชำติตลอดกำรเดินขำ เหยียดตรงเมื่อก้ำวเท้ำถอยหลังไปเต็มที่แล้ว แต่ไม่เกร็งเข่ำ 3. ข้อเท้ำและหลังเท้ำปล่อยตำมสบำย 4. เท้ำทั้งสองข้ำงเหยียดตรง ยกปลำยเท้ำส้นเท้ำและข้ำงเท้ำด้ำนในผ่ำนซึ่งกันและกันทุกครั้งที่ก้ำวเดิน การเดินไปข้างหน้าของผู้หญิง(The Forward Walk Lady) ถึงแม้ว่ำกำรก้ำวขำและเท้ำของผู้หญิง จะเหมือนกับกำรเดินไปข้ำงหน้ำของผู้ชำย แต่ผู้หญิงจะต้องไม่เอนลำตัวไปข้ำงหน้ำ ในกำรที่จะช่วยให้ผู้ชำยเดินถอยหลังได้สะดวกขึ้นนั้น ผู้หญิงจะต้องดันลำตัวไปข้ำงหน้ำขณะที่ก้ำวเท้ำเดิน แต่จะต้องไม่ทำให้ผู้ชำยเสียกำรทรงตัว สำหรับผู้ชำยยังคงเป็นผู้นำในกำรเคลื่อนที่ไปข้ำงหน้ำหรือถอยหลังอยู่เช่นเดิม การเดินถอยหลังของผู้ชาย (The backward Walk Gentleman) โดยปกติแล้ว ผู้ชำยมักจะไม่ค่อยเดินถอยหลัง ยกเว้นจังหวะสโลว์ฟอกซ์ทรอท (Slow Fox-trot) ถึงแม้ว่ำกำรก้ำวเท้ำเดินถอยหลังของผู้ชำย จะมีลักษณะกำรก้ำวขำและเท้ำเหมือนกับกำรเดินถอยหลังของผู้หญิงก็ตำม แต่ผู้ชำยต้องรักษำทรวดทรงให้เหมือนกับกำรเดินไปข้ำงหน้ำอยู่เสมอ อนึ่งในกำรฝึกเดินลีลำศ หำกเป็นกำรฝึกเดินเพียงลำพัง ส่วนใหญ่จะเก็บมือโดยกำรท้ำวเอวหรือเก็บมือแบบ C.b.M. คือ คว่ำฝ่ำมือทั้งสองข้ำงวำงทับกันในระดับอกและกำงศอกทั้งสองข้ำงขนำนกับพื้น
  • 7. วิธีนี้นิยมนำมำใช้ในกำรฝึกลีลำศประเภทบอลรูม (ballroom Dancing) แต่ในขณะที่ลีลำศกับคู่นั้น หำกมือข้ำงใดไม่ได้ใช้หรือไม่ได้จับคู่ลีลำศ ก็จะมีตำแหน่งของกำรวำงแขน (Arm Position) โดยนำมำจำกท่ำลีลำศของบัลเล่ย์ กำรจะวำงแขนในลักษณะใดขึ้นอยู่กับรูปแบบของกำรลีลำศในลวดลำยนั้น ๆ การจับคู่ลีลาศ (The Hold) กำรจับคู่ลีลำศ เป็นสิ่งสำคัญที่ผู้ฝึก ลีลำศจะต้องทรำบ และให้ควำมสนใจมำกเป็นพิเศษ เพรำะถ้ำจับคู่ไม่ถูกต้องตำมแบบแผน นอกจำกจะทำให้ขำดควำมสง่ำงำมแล้ว ยังเป็นอุปสรรคอย่ำงยิ่งในกำรนำ(Lead) และกำรตำม (Follow) เพรำะจะทำให้เสียกำรทรงตัวและกำรก้ำวเท้ำของคู่ลีลำศไม่สอดคล้องสัมพันธ์กัน หรืออำจทำให้เหยียบเท้ำกันได้ดังนั้นกำรจับคู่ลีลำศที่ถูกต้องจึงมีควำมสำคัญและจำเป็นอย่ำงยิ่งในกำรลีลำศ โดยเฉพำะผู้ชำยจะต้องศึกษำทำควำมเข้ำใจให้ถูกต้อง โดยปกติ ท่ำเริ่มต้นในกำรจับคู่ลีลำศแทบทุกจังหวะ จะจับคู่แบบบอลรูมปิด (Closed ballroom) ได้แก่ จังหวะวอลซ์ (Waltz) จังหวะควิกสเต็ป (Quick Step) จังหวะชำชำ ช่ำ (Cha Cha Cha) และจังหวะบีกิน (beguine) แต่เมื่อคู่ลีลำศออกลวดลำย (Figure) ต่ำงๆแล้ว กำรจับคู่ลีลำศจะเปลี่ยนไปเป็นแบบอื่นตำมลวดลำยของจังหวะนั้นๆ มีเพียงบำงจังหวะที่จับคู่ลีลำศตอนเริ่มต้นแตกต่ำงออกไป ได้แก่จังหวะแทงโก้(Tango) จังหวะไจฟว์(Jive) และจังหวะร็อคแอนด์โรล (RockandRoll) เป็นต้น ประโยชน์ของการเต้นลีลาส จากสภาพความเป็นอยู่ของคนในสังคมปัจจุบัน ที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทาให้เกิดปัญหาที่สลับซับซ ้อน ไม่ว่าจะเป็นปัญหาทางด ้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง สภาพการณ์เหล่านี้เป็นสาเหตุทาให้ประชาชนประสบกับปัญหาต่าง ๆ ทั้งทางด ้านร่างกายและจิตใจเพิ่มขึ้นเป็นลาดับ ซึ่งจิตแพทย์ นักจิตวิทยา และนักการศึกษาต่างก็พยายามเน้นและชี้นาให้เห็นถึงความจาเป็น เกี่ยวกับการใช ้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ โดยการเข ้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ ที่สามารถผ่อนคลายความเครียด และเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้น ลีลาศเป็นกิจกรรมหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะช่วยผ่อนคลายความเครียดแล ้วยังช่วยพัฒนาทั้งทางด ้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคมได ้เป็นอย่างดี จึงพอสรุปประโยชน์ของการลีลาศได ้ ดังนี้ 1. ก่อให้เกิดความซาบซึ้งในจังหวะดนตรี 2. ก่อให้เกิดความสนุกสนาม เพลิดเพลิน 3. เป็นกิจกรรมนันทนาการ และเป็นการใช ้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 4. เป็นกิจกรรมสื่อสัมพันธ์ทางสังคม ผู้ชายและผู้หญิงสามารถเข ้าร่วมในกิจกรรมพร้อมกันได ้ 5. ช่วยพัฒนาทักษะทางกลไก (Motor Skill) 6. ช่วยส่งเสริมสุขภาพพลานามัย ทั้งทางด ้านร่างกายและจิตใจ ให้แข็งแรงสมบูรณ์อันจะทาให้มีชีวิตยืนยาวและมีความสุข 7. ทาให้มีรูปร่างทรวดทรงงดงาม สมส่วน มีบุคลิกภาพในการเคลื่อนไหวที่ดูแล ้วสง่างาม ยิ่งขึ้น 8. ช่วยผ่อนคลายความตึงเครียดทางด ้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม 9. ช่วยให้รู้จักการเข ้าสังคม และรู้จักการอยู่ร่วมกันในสังคมได ้เป็นอย่างดี 10. ช่วยส่งเสริมให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง กล ้าแสดงออกในสิ่งที่ดีงาม 11. ทาให้มีความซาบซึ้งในวัฒนธรรมอันดีงาม และช่วยจรรโลงให้คงอยู่ตลอดไป 12. เป็นกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 13. เป็นกิจกรรมที่สามารถช่วยแก้ไขข ้อบกพร่องทางกาย