SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
กระบวนการสันติภาพที่ ไอร์แลนด์เหนือ
North Ireland:
แก้ความขัดแย้งทางการเมืองจากการต่อสู้ด้วยกาลังทหารทั้งสอง
ฝ่ าย เริ่มต้นจากประชาชนถูกฆ่า 14 คนกลับกลายเป็นการต่อสู้ที่
ทั้งสองฝ่ ายต้องสูญเสียเกือบสี่พันคน ใช้เวลาหาความจริง ๓๗ ปี
เวลาเจรจา สาเหตุขัดแย้ง การจัดการ คณก.หาความจริง
South Korea 10 เรียกร้อง ปชต. ปขข.กดดัน ตั้งคณะกรรมการ
South Africa 10 ไม่เป็นธรรม สร้างภาพอนาคตร่วมกัน ตั้งคณะกรรมการ
Aceh Indonesia 7 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ
NorthIreland 26 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ
Rwanda 8 ไม่เป็นธรรม/กดขี่ คณก.ปรองดอง ตั้งศาล กาชาชา
Chili 17 อุดมการณ์แตกต่าง เลือกตั้ง ตั้งคณะกรรมการ
Columbia 22 อุดมการณ์แตกต่าง ปรับปรุงกฎหมาย คณก ฟื้นฟู
Morocco 16 เรียกร้อง ปชต. ให้ฝ่ ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง ตั้งคณะกรรมการ
Bolivia 3 ไม่เป็นธรรม ลงประชามติ
Germany 8 อุดมการณ์แตกต่าง การเจรจา ตั้งคณะกรรมการ
เวลาเจรจา ชดเชยเยียวยา การจัดการ ทัศนคติเปลี่ยนแปลง
South Korea 10 เยียวยา ปขข.กดดัน ทหารให้คามั่นจะไม่เกิดอีก
South Africa 10 เยียวยา สร้างภาพอนาคตร่วมกัน มองอนาคตร่วมกัน
Aceh Indonesia 7 เยียวยา เจรจา/ตปท. ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา
North Ireland 26 เยียวยา เจรจา/ตปท. ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา
Rwanda 8 เยียวยา คณก.ปรองดอง อยู่ร่วมกัน
Chili 17 เยียวยา เลือกตั้ง หวงแหน ปชต.
Columbia 22 เยียวยา ปรับปรุงกฎหมาย การเจรจา
Morocco 16 เยียวยา ให้ฝ่ ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง รับรู้มีการละเมิดสิทธิมนุษชน
Bolivia 3 ลงประชามติ ยอมรับความแตกต่าง
Germany 8 เยียวยา การเจรจา ยึดถือความเท่าเทียม
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
South Korea ภาคประชาชนเข้มแข็งผลักดันให้เปลี่ยนแปลง
South Africa มีเจตจานงทางการเมือง/สร้างภาพอนาคตร่วมกัน
Aceh Indonesia มีเจตจานงทางการเมือง/เจรจากับศัตรู
North Ireland มีเจตจานงทางการเมือง/มีส่วนร่วม/ได้รับแก้ไขปัญหาโครงสร้าง/สร้างบรรยากาศ
Rwanda สร้างความร่วมมือ
Chili ตปท.กดดัน
Columbia ภาคประชาชนเข้มแข็ง/มีเจตจานงทางการเมือง/ปรับปรุงกฎหมาย
Morocco สร้างประชาธิปไตย/การมีส่วนร่วม
Bolivia ปฎิรูปกฎหมาย/ยอมรับความแตกต่าง
Germany สร้างอนาคตร่วม/ลดความเหลื่อมล้า
สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
1. ระยะเวลา 26 ปี (ใช้ระยะเวลามากที่สุดใน 10 ประเทศ)
2. คู่ขัดแย้ง กลุ่มอังกฤษโปรเตสแตนท์กับกลุ่มไอริชคาทอลิก
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การที่ชาวไอริชคาทอลิกซึ่งเป็นคนส่วนน้อยถูกเลือกปฏิบัติทางการเมือง
เศรษฐกิจ และสังคม ประกอบกับความสานึกความเป็นชาตินิยมไอริช
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
1) เกิดการเจรจาระหว่างผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายคือกลุ่มอังกฤษโปรเตสแตนท์
กลุ่มไอริชคาทอลิก รัฐบาล อังกฤษ และรัฐบาลไอร์แลนด์ โดยมี
สหรัฐอเมริกาเป็นผู้สนับสนุน นาไปสู่การลงนามข้อตกลงสันติภาพ
2) ออกพระราชบัญญัติไอร์แลนด์เหนือ เพื่อนาข้อตกลงไปสู่การปฏิบัติ
4.2 การค้นหาความจริง รัฐบาลตั้งคณะกรรมการสอบสวนกรณีอาทิตย์เลือด (Bloody Sunday) โดย
เปิดเผยว่าทหารอังกฤษเป็นผู้กระทาผิด รัฐบาลได้ออกมาขอโทษชาวไอริช
คาทอลิกอย่างเป็นทางการ ซึ่งสังคมโดยรวมให้อภัยและไม่มีการนาตัว
ผู้เกี่ยวข้องมาลงโทษ
4.3 การให้อภัย ปล่อยตัวนักโทษการเมืองที่ถูกตัดสินจาคุกจากการกระทาที่เป็นการก่อการร้าย
โดยมีคณะกรรมการอิสระเป็นผู้พิจารณาคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการปล่อยตัว
4.4 การชดใช้ความผิด ตั้งทีมสืบสวนสอบสวนเหตุการณ์ความรุนแรงในอดีต เพื่อหาข้อเท็จจริง
4.5 การชดเชยและเยียวยา มีการชดเชยเยียวยาในรูปของตัวเงินและโครงการพัฒนาอาชีพและสร้าง
รายได้แก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ เจ้าหน้าที่รัฐ และ
อดีตสมาชิกกลุ่มกองกาลังของทั้งสองฝ่ายตามลาดับ
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
1) มีคณะผู้บริหารท้องถิ่นตามหลักการแบ่งอานาจ ประกอบด้วยพรรค
การเมืองหลัก 2 ขั้ว
2) มีการปฏิรูปองค์กรตารวจทั้งระบบให้มีความเป็นกลางมากขึ้น
3) มีการแก้ไขนโยบายทางการศึกษา การจ้างงาน และการจัดสรรที่อยู่
อาศัยที่เลือกปฏิบัติให้เกิดความเป็นธรรม พร้อมตั้งคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชน และคณะกรรมการเพื่อความเสมอภาค
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
1) ยอมรับร่วมกันว่าความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งทางออกต่อปัญหา
และตกลงใช้กระบวนการประชาธิปไตยเป็นเครื่องมือในการตัดสิน
ข้อขัดแย้ง
2) เกิดความตระหนักว่าแม้จะคิดไม่เหมือนกันและยังคงมีเป้ าหมายที่
ขัดแย้งกันเช่นเดิมแต่ก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ภายใต้กติกาที่ตกลง
ร่วมกัน
สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
6. ข้อสังเกตในส่วนของ
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
1) เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง
2) มีกระบวนการหาทางออกที่ทุกฝ่ายรู้สึกว่าเป็นส่วน
หนึ่ง
3) เหตุแห่งความไม่เป็นธรรมได้รับการแก้ไขในเชิง
โครงสร้าง
4) มีการสร้างบรรยากาศที่ทาให้ทุกฝ่ายรู้สึกว่ามี
ทางเลือกอื่นที่เป็นไปได้
ในการบรรลุเป้าหมายนอกจากการใช้ความรุนแรง
สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
พื้นที่ไอร์แลนด์เหนือ
ทาไมไอร์แลนด์เหนือจึงแยกออกจากไอร์แลนด์
• ปี 1921 หลังจากมีการ
ต่อต้าน อังกฤษพยายามที่
จะทาให้ทุกคนพอใจ โดย
สร้างให้เกิด Irish Free
State and Northern
Ireland ยังเป็นส่วนหนึ่ง
ของอังกฤษ
Who is fighting?
• Protestants
• Protestants are the
majority in Northern
Ireland.
• Catholics
• Catholics are a strong
minority in Northern
Ireland (and majority in
Ireland)
การต่อสู้ของประชาชน
• ใน 1500s, ไอร์แลนด์ถูกพิชิต
โดยกษัตริย์เฮนรี่ viii และ
อังกฤษ
• เขาแยกประเทศอังกฤษ
ออกไปจากโบสถ์คาทอลิก
ทาไมประชาชนจึงลุกมาต่อสู้
• กษัตริย์เฮนรี่เอาที่ดินใน
ไอร์แลนด์เหนือจากขุนนาง
คาทอลิก มามอบให้กับเพื่อน
อังกฤษและชาวสกอตของเขา
• คนยังคงไม่พอใจเกี่ยวกับเรื่องนี้
England
Northern Ireland
ทาไมไอร์แลนด์เหนือไม่ยอมอยู่กับไอร์แลนด์
• ช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ชาว
ไอริชคาทอลิกตัดสินใจที่
ต้องการที่จะแยกตัวออกมา
จากประเทศอังกฤษ
• ชนกลุ่มน้อยโปรเตสแตนต์
กลัวที่อาศัยอยู่ในประเทศ
คาทอลิก
Who is the IRA, and how do they fit in?
• กลุ่มชาตินิยมที่ทุ่มเทให้กับ
ความคิดของสหรัฐ
ไอร์แลนด์
• ต้องการให้อังกฤษออกจาก
ไอร์แลนด์เหนือ
ความขัดแย้งตกค้าง
• "กาแพงสันติภาพ" ที่มีอยู่ใน
บางสถานที่แยกคาทอลิกและ
โปรเตสแตนต์
• เด็กนักเรียนของแต่ละศาสนา
ไม่ได้ไปโรงเรียนเดียวกัน
ความขัดแย้งในปัจจุบัน
• ทุกปี "Orangemen" เดินขบวน
ในยุโรปเหนือฉลองชัยชนะเหนือ
อังกฤษคาทอลิก
• พวกเขาทาให้เกิดความขัดแย้ง
โดยเดินผ่านย่านคาทอลิก
เหตุความรุนแรง
• ไอร์แลนด์เหนืออยู่ทางตอนเหนือของเกาะไอร์แลนด์และอยู่ทาง
ฝั่งตะวันตกของอังกฤษ
• ศต.16 ประชากรดั้งเดิมเป็นชาวไอริชนับถือคริสต์นิกายคาทอลิก
มีชาวอังกฤษและสก็อตแลนด์ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนท์
จานวนมากเริ่มเข้าไปตั้งถิ่นฐานตามนโยบาย “Plantation of
Ulster”
• ชุมชนเดิมในพื้นที่รู้สึกไม่พอใจ เกิดการต่อต้านที่จะขอปกครอง
ตนเองและทวีความรุนแรงมากขึ้น จนปี 1921 มีการลงนามใน
สนธิสัญญา Government of Ireland Act ที่ยินยอมให้ 26 แคว้น
บนเกาะไอร์แลนด์แยกตัวเป็นรัฐอิสระ
เหตุความรุนแรง
• อีก 6 แคว้นทางตอนเหนือของเกาะจะยังคงเป็นส่วนหนึ่งของ
สหราชอาณาจักรต่อไป ให้มีสภาเป็นของตนเอง ทาให้ไอร์แลนด์
เหนือซึ่งมีประชากรที่เป็ นโปรเตสแตนท์ประมาณร้อยละ 60
และอีกร้อยละ 40 เป็นคาทอลิก กลายเป็นพื้นที่แห่งความขัดแย้ง
รุนแรง
• มีกลุ่ม Unionist ส่วนมากเป็นโปรเตสแตนท์ที่ต้องการอยู่กับ
อังกฤษต่อไป กับกลุ่ม Nationalist ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคาทอลิกที่
ต้องการแยกตัวเป็ นอิสระออกจากอังกฤษเพื่อผนวกเข้ากับ
สาธารณรัฐไอร์แลนด์
การแบ่งสรรอานาจ (Power-Sharing) ระหว่างสองฝ่ าย
• กลุ่ม Unionist เป็นคนส่วนใหญ่ในไอร์แลนด์เหนือกุม
อานาจทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมมา
เกือบ 50 ปี
• ปี 1968 เกิดการประท้วงเดินขบวนเคลื่อนไหวเรียกร้อง
ความเท่าเทียมทางสังคม ให้ยุติการกดขี่กีดกันชาว
คาทอลิก
การแบ่งสรรอานาจ (Power-Sharing) ระหว่างสองฝ่ าย
• การประท้วงได้ขยายตัวเป็ นความรุนแรงมีการปะทะ
ระหว่างกองกาลังประชาชนสองฝ่ าย ในชื่อของ “The
Troubles” เกิดการสูญเสียชีวิตกว่า 3,600 คนและบาดเจ็บ
กายและจิตใจอีกหลายหมื่นคนในระยะเวลา 30 ปี
• ปี 1998 ทั้งสองฝ่ ายสามารถบรรลุข้อตกลงสันติภาพทาง
การเมืองด้วยสันติวิธี โดยให้อังกฤษถ่ายโอนอานาจในการ
ปกครองให้แก่คณะผู้บริหารและสภาของไอร์แลนด์เหนือ
เป็น
เงื่อนไขสู่กระบวนการสันติภาพ: ปรากฏการณ์ของการ
ดาเนินงานจากหลายฝ่ าย (multiple tracks diplomacy)
• การปรับเปลี่ยนมุมมองของประชาชนจากเหตุการณ์สาคัญ เช่น
ที่เมืองวาริงตัน การจัดตั้งศูนย์สันติภาพโดยประชาชน เปลี่ยน
การแก้แค้นเป็นสันติภาพ ความรู้สึกละอายต่อการกระทา
ของตนเอง
• การทางานของฝ่ ายที่สามที่แทรกตัวอยู่ในฝ่ ายที่ขัดแย้ง ผ่านการ
สร้างความไว้วางใจ ด้วยการจัดเวทีแลกเปลี่ยนที่หลากหลาย
บนพื้นฐานของการเป็นมนุษย์ร่วมโลก (humanizing strategy)
เงื่อนไขสู่กระบวนการสันติภาพ: ปรากฏการณ์ของการ
ดาเนินงานจากหลายฝ่ าย (multiple tracks diplomacy)
• การขยายวงไปสู่ฝ่ ายสนับสนุนการต่อสู้ กลุ่มไอริชนอก
ประเทศ
• ภาวะผู้นาในหลายส่วน รัฐบาลไอร์แลนด์ อังกฤษ สหรัฐฯ
• การปรับเปลี่ยนภายในขบวนการต่อสู้
• โอกาสที่คู่ต่อสู้สื่อสารกันโดยตรง กรณีการทางานของ
ผู้ต้องขัง
เงื่อนไขบั่นทอนโอกาส และ ความก้าวหน้า
ของกระบวนการสันติภาพ
• การตกเป็นเหยื่อของความรู้สึกสิ้นหวัง ทางเศรษฐกิจ และ
การเมือง
• การขาดพื้นที่แสดงออกซึ่งความทุกข์ยาก (ไม่มีโอกาสประท้วง)
• การปล่อยให้โอกาสของความร่วมมือผ่านไป (นักการเมืองเสียง
ข้างมากไม่ตอบสนอง เมื่อมีข้อเสนอเปิดกว้างทางการเมืองให้
ฝ่ ายต่อสู้)
• ความไม่ไว้วางใจระดับสูง
เส้นทางสันติภาพ บนความอดทน
• ๑๙๙๓ ระเบิดที่เมืองวาริงตัน กระทบสามัญสานึกของสามัญชน
• ๑๙๙๔ ปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงแนวทางการต่อสู้ มีการ
เจรจาแลกเปลี่ยนประปราย และ ขยายวงเพิ่มขึ้น ความร่วมมือ
ระหว่างสองรัฐบาล
• ๙ เม.ย ๑๙๙๘ ข้อตกลง Good Friday
• ๑๙๙๘ – ๒๐๐๗ ปัญหาการวางอาวุธ รัฐสภาท้องถิ่นล่ม
• ๒๐๐๘ รัฐบาล และ รัฐสภาท้องถิ่นกลับมาทางานใหม่
• ๒๐๐๙ รายงานของ consultative group on the Past วิเคราะห์
และ แสวงหาความจริง ชดเชยเพื่อความยุติธรรม k
กระบวนการเจรจา
• หลักการสาคัญ ความเสมอภาค และ การมีส่วนร่วม
• การจัดตั้งองค์กรที่เป็นทางการเพื่อการเจรจา ทางาน
สองฝ่ าย มีการจัดสรรทรัพยากร เพื่อการทางานเต็มเวลา
๑๘ เดือนเต็ม
• ผู้นาที่มีประสิทธิภาพ และ ได้รับความเชื่อถือ
• การมีส่วนร่วมของประชาชนคู่ขนานผ่านการเลือกตั้ง
เข้ามาเป็นสภาประชาชน ทางานความสัมพันธ์แนวราบ
ประคับประคององค์กรจัดตั้งที่เป็นทางการ
กระบวนการเจรจา
• มีปัญหาความไม่ไว้วางใจสูง และ ปัญหาเรื่องศักดิ์ศรี
ทาให้การวางอาวุธเป็นไปด้วยความยากลาบากแต่ก็
สามารถผ่านพ้นไปได้
• ใช้กลไกประชาธิปไตยในการแสดงความคิดเห็น
ลงประชามติ
• ไม่ปิดกั้นความใฝ่ ฝันทางอุดมการณ์แต่ แสดงผ่าน
กระบวนการ ปชต
ข้อตกลง
• มีสามระดับ ชุมชนด้วยกันเอง เหนือ-ใต้ ตะวันออก-ตก
• การวางอาวุธ
• การแบ่งอาจาจผ่านระบบการเลือกตั้งแบบตัวแทนกลุ่ม
• การปรับหน่วยงานตารวจ
• การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
• การมีตัวแทนกลุ่มในรัฐสภาอังกฤษ
• การกระจายอานาจ
• การยอมรับอัตตลักษณ์ทางวัฒนธรรม
บทเรียนสาหรับประเทศไทย
• สิ่งที่ ได้รับการแก้ไขในไอร์แลนด์เหนือก็คือ จัดให้มีกระบวนการทาง
ประชาธิปไตยที่มีตัวแทนของฝ่ ายขัดแย้ง ในลักษณะของการแบ่งอานาจ
• ปรับให้มีความยุติธรรมทางเศรษฐกิจ และ โครงสร้างภาครัฐมากขึ้น
• สังคมอุดมคติไม่ใช่ความกลมเกลียว แต่ ความอดกลั้น
• Multiple tracks diplomacy บทบาทของฝ่ ายที่สาม ที่อยู่ในส่วนต่าง ๆ
ของสังคม
• การทางานร่วมกับขบวนการต่อสู้ การจัดตั้งองค์กรร่วมหลายฝ่ าย และ
ขบวนการภาคประชาสังคม

More Related Content

What's hot

наркоманія
наркоманіянаркоманія
наркоманіяMoshinska
 
Спадкові хвороби
Спадкові хворобиСпадкові хвороби
Спадкові хворобиMarina Galushko
 
BÀI TẬP CUỐI TUẦN TOÁN - TIẾNG VIỆT TUẦN 9 - LỚP 4
BÀI TẬP CUỐI TUẦN TOÁN - TIẾNG VIỆT TUẦN 9 - LỚP 4BÀI TẬP CUỐI TUẦN TOÁN - TIẾNG VIỆT TUẦN 9 - LỚP 4
BÀI TẬP CUỐI TUẦN TOÁN - TIẾNG VIỆT TUẦN 9 - LỚP 4Bồi Dưỡng HSG Toán Lớp 3
 
коучинг ата ана
коучинг ата анакоучинг ата ана
коучинг ата анаAsem Sarsembayeva
 
пізні гестози
пізні гестозипізні гестози
пізні гестозиagusya
 
Цукровий діабет .pptx
Цукровий діабет .pptxЦукровий діабет .pptx
Цукровий діабет .pptxNadzhafliKubra
 
Initiative and referendum process
Initiative and referendum processInitiative and referendum process
Initiative and referendum processStarscreamMuse
 

What's hot (8)

наркоманія
наркоманіянаркоманія
наркоманія
 
System polityczny usa
System polityczny usaSystem polityczny usa
System polityczny usa
 
Спадкові хвороби
Спадкові хворобиСпадкові хвороби
Спадкові хвороби
 
BÀI TẬP CUỐI TUẦN TOÁN - TIẾNG VIỆT TUẦN 9 - LỚP 4
BÀI TẬP CUỐI TUẦN TOÁN - TIẾNG VIỆT TUẦN 9 - LỚP 4BÀI TẬP CUỐI TUẦN TOÁN - TIẾNG VIỆT TUẦN 9 - LỚP 4
BÀI TẬP CUỐI TUẦN TOÁN - TIẾNG VIỆT TUẦN 9 - LỚP 4
 
коучинг ата ана
коучинг ата анакоучинг ата ана
коучинг ата ана
 
пізні гестози
пізні гестозипізні гестози
пізні гестози
 
Цукровий діабет .pptx
Цукровий діабет .pptxЦукровий діабет .pptx
Цукровий діабет .pptx
 
Initiative and referendum process
Initiative and referendum processInitiative and referendum process
Initiative and referendum process
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

1กระบวนการสันติภาพที่ ไอร์แลนด์เหนือ

  • 2. North Ireland: แก้ความขัดแย้งทางการเมืองจากการต่อสู้ด้วยกาลังทหารทั้งสอง ฝ่ าย เริ่มต้นจากประชาชนถูกฆ่า 14 คนกลับกลายเป็นการต่อสู้ที่ ทั้งสองฝ่ ายต้องสูญเสียเกือบสี่พันคน ใช้เวลาหาความจริง ๓๗ ปี
  • 3. เวลาเจรจา สาเหตุขัดแย้ง การจัดการ คณก.หาความจริง South Korea 10 เรียกร้อง ปชต. ปขข.กดดัน ตั้งคณะกรรมการ South Africa 10 ไม่เป็นธรรม สร้างภาพอนาคตร่วมกัน ตั้งคณะกรรมการ Aceh Indonesia 7 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ NorthIreland 26 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ Rwanda 8 ไม่เป็นธรรม/กดขี่ คณก.ปรองดอง ตั้งศาล กาชาชา Chili 17 อุดมการณ์แตกต่าง เลือกตั้ง ตั้งคณะกรรมการ Columbia 22 อุดมการณ์แตกต่าง ปรับปรุงกฎหมาย คณก ฟื้นฟู Morocco 16 เรียกร้อง ปชต. ให้ฝ่ ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง ตั้งคณะกรรมการ Bolivia 3 ไม่เป็นธรรม ลงประชามติ Germany 8 อุดมการณ์แตกต่าง การเจรจา ตั้งคณะกรรมการ
  • 4. เวลาเจรจา ชดเชยเยียวยา การจัดการ ทัศนคติเปลี่ยนแปลง South Korea 10 เยียวยา ปขข.กดดัน ทหารให้คามั่นจะไม่เกิดอีก South Africa 10 เยียวยา สร้างภาพอนาคตร่วมกัน มองอนาคตร่วมกัน Aceh Indonesia 7 เยียวยา เจรจา/ตปท. ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา North Ireland 26 เยียวยา เจรจา/ตปท. ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา Rwanda 8 เยียวยา คณก.ปรองดอง อยู่ร่วมกัน Chili 17 เยียวยา เลือกตั้ง หวงแหน ปชต. Columbia 22 เยียวยา ปรับปรุงกฎหมาย การเจรจา Morocco 16 เยียวยา ให้ฝ่ ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง รับรู้มีการละเมิดสิทธิมนุษชน Bolivia 3 ลงประชามติ ยอมรับความแตกต่าง Germany 8 เยียวยา การเจรจา ยึดถือความเท่าเทียม
  • 5. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ South Korea ภาคประชาชนเข้มแข็งผลักดันให้เปลี่ยนแปลง South Africa มีเจตจานงทางการเมือง/สร้างภาพอนาคตร่วมกัน Aceh Indonesia มีเจตจานงทางการเมือง/เจรจากับศัตรู North Ireland มีเจตจานงทางการเมือง/มีส่วนร่วม/ได้รับแก้ไขปัญหาโครงสร้าง/สร้างบรรยากาศ Rwanda สร้างความร่วมมือ Chili ตปท.กดดัน Columbia ภาคประชาชนเข้มแข็ง/มีเจตจานงทางการเมือง/ปรับปรุงกฎหมาย Morocco สร้างประชาธิปไตย/การมีส่วนร่วม Bolivia ปฎิรูปกฎหมาย/ยอมรับความแตกต่าง Germany สร้างอนาคตร่วม/ลดความเหลื่อมล้า
  • 6. สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ) 1. ระยะเวลา 26 ปี (ใช้ระยะเวลามากที่สุดใน 10 ประเทศ) 2. คู่ขัดแย้ง กลุ่มอังกฤษโปรเตสแตนท์กับกลุ่มไอริชคาทอลิก 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การที่ชาวไอริชคาทอลิกซึ่งเป็นคนส่วนน้อยถูกเลือกปฏิบัติทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ประกอบกับความสานึกความเป็นชาตินิยมไอริช 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง 1) เกิดการเจรจาระหว่างผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายคือกลุ่มอังกฤษโปรเตสแตนท์ กลุ่มไอริชคาทอลิก รัฐบาล อังกฤษ และรัฐบาลไอร์แลนด์ โดยมี สหรัฐอเมริกาเป็นผู้สนับสนุน นาไปสู่การลงนามข้อตกลงสันติภาพ 2) ออกพระราชบัญญัติไอร์แลนด์เหนือ เพื่อนาข้อตกลงไปสู่การปฏิบัติ 4.2 การค้นหาความจริง รัฐบาลตั้งคณะกรรมการสอบสวนกรณีอาทิตย์เลือด (Bloody Sunday) โดย เปิดเผยว่าทหารอังกฤษเป็นผู้กระทาผิด รัฐบาลได้ออกมาขอโทษชาวไอริช คาทอลิกอย่างเป็นทางการ ซึ่งสังคมโดยรวมให้อภัยและไม่มีการนาตัว ผู้เกี่ยวข้องมาลงโทษ 4.3 การให้อภัย ปล่อยตัวนักโทษการเมืองที่ถูกตัดสินจาคุกจากการกระทาที่เป็นการก่อการร้าย โดยมีคณะกรรมการอิสระเป็นผู้พิจารณาคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการปล่อยตัว
  • 7. 4.4 การชดใช้ความผิด ตั้งทีมสืบสวนสอบสวนเหตุการณ์ความรุนแรงในอดีต เพื่อหาข้อเท็จจริง 4.5 การชดเชยและเยียวยา มีการชดเชยเยียวยาในรูปของตัวเงินและโครงการพัฒนาอาชีพและสร้าง รายได้แก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ เจ้าหน้าที่รัฐ และ อดีตสมาชิกกลุ่มกองกาลังของทั้งสองฝ่ายตามลาดับ 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย 1) มีคณะผู้บริหารท้องถิ่นตามหลักการแบ่งอานาจ ประกอบด้วยพรรค การเมืองหลัก 2 ขั้ว 2) มีการปฏิรูปองค์กรตารวจทั้งระบบให้มีความเป็นกลางมากขึ้น 3) มีการแก้ไขนโยบายทางการศึกษา การจ้างงาน และการจัดสรรที่อยู่ อาศัยที่เลือกปฏิบัติให้เกิดความเป็นธรรม พร้อมตั้งคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชน และคณะกรรมการเพื่อความเสมอภาค 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม 1) ยอมรับร่วมกันว่าความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งทางออกต่อปัญหา และตกลงใช้กระบวนการประชาธิปไตยเป็นเครื่องมือในการตัดสิน ข้อขัดแย้ง 2) เกิดความตระหนักว่าแม้จะคิดไม่เหมือนกันและยังคงมีเป้ าหมายที่ ขัดแย้งกันเช่นเดิมแต่ก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ภายใต้กติกาที่ตกลง ร่วมกัน สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
  • 8. 6. ข้อสังเกตในส่วนของ ปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง 2) มีกระบวนการหาทางออกที่ทุกฝ่ายรู้สึกว่าเป็นส่วน หนึ่ง 3) เหตุแห่งความไม่เป็นธรรมได้รับการแก้ไขในเชิง โครงสร้าง 4) มีการสร้างบรรยากาศที่ทาให้ทุกฝ่ายรู้สึกว่ามี ทางเลือกอื่นที่เป็นไปได้ ในการบรรลุเป้าหมายนอกจากการใช้ความรุนแรง สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
  • 10. ทาไมไอร์แลนด์เหนือจึงแยกออกจากไอร์แลนด์ • ปี 1921 หลังจากมีการ ต่อต้าน อังกฤษพยายามที่ จะทาให้ทุกคนพอใจ โดย สร้างให้เกิด Irish Free State and Northern Ireland ยังเป็นส่วนหนึ่ง ของอังกฤษ
  • 11. Who is fighting? • Protestants • Protestants are the majority in Northern Ireland. • Catholics • Catholics are a strong minority in Northern Ireland (and majority in Ireland)
  • 12. การต่อสู้ของประชาชน • ใน 1500s, ไอร์แลนด์ถูกพิชิต โดยกษัตริย์เฮนรี่ viii และ อังกฤษ • เขาแยกประเทศอังกฤษ ออกไปจากโบสถ์คาทอลิก
  • 14. ทาไมไอร์แลนด์เหนือไม่ยอมอยู่กับไอร์แลนด์ • ช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ชาว ไอริชคาทอลิกตัดสินใจที่ ต้องการที่จะแยกตัวออกมา จากประเทศอังกฤษ • ชนกลุ่มน้อยโปรเตสแตนต์ กลัวที่อาศัยอยู่ในประเทศ คาทอลิก
  • 15. Who is the IRA, and how do they fit in? • กลุ่มชาตินิยมที่ทุ่มเทให้กับ ความคิดของสหรัฐ ไอร์แลนด์ • ต้องการให้อังกฤษออกจาก ไอร์แลนด์เหนือ
  • 17. ความขัดแย้งในปัจจุบัน • ทุกปี "Orangemen" เดินขบวน ในยุโรปเหนือฉลองชัยชนะเหนือ อังกฤษคาทอลิก • พวกเขาทาให้เกิดความขัดแย้ง โดยเดินผ่านย่านคาทอลิก
  • 18. เหตุความรุนแรง • ไอร์แลนด์เหนืออยู่ทางตอนเหนือของเกาะไอร์แลนด์และอยู่ทาง ฝั่งตะวันตกของอังกฤษ • ศต.16 ประชากรดั้งเดิมเป็นชาวไอริชนับถือคริสต์นิกายคาทอลิก มีชาวอังกฤษและสก็อตแลนด์ที่นับถือนิกายโปรเตสแตนท์ จานวนมากเริ่มเข้าไปตั้งถิ่นฐานตามนโยบาย “Plantation of Ulster” • ชุมชนเดิมในพื้นที่รู้สึกไม่พอใจ เกิดการต่อต้านที่จะขอปกครอง ตนเองและทวีความรุนแรงมากขึ้น จนปี 1921 มีการลงนามใน สนธิสัญญา Government of Ireland Act ที่ยินยอมให้ 26 แคว้น บนเกาะไอร์แลนด์แยกตัวเป็นรัฐอิสระ
  • 19. เหตุความรุนแรง • อีก 6 แคว้นทางตอนเหนือของเกาะจะยังคงเป็นส่วนหนึ่งของ สหราชอาณาจักรต่อไป ให้มีสภาเป็นของตนเอง ทาให้ไอร์แลนด์ เหนือซึ่งมีประชากรที่เป็ นโปรเตสแตนท์ประมาณร้อยละ 60 และอีกร้อยละ 40 เป็นคาทอลิก กลายเป็นพื้นที่แห่งความขัดแย้ง รุนแรง • มีกลุ่ม Unionist ส่วนมากเป็นโปรเตสแตนท์ที่ต้องการอยู่กับ อังกฤษต่อไป กับกลุ่ม Nationalist ซึ่งส่วนใหญ่เป็นคาทอลิกที่ ต้องการแยกตัวเป็ นอิสระออกจากอังกฤษเพื่อผนวกเข้ากับ สาธารณรัฐไอร์แลนด์
  • 20. การแบ่งสรรอานาจ (Power-Sharing) ระหว่างสองฝ่ าย • กลุ่ม Unionist เป็นคนส่วนใหญ่ในไอร์แลนด์เหนือกุม อานาจทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมมา เกือบ 50 ปี • ปี 1968 เกิดการประท้วงเดินขบวนเคลื่อนไหวเรียกร้อง ความเท่าเทียมทางสังคม ให้ยุติการกดขี่กีดกันชาว คาทอลิก
  • 21. การแบ่งสรรอานาจ (Power-Sharing) ระหว่างสองฝ่ าย • การประท้วงได้ขยายตัวเป็ นความรุนแรงมีการปะทะ ระหว่างกองกาลังประชาชนสองฝ่ าย ในชื่อของ “The Troubles” เกิดการสูญเสียชีวิตกว่า 3,600 คนและบาดเจ็บ กายและจิตใจอีกหลายหมื่นคนในระยะเวลา 30 ปี • ปี 1998 ทั้งสองฝ่ ายสามารถบรรลุข้อตกลงสันติภาพทาง การเมืองด้วยสันติวิธี โดยให้อังกฤษถ่ายโอนอานาจในการ ปกครองให้แก่คณะผู้บริหารและสภาของไอร์แลนด์เหนือ เป็น
  • 22. เงื่อนไขสู่กระบวนการสันติภาพ: ปรากฏการณ์ของการ ดาเนินงานจากหลายฝ่ าย (multiple tracks diplomacy) • การปรับเปลี่ยนมุมมองของประชาชนจากเหตุการณ์สาคัญ เช่น ที่เมืองวาริงตัน การจัดตั้งศูนย์สันติภาพโดยประชาชน เปลี่ยน การแก้แค้นเป็นสันติภาพ ความรู้สึกละอายต่อการกระทา ของตนเอง • การทางานของฝ่ ายที่สามที่แทรกตัวอยู่ในฝ่ ายที่ขัดแย้ง ผ่านการ สร้างความไว้วางใจ ด้วยการจัดเวทีแลกเปลี่ยนที่หลากหลาย บนพื้นฐานของการเป็นมนุษย์ร่วมโลก (humanizing strategy)
  • 23. เงื่อนไขสู่กระบวนการสันติภาพ: ปรากฏการณ์ของการ ดาเนินงานจากหลายฝ่ าย (multiple tracks diplomacy) • การขยายวงไปสู่ฝ่ ายสนับสนุนการต่อสู้ กลุ่มไอริชนอก ประเทศ • ภาวะผู้นาในหลายส่วน รัฐบาลไอร์แลนด์ อังกฤษ สหรัฐฯ • การปรับเปลี่ยนภายในขบวนการต่อสู้ • โอกาสที่คู่ต่อสู้สื่อสารกันโดยตรง กรณีการทางานของ ผู้ต้องขัง
  • 24. เงื่อนไขบั่นทอนโอกาส และ ความก้าวหน้า ของกระบวนการสันติภาพ • การตกเป็นเหยื่อของความรู้สึกสิ้นหวัง ทางเศรษฐกิจ และ การเมือง • การขาดพื้นที่แสดงออกซึ่งความทุกข์ยาก (ไม่มีโอกาสประท้วง) • การปล่อยให้โอกาสของความร่วมมือผ่านไป (นักการเมืองเสียง ข้างมากไม่ตอบสนอง เมื่อมีข้อเสนอเปิดกว้างทางการเมืองให้ ฝ่ ายต่อสู้) • ความไม่ไว้วางใจระดับสูง
  • 25. เส้นทางสันติภาพ บนความอดทน • ๑๙๙๓ ระเบิดที่เมืองวาริงตัน กระทบสามัญสานึกของสามัญชน • ๑๙๙๔ ปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงแนวทางการต่อสู้ มีการ เจรจาแลกเปลี่ยนประปราย และ ขยายวงเพิ่มขึ้น ความร่วมมือ ระหว่างสองรัฐบาล • ๙ เม.ย ๑๙๙๘ ข้อตกลง Good Friday • ๑๙๙๘ – ๒๐๐๗ ปัญหาการวางอาวุธ รัฐสภาท้องถิ่นล่ม • ๒๐๐๘ รัฐบาล และ รัฐสภาท้องถิ่นกลับมาทางานใหม่ • ๒๐๐๙ รายงานของ consultative group on the Past วิเคราะห์ และ แสวงหาความจริง ชดเชยเพื่อความยุติธรรม k
  • 26. กระบวนการเจรจา • หลักการสาคัญ ความเสมอภาค และ การมีส่วนร่วม • การจัดตั้งองค์กรที่เป็นทางการเพื่อการเจรจา ทางาน สองฝ่ าย มีการจัดสรรทรัพยากร เพื่อการทางานเต็มเวลา ๑๘ เดือนเต็ม • ผู้นาที่มีประสิทธิภาพ และ ได้รับความเชื่อถือ • การมีส่วนร่วมของประชาชนคู่ขนานผ่านการเลือกตั้ง เข้ามาเป็นสภาประชาชน ทางานความสัมพันธ์แนวราบ ประคับประคององค์กรจัดตั้งที่เป็นทางการ
  • 27. กระบวนการเจรจา • มีปัญหาความไม่ไว้วางใจสูง และ ปัญหาเรื่องศักดิ์ศรี ทาให้การวางอาวุธเป็นไปด้วยความยากลาบากแต่ก็ สามารถผ่านพ้นไปได้ • ใช้กลไกประชาธิปไตยในการแสดงความคิดเห็น ลงประชามติ • ไม่ปิดกั้นความใฝ่ ฝันทางอุดมการณ์แต่ แสดงผ่าน กระบวนการ ปชต
  • 28. ข้อตกลง • มีสามระดับ ชุมชนด้วยกันเอง เหนือ-ใต้ ตะวันออก-ตก • การวางอาวุธ • การแบ่งอาจาจผ่านระบบการเลือกตั้งแบบตัวแทนกลุ่ม • การปรับหน่วยงานตารวจ • การคุ้มครองสิทธิมนุษยชน • การมีตัวแทนกลุ่มในรัฐสภาอังกฤษ • การกระจายอานาจ • การยอมรับอัตตลักษณ์ทางวัฒนธรรม
  • 29. บทเรียนสาหรับประเทศไทย • สิ่งที่ ได้รับการแก้ไขในไอร์แลนด์เหนือก็คือ จัดให้มีกระบวนการทาง ประชาธิปไตยที่มีตัวแทนของฝ่ ายขัดแย้ง ในลักษณะของการแบ่งอานาจ • ปรับให้มีความยุติธรรมทางเศรษฐกิจ และ โครงสร้างภาครัฐมากขึ้น • สังคมอุดมคติไม่ใช่ความกลมเกลียว แต่ ความอดกลั้น • Multiple tracks diplomacy บทบาทของฝ่ ายที่สาม ที่อยู่ในส่วนต่าง ๆ ของสังคม • การทางานร่วมกับขบวนการต่อสู้ การจัดตั้งองค์กรร่วมหลายฝ่ าย และ ขบวนการภาคประชาสังคม