SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
"สารสนเทศ" สินคายุคมิลเลเนียม
สุรพล ศรีบุญทรง
บทความกอนยุคป ค.ศ. 2000
โลกสมัยใหม คือโลกแหงความรูและขาวสารขอมูล ดังนั้นจึงมีแตประเทศที่สามารถปรับระบบเศรษฐกิจ
ของตนเขาสูภาวะเศรษฐกิจเชิงสารสนเทศ (Information economics) ไดกอนคนอื่น อยางกลุมประเทศ G7
(สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และยุโรป) เทานั้น ที่จะดํารงสถานะความมั่งคงทางเศรษฐกิจของตนเองไวได แตลําพังแค
ความสามารถในการปรับตัวปรับทิศทางของประเทศเขาสูภาวะเศรษฐกิจสารสนเทศไดเร็วเพียงอยางเดียวนั้นไมพอ
ประเทศที่จะกาวหนาภายใตระบบเศรษฐกิจยุคใหมไดจะตองมีพื้นฐานความรูที่มั่นคงแนนหนาประกอบดวย
ยกตัวอยางเชนประเทศไทยเรานั้น แมจะไดชื่อวาเปนประเทศที่ปรับตัวเกงขนาดสามารถเอาตัวรอดมา
ไดโดยตลอดตั้งแตยุคประเทศราช ผานยุคลาอาณานิคม จนแมกระทั่งยุคที่ประเทศเพื่อนบานถูกเปลี่ยนเปนคอมมิวนิสต
และสังคมนิยมไปหมดตามทฤษฏีโดมิโน ไทยเราก็ยังผานพนไปภัยคุกคามเหลานั้น
มาได แตสุดทายประเทศไทยตองมาเสียทาวอดวายเอาในยุคนักเศรษฐกิจการเมือง
ที่อุดมไปทั้งความโลภและความดอยปญญามาบริหารบานเมือง มีการพยายาม
ปรับประเทศใหทันสมัยดวยการรับเอาเทคโนโลยีสมัยใหมอยาง บีไอบีเอฟ เขามา
ใชโดยไมใสใจศึกษาเรียนรูทําความเขาใจกับมันอยางลึกซึ้ง (หลวงพอประยุตตทาน
วา "ทันสมัยแตไมพัฒนา) สุดทายจึงทําใหประเทศชาติตองตกอยูในสภาวะหนี้สินลนพนตัว
ทางออกที่ดีที่สุดคือ การดําเนินตามพระราชดําริแหงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ลวนถูกตองดีงาม
ทั้งนั้น ไมวาจะเปนเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง หรือการไมปลอยใหคนชั่วไดมีโอกาสปกครองประเทศ ที่สําคัญ พวกเราชาว
ไทยควรจะศึกษาและดําเนินตามรอยพระราชจริยาวัตรในแงความอุตสาหะ และใฝรูใฝศึกษา เพื่อแสดงความสํานึกในพระ
มหากรุณาธิคุณ และดํารงตนในฐานะของพลเมืองที่มีคุณภาพ ไมเปนพวกทันสมัยแตไมพัฒนาเชนที่แลวๆ มา เพื่อวา
หลังจากผานพนวิกฤติเศรษฐกิจครั้งนี้แลว ประเทศไทยจะไดพัฒนาไปอยางกาวหนาและมั่นคงเสียที โดยความรูระดับ
แรกๆ ที่คนไทยควรจะทําความรูจักและเขาใจใหดีก็คงหนีไมพนเรื่องราวเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและสารสนเทศ ซึ่งมี
บทบาทสําคัญอยางมากในการกําหนดทิศทางเศรษฐกิจของโลกยุคมิล
เลนเนี่ยม โลกที่ "ความรู" และ "ขอมูล" มีราคาแพงกวาทอง
วิชาเหมือนสินคา
ความจริงบรรพบุรุษไทยเรานั้นไดตระหนักถึง
ความสําคัญของ "ความรู" หรือ "สารสนเทศ" กันมานานนมแลว ดังจะ
เห็นไดจากบทอาขยานที่ทองกันมาตั้งแตสมัยผูเขียนยังเด็กวา "วิชา
เหมือนสินคาอันมีคาอยูเมืองไกล ตองยากลําบากไปจึงจะไดสินคามา ...." อยางไรก็ตาม มาในระยะหลังๆ นี้สิ่งที่ปลูกฝง
กันมาแตโบร่ําโบราณนั้นเริ่มจะเลือนๆ เปลี่ยนความหมายไป กลายเปนวา "ปริญญาเหมือนสินคา แมนมีคาอยูเมืองไกล ก็
ตองดั้นดนไปซื้อมา ..." สวนจะไดความรูติดปริญญามาดวยมากนอยแคไหนนั้น ดูเหมือนกุลบุตรกุลธิดาไทยรุนใหมจะไม
คอยใสใจกันสักเทาใดนัก ปจจุบัน เราจึงมีเด็กฝกงานหอยปริญญาโกหรูกันอยูเต็มบานเต็มเมือง
พูดเรื่องการศึกษาของไทยแลวเศรา ขอยอนกลับมาพูดเรื่อง "สารสนเทศในแงของสินคา (Information
goods) " 1
กันดีกวา คิดวาคงไมมีใครเถียงวาขอมูลขาวสารที่ตรงความตองการ และทันเวลานั้นมีคามากกวาทองคําเสียอีก
ยกตัวอยางเชน ขาวสารเรื่องอุทกภัยที่จะเกิดขึ้นบริเวณที่พักอาศัยซึ่งจะชวยใหเราสามารถปกปองชีวิตและทรัพยสินของ
ตนเองไดทันเวลานั้นยอมมีคากวาทองแนนอน สวนความรูและขอมูลที่ร่ําเรียนกันในมหาวิทยาลัยนั้นก็จะชวยเตรียมตัว
บัณฑิตใหพรอมสําหรับการประกอบวิชาชีพของตนไดอยางถูกตองดีงามมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ สารสนเทศเพื่อการ
บันเทิงอยางภาพยนต หนังสือ หรือดนตรีนั้นก็เปนสิ่งที่แลกเปลี่ยนซื้อขายกันดวยเงินทองอยางชัดเจนมาแตไหนแตไร
อยางไรก็ตาม การบริหารสารสนเทศอันเปนสื่งมีคานั้นดูเหมือนจะยุงยากและซับซอนขึ้นไปเรื่อยๆ ตาม
การพัฒนาดานเทคโนโลยีของโลก การเติบโตของเครือขายการสื่อสารโดยเฉพาะเครือขายอินเทอรเน็ตทําใหผูใช
สารสนเทศสามารถสืบหาขอมูลที่ตนตองการผานอินเทอรเน็ตมาไดภายในพริบตา เรียกไดวาเปนสินคาที่แทบจะไมมีคา
ขนสง แคลงทุนสรางเครือขายการสื่อสารที่เปรียบเปนทั้งตลาด (marketplace) และระบบขนสงสินคา (goods
distribution) ครั้งเดียวก็สามารถใชงานไดตลอด สงผลใหบรรดาผูประกอบการดานโทรทัศพมือถือ หรือผูเผยแพรขอมูล
ขาวสารผานโทรทัศนวิทยุร่ํารวยจนไดรับการจัดอันดับเปนมหาเศรษฐีระดับตนๆ ของโลก (โดยเฉพาะพวกที่สามารถ
ทําสัปทานผูกขาดสิทธิ) ในขณะที่บรรดานักลงทุนรายยอยตางก็หันมาใหความสนใจในธุรกิจอี-คอมเมิรซกันขนานใหญ
และเมื่อมองตัวสารสนเทศเปนสินคา
มันก็เปนสินคาที่แตกตางไปจากสินคาประเภทอื่นๆ ที่
มนุษยคุนเคยกันมาทั้งหมด เพราะมันเปนสินคาที่
บริโภค (consume) ไดไมมีวันหมด ไมเหมือนกับสินคา
ประเภทขาวปลา อาหาร น้ํามัน หรือกระทั่งสินคาในรูป
บริการ สารสนเทศเปนสินคาที่สามารถผลิตซ้ําไดอยาง
ไมจํากัด (reproduce) โดยแทบไมมีคาใชจายใดๆ สงผลใหผลผลิตที่จําหนายเกินระดับจุดคุมทุนไปเปนสินคาที่มีแตกําไร
ลวนๆ อยางไรก็ดี การที่มันถูกผลิตซ้ําไดในราคาถูกและไมจํากัดก็เปนผลเสียกับตัวเจาของสารสนเทศเหมือนกัน เพราะ
ไมมีขอจํากัดวาผูซื้อสินคาจะนําตัวสินคาไปผลิตซ้ําเองไมได เผลอๆ ผูซื้อสารสนเทศอาจจะนําสิ่งที่ตนเองผลิตซ้ํามาขาย
แขงกับเจาของสิทธิเดิมไดอีกดวย (จะขายตัดราคาก็ยังได เพราะแทบไมตองลงทุนอะไรเลย เนื่องจากตนทุนของ
สารสนเทศอยูที่ขั้นตอนการออกแบบและประดิษฐคิดคนจนสมองแทบแตก ไมไดอยูที่ขั้งตอนการผลิตซ้ํา) จนสงผลให
จําเปนตองมีการจดลิขสิทธิ สิทธิบัตรกันใหวุนวาย
อยางไรก็ตาม การจดสิทธิบัตรก็ใชวาจะเปนหลักประกันความปลอดภัยของสินคาสารสนเทศได เพราะ
บางครั้งกฏหมายลิขสิทธิ์/สิทธิบัตรก็ไมสามารถปกปองสิทธิของผูผลิตสารสนเทศไดอยางสมบูรณ ความแตกตางระหวาง
กฏหมายลิขสิทธิในประเทศตางๆ ยังคงเปดชองใหผูจองละเมิดลิขสิทธิสามารถดําเนินการไดอยางสะดวกในบางพื้นที่ของ
โลก อีกทั้งการลอกเลียนแบบสินคาโดยดัดแปลงรูปแบบบางสวนของผลงานก็ยังอยูนอกขอบเขตที่กฏหมายลิขสิทธิจะเอา
ผิดได ตัวอยางคลาสสิคมากๆ ของการลอกเลียนแบบสินคา คือ โปรแกรมไมโครซอฟทวินโดวสที่ใชกันเกรอทั่วโลกเดี๋ยวนี้
ความจริงแลวก็เปนรุปแบบหนึ่งของการลอกเลียนโปรแกรมระบบปฏิบัติการแมคอินทอช แตความที่ไมโครซอฟทมีฐาน
ตลาดที่กวางกวาและเปนที่รูจักมากกวา จึงทําใหคนสวนใหญไมทันไดคิดถึง
แงมุมนี้ แถมบางคนยังหลงเขาใจผิดๆ ไปเลยวาไมโครซอฟทวินโดวสนั้นคือ
ตนแบบของวิธีการติดตอกับผูใชแบบ GUI (Graphic User Interface)
นอกจากตัวอยางเรื่องโปรแกรมซอฟทแวรแลว การลอก
เลียนลิขสิทธิ์ของสินคาสารสนเทศดานบันเทิงก็เปนสิ่งที่ปรากฏใหเห็นกันอยู
เปนประจํา ไมวาจะเปนการลอกเลียนหนังฝรั่งเศสของผูสรางฮอลลีวูด หรือ
การที่ผูสรางภาพยนตฮองกงลอกเลียนโครงเรื่องจากภาพยนตดังๆ ของฮอลลีวูดไปอีกตอหนึ่ง เชนเรื่อง "Nikita" และ
"Three men and a cradle" หรือการลอกเลียนทํานองเพลงฮิตๆ ดวยการนํามาเปลี่ยนเนื้อรองเสียใหม อยางบานเราก็
คือ พวกเพลงลูกทุงรอยเนื้อทํานองเดียว หรือเพลงตระกูลเมกกะฮิต ที่โหมโฆษณากันอยางบาคลั่งแบบตีหัวเขาบานอยูใน
ระยะหนึ่ง
ดังนั้น บรรดาผูผลิตสินคาสารสนเทศที่มีตนทุนแพงๆ และมีฐานตลาดกวางจึงตองปกปดสวนที่เปน
จุดสําคัญที่ถือเปนไมตายในสินคาของตนไวอยางมิดชิดไมใหมีขอมูลหลุดรอดไปถึงบริษัทคูแขง แตนั่นก็นับเปนเรื่องยาก
มาก เพราะกอนสินคาแตละชิ้นจะวางตลาดผูผลิตสินคาสารสนเทศจะตองทําการประชาสัมพันธใหกลุมลูกคาเปาหมาย
ของตนไดทราบคราวๆ วาจะมีสินคาใหมนั้นจะมีอะไรเปนจุดเดนบาง พูดงายๆ คือจะตองประชาสัมพันธใหกับ
สาธารณชนไดรับรูวาสินคาใหมของตนนั้นจะมีคุณลักษณะและความสามารถพิเศษอะไรบาง ในขณะเดียวกันก็ตองไมหลุด
ปากออกไปเลยวาความสามารถที่วานั้นเปนผลมาจากกลไกอยางไร เพื่อมิใหคูแขงนําเอาความรูนั้นไปผลิตสินคามาแขงกับ
ตน
การมีสินคาใหเลือกมากอาจจะไมใชของดี !!
เมื่อสินคาสารสนเทศถูกเผยแพรออกสูตลาดแลว มันก็จัดเปนสินคาที่มีอายุสั้นที่สุด (short life) ใน
บรรดาสินคาทั้งปวง เพราะขอมูลบางอยางนั้นเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (เชนขาวโทรทัศน ขาวหนังสือพิมพ และราคา
หลักทรัพย) ในขณะที่ สารสนเทศบางอยางก็อาจจะถูกคูแขงพัฒนาสินคาเลียนแบบขึ้นมาไดในระยะเวลาสั้นๆ จนทําให
ผูคาสารสนเทศเปนพวกที่หยุดนิ่งไมได ตองพัฒนาทั้งสินคาและตัวเองอยูตลอดเวลา เรียกวาถาสินคานั้นเปนโปรแกรม
คอมพิวเตอร ผูผลิตก็จะตองวางแผนโปรแกรมเวอรชั่นตอไปทันทีที่สินคาเริ่มวางตลาด นอกเหนือไปจากการวางแผนยึด
ครองใจ /ดึงดูดใจผูบริโภคกลุมเปาหมายของตน
ที่ตองเนนเริ่องการยึดครองใจผูบริโภคก็ดวยเหตุผลสําคัญวา สินคาสารสนเทศนั้นมีใหเลือกใชไดอยาง
มากมายมหาศาลเพราะถูกผลิตขึ้นมาในอัตราเร็วแบบยกกําลัง (เอ็กซโปเนนเชี่ยล) ใครที่พอมีเงินซื้อหาคอมพิวเตอรหรือ
เทคโนโลยีผลิตสื่อมาใชก็อาจจะปอนสารสนเทศออกมาในตลาดไดตลอดเวลา ในขณะที่สมองของมนุษยที่เปนผูบริโภคนั้น
ถูกจํากัดความเร็วในการรับสื่อไวในระดับคอนขางจะคงที่นับตั้งแตยุคพุทธกาล เปรียบงายๆ เหมือนการชมภาพยนต
โทรทัศนนั้น ตอใหมีชองสถานีใหเลือกถึง 200 ชอง ผูชมโทรทัศนก็คงจะเลือกชมไดเพียงไมเกิน 20 ชองในแตละวัน
อยางไรก็ดี ปญหาเรื่องการยึดครองใจผูบริโภคนั้นเปนการพูดในมุมมองของผูผลิตและจําหนายสารสนเทศ หากเปลี่ยน
มุมมองมาทางฝายผูบริโภคบาง ก็จะพบวาเปนอีกปญหาหนึ่ง กลายเปนวาจะคนหาขอมูลขาวสารที่ตนเองตองการได
อยางไรจากกองขอมูลปริมาณมหาศาลที่ถาโถมเขามาในแตละวัน
โดยปรกติ ตามหลักเศรษฐศาสตรที่วาดวย
อุปสงค/อุปทาน (demand/supply) นั้น นักเศรษฐศาสตร
มักจะเชื่อกันวาการมีอุปทานหรือจํานวนสินคาใหเลือก
มากๆ นั้นเปนผลดีแกผูบริโภค เพราะทําใหมีโอกาสเลือก
ของดี และสินคามีราคาถูก แตหลักอุปสงค/อุปทานที่วานี้
คงนํามาใชกับสินคาสารสนเทศที่มีกระบวนการผลิต
แตกตางออกไปไมได เพราะสินคาสารสนเทศที่มีมากนั้นมักจะหมายถึงจํานวนขอมูลขยะที่เพิ่มเติมขึ้นตามไปดวย
เผลอๆ จะเปนการเพิ่มขึ้นในสัดสวนที่มากกวาขอมูลดีๆ เสียดวยซ้ํา เพราะแคมีเงินสักไมกี่พันบวกกับเครื่องคอมพิวเตอร
สักชุด ใครก็สามารถแปลงตัวเองเปนผูผลิตสินคาสารสนเทศปอนใหกับเครือขายอินเทอรเน็ตไดแลว
ฉนั้น การมีจํานวนสินคาสารสนเทศใหเลือกมากจึงไมใชโอกาสดีของผูบริโภค แตกลับจะเปนภาระที่
เพิ่มขึ้นในการคนหาขอมูลที่ตองการจากกองขอมูลปริมาณมหาศาล เพราะมีทั้งขอมูลขยะ ขอมูลโฆษณาแอบแฝง และ
ขอมูลที่ไมตรงความตองการ โดยเหตุผลสําคัญที่สงผลใหมีขยะสารสนเทศอยูลนโลกในขณะนี้ นอกจากจะเปนเพราะมัน
ถูกผลิตไดงายแลว ยังเปนเพราะคุณสมบัติที่ไมมีขอจํากัดเรื่องพื้นที่จัดเก็บ (storage space) อีกดวย อยางพวกขยะ
กายภาพ หรือสินคาที่จําหนายไมออกตามปรกตินั้น หากมีปญหาเรื่องสถานที่จัดเก็บก็จะถูกหยุดหรือลดการผลิตทันที แต
สารสนเทศเปนซอฟทแวรที่ไมเปลืองเนื้อที่จัดเก็บจึงไมคอยมีใครมาใสใจเก็บกําจัดสิ่งไรประโยชนเหลานี้ออกไปจากตลาด
อยางผูเขียนเองเมื่อลองหันกลับมาสํารวจฮารดดิสกของตนดู ก็ปรากฏวามีขอมูลหรือโปรแกรมที่ใช
ประโชนจริงๆแคไมกี่เปอรเซนต ที่เหลือสวนใหญนั้นแมจะเรียกวาขยะรกฮารดดิสกไมไดเต็มปาก แตโดยมากก็ควรถูก
จัดเก็บทําลาย หรืออัพเกรดไปเปนเวอรชั่นที่ทันสมัยกวาเดิมบาง ทีนี้ เมื่อลองคิดเทียบกลับไปที่เครือขายสาธารณะอยาง
อินเทอรเน็ตบาง ก็นาสนใจวาขนาดฮารดดิสกที่เปนสมบัติสวนตัว ผูใชคอมพิวเตอรสวนใหญยังไมคอยไดใสใจเก็บกวาด
ทําความสะอาดเลย ถาเปนสมบัติสาธารณะอยางอินเทอรเน็ตจะมีใครมาคอยดูแลเรื่องขอมูลไรคาไรประโยชน อีกอยาง
เรื่องการประเมินคุณคาของสารสนเทศนั้นก็เปนเรื่องตางจิตตางใจ ของที่บางคนเห็นวาเปนขยะรก บางคนอาจจะเห็นเปน
ของทรงคุณคาก็ได ไมงั้นเราคงไมไดเห็นเว็บภาพโปกันเต็มๆ ตาเปนแน ทางออกงายๆ สําหรับผูรับสารสนเทศที่ตอง
ตัดสินใจเลือกบริโภคจากจํานวนที่มีอยูมหาศาล จึงมักจะเปนการเลือกจากชื่อหรือยี่หอที่ติดตลาด อันเปนการกลั่นกรอง
ปริมาณขอมูลที่ไมไดคุณภาพหรือขอมูลที่ไมตรงความตองการไปในระดับหนึ่ง
ลักษณะพิเศษของสินคาสารสนเทศ
กลาวโดยสรุป สารสนเทศนับวาเปนสินคาที่มีคุณลักษณะพิเศษที่แตกตางไปจากสินคาประเภทอื่นๆ ดวย
เหตุผลดังตอไปนี้1,2,3,4
1. สารสนเทศเปนสินคาที่ผูบริโภคจะตองไดมีประสบการณการใชสอยสินคากอน จึงจะรูไดวาเปนสิ่งที่ตน
ตองการหรือไม ผิดกับสินคาประเภทกับอาหาร หรือเครื่องใชไมสอยที่แคมองดูจากรูปลักษณภายนอกก็
บอกไดแลววาจะตรงกับประโยชนใชสอยหรือเปลา เพราะสินคาสารสนเทศอยางดนตรี เกมส โปรแกรม
หรือนวนิยายนั้น ผูบริโภคจะตองไดฟง ไดใช หรือไดอานกอนถึงจะบอกได (มองแคประเด็นนี้ อาจมีผูตั้ง
ขอสงสัยไดวา ในบรรดาโปรแกรมซอฟทแวรเถื่อนที่ลักลอบเผยแพรกันอยูทั่วไปขณะนี้ อาจเปนเจตนา
สรางประสบการณใหกับกลุมลูกคา
เปาหมายของเจาของผลงานเองก็
ได)
2. สารสนเทศเปนสินคาที่มีการจําแนก
แยกยอย (differentiate) ออกไปได
มากกวาสินคาประเภทอื่น แค
บทความในนิตยสารฉบับเดียวกัน พูดเรื่องเดียวกันก็ยังแตกตางกันไปในแตละบท หรือบทเพลงที่ขับรอง
โดยนักรองแตละคน บรรเลงดนตรีโดยแตละวงดนตรี ตางก็มีความแตกตางกันออกไป จนบางครั้งแมวา
สินคาสารสนเทศสองชิ้นจะดูคลายคลึงกัน แตก็อาจจะนํามาใชทดแทนกันไมไดในสายตาของผูบริโภค
เชน จะเอางานเขียนของเสกสรรค ประเสริฐกุล มาใหแฟนนิยายของทมยันตีอานก็คงไมได ถึงแมจะเปน
การพูดถึงเรื่องราวแนวเดียวกัน
3. ตนทุนการผลิตของสินคาสารสนเทศนั้นอยูที่การออกแบบคิดคนและการลงทุนครั้งแรกเทานั้น หลังจาก
สินคาตนแบบถูกผลิตขึ้นมาหนึ่งชิ้นแลว มันอาจจะถูกผลิตซ้ํา (copy) ออกมาเปนสินคาปริมาณมากโดย
แทบจะไมมีคาใชจายเลย (โดยเฉพาะในกรณีที่เผยแพรสินคาผานไปทางเครือขายอินเทอรเน็ต) ฉนั้น
หากผลงานตนแบบถูกเผยแพรออกไปกอนกําหนดโดยขาดการควบคุม เจาของผลงานก็คงจะตอง
ประสบภาวะขาดทุน
4. สารสนเทศเปนสินคาที่สามารถผลิตซ้ําไปไดเรื่อยๆ โดยไมจํากัด มันจึงเปนสินคาที่ไมมีการขาดตลาด
สามารถถายทอดและสงตอไปไดเรื่อยๆ โดยที่ตัวผูใหก็ยังคงครอบครองตัวสินคาอยูเชนเดิมไมไดสูญ
หายไปไหน อยางเวลาที่เราใหเงินทองสิ่งของแกผูอื่น เรามักจะเรียกวาสินคาเกิดการเปลี่ยนมือ แต
ความรูและสารสนเทศนั้นไมมีการเปลี่ยนมือเลย มีแตการเผยแพร (อยางมากที่สุดก็เปนการขายสิทธิ)
ดังนั้น มันจึงเปนเรื่องยากที่จะนําเอากฏอุปสงค/อุปทานมาใชวางแผนการตลาดใหกับสินคาสารสนเทศ
5. สารสนเทศเปนสิ่งที่สามารถเคลื่อนยายผานเครือขายการสื่อสารและโทรคมนาคมไดอยางสะดวกรวดเร็ว
และสิ้นเปลืองคาใชจายนอยมาก จนอาจจะเรียกไดวาเปนสินคาประเภทเดียวที่แทบจะไมมีคาใชจาย
ดานการขนสงและการกระจายสินคา
6. เมื่อมีตนทุนการผลิตซ้ํา และตนทุนการเผยแพรต่ํา สินคาสารสนเทศจึงเปนสินคาที่อาจจะถูกเสนอตัด
ราคากันไดอยางสุดๆ ระหวางคูแขง ดังนั้น อาจจะตองมีการกําหนดมาตรการปกปองตลาดจากการ
แขงขันอยางเอาเปนเอาตายเชนนั้น ดวยการใชมาตรการผูกขาดสัมปทานบางอยาง และ วิธีการที่ถือวา
เปนมาตรฐานสากลก็คือการจดทะเบียนลิขสิทธิ/สิทธิบัตรเพื่อคุมครองใหเจาของผลงานสามารถเก็บ
เกี่ยวผลประโยชนจากผลผลิตของตนไดอยางเต็มเม็ดเต็มหนวย แทนที่จะใหปลอยใหมีการผลิตซ้ําหรือ
เผยแพรออกไปโดยที่ตัวเจาของผลงานไมไดอะไรเลย
กฏหมายลิขสิทธิวาดวยสินคาสารสนเทศ
เรื่องของกฏหมายลิขสิทธินี้ก็ยังตองอาศัยระยะเวลายาวนานกวาที่จะสามารถนําไปบังคับใชไดทั่วโลก ไม
ทันกับเครือขายการสื่อสารที่สามารถกระจายตัวสินคาสารสนเทศออกไปทั่วโลกในชั่วพริบตา จึงถือเปนปญหาที่บรรดา
ผูผลิตสินคาสารสนเทศจะตระหนักถึงคอนขางมาก เพราะในอดีตนั้น แมจะมีการละเมิดลิขสิทธิและผลิตซ้ําของสินคาใน
ตางประเทศกันอยางเอิกเกริก แตดวยขอจํากัดของเครือขายการสื่อสารโทรคมนาคมก็สงผลใหกวาจะมีสินคาเถื่อน
(pirate copies) ปรากฏใหเห็นในตางประเทศ มันก็มักจะลาชาออกไปจนพอมีเวลาใหเจาของความคิดพอเก็บเกี่ยวกําไร
ไดอยางเต็มกอบเต็มกําบาง
แตสําหรับการเผยแพรสินคาสารสนเทศผานเครือขายอินเทอรเน็ต หรีอชองทางสื่อสารทันสมัยใหมอื่นๆ
ผูละเมิดหรือลอกเลียนแบบสินคาสามารถจะผลิตซ้ํางานชิ้นเดียวกันแลวเผยแพรผานเว็บไซทของตนเองไดแทบจะพรอมๆ
ไปกับผูผลิตสินคาสารสนเทศตัวจริงไดทันที แถมอาจจะแอบอางสิทธิความเปนเจาของเสียดวยซ้ํา โดยเฉพาะในกรณีที่
เจาของเว็บไซทที่ละเมิดลิขสิทธิ์มีนิวาสถานอยูนอกอาณาเขตที่กฏหมายลิขสิทธิ์จะครอบคลุมไปถึง ซึ่งตรงนี้มีขอสังเกตุวา
ในขณะที่กฏหมายครอบคลุมไมทั่วอินเทอรเน็ต แตอาณาเขตการตลาดของสินคาเถื่อนกลับครอบคลุมไปทั่วทั้ง
อินเทอรเน็ต จึงนับเปนเรื่องประหลาดที่สินคาของจริงและของเถื่อนสามารถจําหนายในตลาดเดียวกัน และใชชองทาง
เผยแพรเดียวกันได ผิดกับสินคาเถื่อนทั่วไปที่ตองหลบๆ ซอนๆ จําหนาย เพราะมีความผิดทั้งผูซื้อและผูขายของเถื่อน
สวนการจะเอาผิดผูซื้อสารสนเทศเถื่อนบนอินเทอรเน็ตนั้นออกจะเปนเรื่องละเอียดออนมากในเชิง
กฏหมายอาญา ซึ่งตองพิจารณาควบคูกันไปทั้งการกระทํา และเจตนา ในแงการกระทําก็ออกจะเปนเรื่องยากที่จะ
ติดตามตรวจสอบวามีใครดาวนโหลดสารสนเทศเถื่อนมายังเครื่องคอมพิวเตอรของตนบาง (ถึงพอจะทําไดก็เสี่ยงกับการ
ละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน) ในขณะที่การพิจารณาระดับความผิดจากเจตนาก็ยิ่งยากขึ้นไปอีก เพราะสมาชิก
อินเทอรเน็ตที่ดาวนโหลดสารสนเทศเถื่อนมาบริโภคก็ยอมจะอางเหตุผลไดสารพัดในเรื่องเจตนา (ปญหาเรื่องของเถื่อน
บนอินเทอรเน็ตนี้อาจจะชัดเจนขึ้น หากมีการฟองรองของบริษัทเจาของเพลงฮิตที่ถูกนําไปเผยแพรผานอินเทอรเน็ตในรูป
ของไฟลล MP3 และกรณีการตัดสินคดีความผิดฐานครอบครองสื่อลามกเด็กในสหรัฐอเมริกา เปนบรรทัดฐาน)
กระนั้น สําหรับเรื่องการละเมิดลิขสิทธินี้
ผูเขียนอยากจะเตือนผูคนที่เกี่ยวของกับการบังคับใชกฏหมาย
ไวสักหนอยวา อยาหลงตามกนฝรั่งไปเสียทุกเรื่องทุกอยาง
เพราะถาจะวากันตามจริงแลว ตัวประเทศสหรัฐอเมริกาที่เปน
ตัวตั้งตัวตีเรื่องกฏหมายลิขสิทธิเอง ก็ยังเคยละเมิดสิทธิของ
คนอื่นมาแลวนับไมถวนชวงที่ตนเองยังไมมีความกาวหนาในเชิง
เทคโนโลยีมากเทาขณะนี้ อยางในชวงคริสตศตวรรษที่ 19 ในสมัยที่กฏหมายลิขสิทธิยังไมครอบคลุมถึงสิทธิใน
ตางประเทศ สํานักพิมพของอเมริกาเคยละเมิดสิทธิของสิ่งพิมพอังกฤษเปนวาเลน มีการตีพิมพหนังสือ A Cristmas
Carol ของชารล ดิกเกนส ออกมาขายในราคาแคหกสลึง ในขณะที่ฉบับจริงในอังกฤษมีราคาถึงหาสิบบาท1
(ถือวาแพง
มาก สําหรับเมื่อกวาหนึ่งรอยหาสิบปที่แลว)
พูดในอีกแงหนึ่ง ก็ตองบอกวาบรรดาประเทศที่กําลังเรียกรองเรื่องความชอบธรรมหรือการปกปองสิทธิ
อันพึงมีพึงไดของผูประดิษฐคิดคนผลงานนั้น สวนใหญตางลวนเคยละเมิดสิทธิของผูอื่นมาแลวทั้งสิ้น แตเมื่อเวลาที่
ประเทศของตนเองกาวหนาในเชิงเทคโนโลยีมากๆ เขา ก็มักจะหันกลับมากีดกันและโจมตีลักษณะการกระทําเดิมๆ ของ
ตนเอง เหมือนอยางอเมริกาที่พัฒนาอาวุธนิวเคลียรไปจนถึงระดับที่ตนเองมั่นใจแลวก็เริ่มหันมาตําหนิและดาทอประเทศ
ที่ยังคงพัฒนาอาวุธนิวเคลียรอยู และที่เห็นลาสุดนี้ก็คือ การเลนแงเรื่องกีดกันสินคาดัดแปลงพันธุ (GMOs) ที่ฝายยุโรปงัด
ขึ้นมาปกปองตลาดการเกษตรของตนจากสินคาของของอเมริกา ดวยเหตุผลงายๆ วายังไมมีผลการศึกษาที่ชัดเจนเรื่อง
ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพ ซึ่งฟงดูเปนเหตุเปนผลดี แตก็อดคิดไมไดวาเปนเพราะยุโรปยังตามอเมริกาไมทัน
เรื่องเทคโนโลยีเรื่องตัดตอพันธุกรรมในสินคาเกษตรหรืออยางไร ถึงตองหามาตรการบางอยางมาเบรกสินคาเกษตรจาก
อเมริกาไวสักระยะ
การปกปองผลประโยชนของผูผลิต
เมื่อสินคาสารสนเทศนั้นมีลักษณะงายตอการละเมิด และยากตอการเอาผิดผูละเมิด ปญหาจึงตกอยูที่วา
เจาของผลงานตนฉบับของสินคาสารสนเทศควรจะทําอยางไรถึงจะปกปองผลประโยชนที่ตนเองควรจะไดรับไวใหไดมาก
ที่สุด ทางออกที่ถูกเลือกในขณะนี้สวนใหญดูเหมือนวาจะเปนการพยายามหนวงเวลา (delay tactics) ชวงกอนที่สินคา
ถูกละเมิดจะมีโอกาสเผยแพรออกไปอยางกวางขวางใหนานที่สุดเทาที่จะนานได วิธีการงายที่สุดอยางแรกก็คือ การสราง
ภาพลักษณของผลิตภัณฑและบริษัทผูผลิตใหติดตรึงอยูในใจผูบริโภค (Brand reputation & Brand royalty) เพื่อใหทุก
ครั้งที่นึกถึงสินคาประเภทนี้ ผูบริโภคก็จะตองเลือกมาที่ชื่อยี่หอหรือที่เว็บไซทของตนเปนอันดับแรก
ยกตัวอยางเชน การเลือกใชโปรแกรมออฟฟซของไมโครซอฟทนั้น ผูใชโปรแกรมสวนใหญแทบจะไมไดมี
การศึกษาเปรียบเทียบกันอยางจริงๆ จังๆ เลยวาโปรแกรมแตละตัวในไมโครซอฟทออฟฟซนั้นโดดเดนเหนือกวาสินคา
คูแขงตรงไหน หรือมีผลิตภัณฑอื่นที่เหมาะกับงานของตนเองมากกวาหรือเปลา ทุกคนเลือกไมโครซอฟทออฟฟซเพียง
เพราะเปนชื่อผลิตภัณฑที่ติดตลาด และ รับประกันไดในแงคุณภาพ หรืออยางกรณีของการคนหาขอมูลบนอินเทอรเน็ตก็
เชนกัน หากผูใชคอมพิวเตอรรายไหนเคยใชบริการสืบคนขอมูลอะไรอยูเปนประจําก็มักจะติดตอไปที่เว็บไซทเดิมอยูเสมอ
ไมวาจะเปน อินโฟซีค ฮ็อทบ็อท ยาฮู หรือไลคอส ฯลฯ
วิธีปกปองผลประโยชนเจาของผลงานสารสนเทศผานอินเทอรเน็ตอีกอยาง คือการคิดคาสมาชิกจากผู
เขาใชบริการ ซึ่งมีอยูสองรูปแบบ แบบแรกเปนการเก็บคาสมาชิกแรกเขากอนเดียวแลวใชสิทธิไดตลอด (fixed entry-
fee) แบบที่สอง คือการคิดคาบริการตามจํานวนสินคาสารสนเทศที่ผูใชบริการติดตอเขาไปเรียกคน (pay-per-view
model) ซึ่งอางเหตุผลวาทําใหเจาของผลงานไดรับประโยชนอยางเต็มเม็ดเต็มหนวย และผูบริโภคเสียคาใชจายนอยลง
เพราะเปนการจายตามความเปนจริง แตการคิดคาบริการสารสนเทศตามจริงจะประหยัดคุมคาได เฉพาะกรณีที่
ผูบริโภครูดีวาเว็บไซทที่ตนเองติดตอเขาไปนั้นมีสิ่งที่ตนเอง
ตองการจริงๆ
ขอเสียของวิธีการคิดคาบริการสารสนเทศตาม
จํานวนการใชจริง อยูตรงที่อาจสงผลใหผูบริโภคสื่อบน
อินเทอรเน็ตเลือกติดตอเขาชมเฉพาะเว็บไซทที่ตนรูจักคุนเคย
ไมยอมติดตอไปยังเว็บไซทเกิดใหม ซึ่งเทากับเปดโอกาสใหมีการ
ผูกขาดตลาดแบบกลายๆ ขึ้นมา อีกทั้ง ยังอาจจะทําใหมีการ
ตัดราคาสินคาสารสนเทศกันอยางมโหฬารเพื่อดึงดูดลูกคาใหเขาไปเยี่ยมชมเว็บไซทของตน สุดทาย แนวความคิดใหเก็บ
คาบริการจากผูบริโภคสื่อบนอินเทอรเน็ตตามจริงจึงไมไดรับการตอบรับจากสมาชิกของอินเทอรเน็ตเทาใดนัก เพราะ
สะดวกสูวิธีการเสียคาสมัครแรกเขาครั้งเดียวไมได (อยางฺการคิดคาบริการชมโทรทัศนแบบ pay-per-view ซึ่งเปนสื่อ
สารสนเทศแบบงายๆ ไมซับซอน ก็ยังไมไดรับการตอบสนองเทาที่ควรเมื่อเทียบกับการสมัครสมาชิกเคเบิ้ลทีวีทั่วไป)
อันนี้สามารถอธิบายไดโดยหลักจิตวิทยาผูบริโภคงายๆ สามขอ ขอแรก ผูบริโภคสวนใหญมักจะรูสึกวา
การจายเงินกอนไมมากนักในอัตราตายตัวนั้นปลอดภัย (insurance) กวาการจายตามจํานวนการใชซึ่งอาจจะถูกชารจ
คาใชจายพรวดพราดขึ้นไปโดยไมรูตัว ขอสอง ผุบริโภคสวนใหญมักจะประเมินขีดความสามารถในการบริโภคของตนไวสูง
กวาความเปนจริง (overestimate) เหมือนพวกสมัครสมาชิกเคเบิ้ลทีวีไวเพราะคิดวาคุมกวาเชาวิดีโอมาชมมากนัก แต
ถึงเวลาจริงๆ กลับไมคอยจะมีเวลาหรืออารมณดู หรือพวกที่สมัครสมาชิกสถานที่พักตากอากาศทิ้งไวดวยเหตุผลวาแค
เที่ยวสี่/หาครั้งตอปก็คุมแลว แตถึงเวลาจริงๆ กลับไมมีเวลาไปใชบริการเลย และขอที่สาม คือ ผูบริโภคเบื่อที่จะตองมา
นั่งตัดสินใจเรื่องความคุมคาทุกครั้งที่จะตองมีการดาวนโหลดขอมูล
ในทางกลับกัน การกําหนดมูลคาสินคาสารสนเทศรวมๆ บนอินเทอรเน็ตไวเปนคาสมาชิกแรกเขาตายตัว
ไปเลยนั้นก็ดูจะเปนที่ปรารถนาของผูผลิต/จําหนายสินคาสารสนเทศดวยเชนกัน เพราะมันทําใหมีรายไดจากคาสมาชิก
แนนอนทั้งยังมักจะใหตัวเงินโดยรวมมากกวา จึงเหมาะกับการบริหารในเชิงธุรกิจ และการตลาด สะดวกกับการกําหนด
แผนโปรโมชั่นในลักษณะของสินคาของแถม หรือการจําหนายสินคารวมกันไปเปนชุดเพื่อเพิ่มมูลคา (value-added) ดัง
จะเห็นไดจากการจําหนายโปรแกรมสําเร็จรูปที่มักจะรวมกันมาเปนชุด (package) ซึ่งลอใจผูซื้อในแงวาสามารถจะซื้อ
โปรแกรมแตละตัวไดถูกลง (ทั้งที่อาจจะไมมีความจําเปนตองใชตัวโปรแกรมที่ถูกแถมมาเทาไร) ในขณะที่ผูจําหนาย
โปรแกรมก็มีกําไรมากขึ้น (อยาลืมวา สินคาสารสนเทศนั้นไมมีตนทุนในการผลิตซ้ํา ฉนั้นยิ่งขายโปรแกรมไปเปนชุดไดมาก
เทาไรเงินรายไดที่เพิ่มขึ้นมาจากการขายโปรแกรมเดี่ยวๆ ก็ยอมจะหมายถึงผลกําไรลวนๆ) 5
วิธีการรักษาผลประโยชนแบบที่สามของผูผลิต/จําหนายสินคาสารสนเทศ คือ การจําแนกแจกแจงสินคา
(differentiate) ของตนใหเหมาะกับกลุมลูกคาปาหมายที่แตกตางกันไป เชน อาจจะแจกแจงสินคาสารสนเทศออกไป
เปนหลายเวอรชั่น มีเวอรชั่นสําหรับมืออาชีพ สําหรับผูใชสารสนเทศทั่วไป และสําหรับมือใหม ทํานองเดียวกับหนังสือนว
นิยายที่มักจะพิมพออกมาสองรุน รุนแรกปกหนัง พิมพนอยและมีราคาแพงเหมาะสําหรับนักอานประเภทตัวจริงและนัก
สะสม โดยมีเหตุผลรองรับอีกอยางคือการไดอานกอนผูอานทั่วไป ซึ่ง
อานผลงานรุนเวอรชั่นสอง ที่ใชปกกระดาษออนราคาถูก และพิมพเปน
จํานวนมาก
แตสินคาสารสนเทศนั้นสามารถแจกแจงประเภท
ออกไปไดละเอียดกวาแฟนนิยาย แถมยังมีขอที่เหนือกวาตรงที่หนังสือ
นิยายนั้นลูกคาซื้อไปแลวมักจะไมซื้อซ้ํา ในขณะที่สินคาสารสนเทศนั้น
สามารถขายลูกคารายเดิมซ้ําไดอีกในรูปของเวอรชั่นอัพเกรด ซึ่งในการ
ทําสินคาเวอรชั่นอัพเกรดนั้น ผูผลิต/จําหนายสินคาสารสนเทศก็ยังมีทางเลือกสําหรับการอัพเกรดผลิตภัณฑไดสารพัด
ไมวาจะเปนเรื่องของสวนติดตอกับผูใช (user interface) รูปแบบการทํางานใหมๆ (new features) สวนอํานวยความ
สะดวก (Customizable utilities) การปรับปรุงรูปแบบการทํางานใหมั่นคงเชื่อถือไดมากขึ้น (security & integrity)
หรือการรับรองมาตรฐานสารสนเทศใหมๆ (support) ฯลฯ 6
ปญหาในการเลือกบริโภคสินคาสารสนเทศ
ปญหาสําคัญที่กําลังเผชิญหนามนุษยทั่วโลกขณะนี้คือ ขีดความสามารถที่จํากัดของมนุษยในการบริโภค
สินคาสารสนเทศ เพราะในขณะที่ปริมาณของสารสนเทศบนโลกทบทวีมากขึ้นไปทุกวันในอัตรายกกําลังหรือที่เรียกกันวา
เพิ่มขึ้นแบบเอ็กซโปเนเชี่ยลตามกฏของมาลธัส (Malthus's Law) สมรรถนะในการบริโภคสารสนเทศของมนุษยยังคงที่
ในระดับเดิม หรือถาจะเพิ่มขึ้นบางก็นอยมากแถมความเร็วในการบริโภคสารสนเทศที่เร็วขึ้นของมนุษย ยังเปนการเนน
ปริมาณมากกวาคุณภาพ ซึ่งดูจะเปนผลเสียมากกวาผลดี ดังที่เฮอรเบิรต ไซมอน เคยพูดไวอยางนาคิดวาขณะที่สินคา
ประเภทอื่นถูกบริโภค สินคาสารสนเทศกลับเปนตัวบริโภคเสียเอง มันบริโภคความใสใจ ความสนใจ (attention) ของ
ผูรับสื่อ ยิ่งมีปริมาณสารสนเทศมากเหลือเฟอเทาใด ก็จะสงผลใหเกิดความยากจนในเรื่องความใสใจมากขึ้นเทานั้น
(wealth information, poverty attention) 4
ซึ่งถาเราเปรียบสารสนเทศเปนเหมือนอาหาร มันก็เทากับวาปริมาณอาหารบนโลกนั้นถูกผลิตมากขึ้นทั้ง
ในแงปริมาณและความหลากหลายเปนรอยๆ เทาในแตละวัน ในขณะที่ขนาดกระเพาะของมนุษยยังคงที่เทาเดิม สิ่งที่
ตามมาก็คือมนุษยบางคนอาจจะบริโภคมากขึ้น ถี่ขึ้น แตในขณะที่ปากบริโภคจิตใจอาจจะเกิดภาวะเบื่ออาหารไมคิดจะ
อยากกินอะไรหรือสนใจในสิ่งที่ตนกินเลย (ความอยากอาหารของสมองก็คือ ความสนใจ/ใฝรู) หรืออาจจะตองพยายาม
แสวงหาอาหารที่ถูกปาก ถูกใจ และมีคุณภาพ ออกจากบรรดาอาหารขยะ (junk food) ที่มีอยูมากมาย ทําใหตองพึ่งพา
บริการของหนวยงานแนะนําอาหาร อยางเชลลชวนชิม แมชอยนางรํา หมึกแดงแผลงรส หรือหลักการบริโภคแบบชีวจิต
ฯลฯ
เมื่อความอยากบริโภค หรือความใสใจ (attention) คือสิ่งที่นับวันจะขาดแคลนมากขึ้นในโลกยุค
สารสนเทศ บรรดาผูผลิต/จําหนายสินคาสารสนเทศจึงจําตองหามาตรการตางๆ มาใชแยงชิงความสนใจจากผูบริโภคให
ไดมากที่สุด จนในที่สุด มันไมเพียงแตจะแยงความสนใจจากสารสนเทศดวยกันเองเทานั้น แตมันยังแยงชิงความสนใจใน
การดําเนินกิจกรรมอื่นๆ ของมนุษยไปดวย ดังจะเห็นไดจากการที่มนุษยสมัยใหมใชเวลากับการบริโภคสารสนเทศมากขึ้น
ในแตละวัน ทั้งการอานหนังสือพิมพ การฟงวิทยุ การดูโทรทัศน การเลนเกมสคอมพิวเตอร และการเลนอินเทอรเน็ต ฯลฯ
สงผลใหมนุษยบางคนถูกลอ ถูกดึงดูดความสนใจเสียจนแทบจะไมไดออกจากโตะคอมพิวเตอรไปไหนเลย จะกินอาหารก็ใช
วิธีสั่งอาหารขยะผานทางอินเทอรเน็ต ฯลฯ
ปญหาเรื่องสารสนเทศลนโลกไมไดกอใหเกิดผลกระทบกับบรรดามนุษยดิจิตัลที่ทุมเทความสนใจใหกับ
คอมพิวเตอรและสารสนเทศจนหมดความสนใจในกิจกรรมอื่นในชีวิตเทานั้น แตยังสรางผลกระทบโดยกวางออกไปในทุก
สวนของสังคม แมแตผูที่มีวิถีชีวิตปรกติแตตองเกี่ยวของอยูกับสารสนเทศก็ยังประสบกับปญหาในแงที่ตองใชเวลาและเงิน
ทองไปกับการคนหาขอมูลที่ตนตองการจริงๆ มากขึ้น เพราะยิ่งปริมาณสารสนเทศเพิ่มขึ้นมากเทาใด การคนหาก็จะยิ่ง
ยากขึ้นเทานั้น เปรียบเหมือนการคนหาเข็มจากกองเสนฟางที่มีลักษณะลีบๆ ยาวๆ เหมือนกัน ยิ่งกองฟาง (ปริมาณ
สารสนเทศโดยรวม) มีขนาดใหญเทาไร การจะหาเข็ม (ขอมูลที่ตองการ) ใหเจอไดก็ยิ่งยากขึ้นเทานั้น
อยางไรก็ตาม นับวายังดีที่เปนแคการเปรียบเทียบไมใชการคนหาเข็มในกองฟางจริงๆ เพราะการคนหา
ขอมูลนั้นสามารถนําเอามาตรการและกลไกทางตรรกะตางๆ ดาน
คอมพิวเตอรมาใชไดอยางสะดวกเพียงแตอาจจะเปลืองเวลาและเงิน
ทองในการคนหาขอมูลมากขึ้น ทําใหผูบริโภคตองมีคาใชจายในการ
รับบริการขอมูล (transaction cost) เพิ่มขึ้นโดยไมจําเปน ทั้งในแง
ของการสืบคน (searching) การประเมินคุณคา (evaluating) และ
การจัดหาสินคาสารสนเทศมาบริโภค (purchasing) จนอาจจะกลาว
ไดวา ราคาของสินคาสารสนเทศบนอินเทอรเน็ตที่ทุกอยางอาจไดมา
ฟรีๆ นั้นอยูที่คาใชจายในการรับบริการนั่นเอง (information is free,
transaction is expensive) สมดังที่เคยมีผูกลาวกันอยูเสมอวา "โลกนี้ไมมีอะไรที่จะไดมาฟรีๆ"
กระบวนการที่จะไดมาซึ่งสินคาสารสนเทศที่ตองการนั้นแมวาจะดูเหมือนเปนเรื่องยุงยาก แตเมื่อลอง
พิจารณาลงไปใหลึก มันก็ดูจะไมแตกตางไปจากวิธีการที่เราซื้อหาสินคาประเภทที่สามารถจับตองสัมผัสไดสักเทาใดนัก
คือเวลาที่ตองการซื้อหาสินคาสักชิ้น ผูซื้อสินคาสวนใหญก็นิยมใชวิธีไปติดตอกับผูคาที่คุนเคย มีชื่อเสียงอันเปนที่ยอมรับได
วานาจะจัดหาสินคาคุณภาพมาสงใหเราไดในราคาที่ไมแพง ซึ่งผูคาลักษณะที่วานั้นไดแกบรรดากิจการหางสรรพสินคาชื่อ
ดังทั้งหลายนั่นเอง เพราะการซื้อสินคาจากหางดีๆ ยอมจะทําใหผูซื้ออุนใจวามีการรับประกันคุณภาพในระดับหนึ่ง อยาง
นอยก็สามารถเปลี่ยน/คืนสินคาที่มีปญหาได ไมเหมือนกับการซื้อหาสินคาตามแผงลอยขางถนน
การซื้อขายสินคาสารสนเทศผานอินเทอรเน็ตนั้นก็มีลักษณะเชนเดียวกัน คือ สมาชิกอินเทอรเน็ตสวน
ใหญมักจะติดตอเขาไปยังเว็บไซทที่มีชื่อเสียงและคุนเคยเปนอันดับตนๆ โดยเว็บไซทประเภทนี้ก็จะทําตัวเสมือนหนึ่งเปน
หางสรรพสินคาสารสนเทศที่คอยจัดหาสินคาที่คิดวาจะถูกใจผูบริโภคมานําเสนอ ตลอดจนกระทั่งมีการโปรโมชั่นเพื่อผล
ในการชวงชิงลูกคา ไมตางไปจากหางสรรพสินคาจริงๆ เลย (มีศัพทเฉพาะสําหรับเรียกเว็บไซทประเภทนี้ วา Portal
websites เพราะทําตัวเหมือนเปนทางผาน หรือ port ไปยังเว็บไซทอื่นๆ ที่เกี่ยวของ) 7
เอกสารอางอิง
1. Varian HR., Markets for Information goods (http://www.sims.berkeley.edu/~hal/people/hal/papers.html)
2. Morris-Suzuki T., Capitalism in the Computer age and afterward., Cutting Edge : Technology, Information Capitalism
and Social Revolution, London. UK : Verso, 1997
3. David J,. Stack M., The Digital Advantage Cutting Edge : Technology, Information Capitalism and Social Revolution,
London. UK : Verso, 1997
4. Kelly K., New Rules for the New Economy London, UK : Fourth Estate 1998
5. Fishburn P., Oklyzko AM., Siders RC., Fixed fee versus unit pricing for information goods : compettition,
equilibria and price wars, First Monday 1997; 2(7) (http://www.firstmonday.dk/issues/issue2_7/odlyzko/)
6. Shapiro C., Varian HR., Information rules : a strategic guide for the network economy. Cambridge, Mass: Harvard
Business School Presss, 1998
7. Enrico Coiera, Information Economics and the Internet. JAMIA 7 : 215 –221 (http://www.jamia.org/cgi/content/full/7/3/215)

More Related Content

Viewers also liked

Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsObject oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsSurapol Imi
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์Surapol Imi
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvSurapol Imi
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงSurapol Imi
 
Gnr12001 นับถอยหลังสู่การสูญพันธ์ของมนุษย์
Gnr12001 นับถอยหลังสู่การสูญพันธ์ของมนุษย์Gnr12001 นับถอยหลังสู่การสูญพันธ์ของมนุษย์
Gnr12001 นับถอยหลังสู่การสูญพันธ์ของมนุษย์Surapol Imi
 
Foreign policy k_mongkut
Foreign policy k_mongkutForeign policy k_mongkut
Foreign policy k_mongkutSurapol Imi
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนSurapol Imi
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตSurapol Imi
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐSurapol Imi
 
นิติคอมพิวเตอร์
นิติคอมพิวเตอร์นิติคอมพิวเตอร์
นิติคอมพิวเตอร์Surapol Imi
 

Viewers also liked (11)

Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objectsObject oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
Object oriented computing พยุหยาตราของเหล่า objects
 
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
ศึกหลายด้านของไมโครซอฟท์
 
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctvอุปกรณ์ลูกผสมPctv
อุปกรณ์ลูกผสมPctv
 
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียงระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
ระบบสั่งงานคอมพิวเตอร์ด้วยเสียง
 
Gnr12001 นับถอยหลังสู่การสูญพันธ์ของมนุษย์
Gnr12001 นับถอยหลังสู่การสูญพันธ์ของมนุษย์Gnr12001 นับถอยหลังสู่การสูญพันธ์ของมนุษย์
Gnr12001 นับถอยหลังสู่การสูญพันธ์ของมนุษย์
 
Foreign policy k_mongkut
Foreign policy k_mongkutForeign policy k_mongkut
Foreign policy k_mongkut
 
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคนTelecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
Telecommuting เมื่อออฟฟิซเป็นฝ่ายวิ่งมาหาคน
 
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ตแนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
แนะวิธีเปิดร้านบนอินเทอร์เน็ต
 
Intel
IntelIntel
Intel
 
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐVan  หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
Van หนึ่งในธุรกิจมาแรงของสหรัฐ
 
นิติคอมพิวเตอร์
นิติคอมพิวเตอร์นิติคอมพิวเตอร์
นิติคอมพิวเตอร์
 

More from Surapol Imi

ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาSurapol Imi
 
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดแนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดSurapol Imi
 
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดการประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดSurapol Imi
 
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์Surapol Imi
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายSurapol Imi
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านเคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านSurapol Imi
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 Surapol Imi
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์Surapol Imi
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference systemSurapol Imi
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computingSurapol Imi
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce Surapol Imi
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96Surapol Imi
 
คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000Surapol Imi
 
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าคอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าSurapol Imi
 
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์Surapol Imi
 
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไรLinuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไรSurapol Imi
 
ระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิค
ระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิคระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิค
ระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิคSurapol Imi
 
ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก ไม่เว่อร์เอาเท่าไร
ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก  ไม่เว่อร์เอาเท่าไร ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก  ไม่เว่อร์เอาเท่าไร
ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก ไม่เว่อร์เอาเท่าไร Surapol Imi
 

More from Surapol Imi (20)

ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษาตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
ตำแหน่งทางวิชาการกับคุณภาพอุดมศึกษา
 
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาดแนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
แนวทางสำหรับผู้ต้องการลดฝุ่นในห้องสะอาด
 
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาดการประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
การประมาณราคาก่อสร้างและดูแลห้องสะอาด
 
1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์1ก่อกำเนิดมนุษย์
1ก่อกำเนิดมนุษย์
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้านเคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
เคล็ดลับวินโดวส์ ตอน เก็บเบี้ยใต้ถุนร้าน
 
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102 เคล็ดลับวินโดวส์  ไอทีซอฟต์   ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
เคล็ดลับวินโดวส์ ไอทีซอฟต์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 81 ธ.ค. 2541 87-102
 
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
เมื่อต้องใช้เครื่องแมคอินทอชรันวินโดวส์
 
Personal videoconference system
Personal videoconference systemPersonal videoconference system
Personal videoconference system
 
Realtime computing
Realtime computingRealtime computing
Realtime computing
 
Psion vs win ce
Psion vs  win ce Psion vs  win ce
Psion vs win ce
 
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
สุดยอดประดิษฐกรรมและการค้นพบแห่งปี 96
 
PCI local bus
PCI  local busPCI  local bus
PCI local bus
 
คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000คอมพิวเตอร์ปี 2000
คอมพิวเตอร์ปี 2000
 
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋าคอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
คอมพิวเตอร์รุ่นพกกระเป๋า
 
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
นู๊ดออนไลน์ อันตรายของนักคอมพิวเตอร์วัยเยาว์
 
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไรLinuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
Linuxของแจกฟรีแต่มีกำไร
 
Ieee802wireless
Ieee802wirelessIeee802wireless
Ieee802wireless
 
ระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิค
ระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิคระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิค
ระบบวิเคราะห์อัตโนมัติในงานพยาธิวิทยาคลีนิค
 
ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก ไม่เว่อร์เอาเท่าไร
ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก  ไม่เว่อร์เอาเท่าไร ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก  ไม่เว่อร์เอาเท่าไร
ค่าเสียหายจากการถูกแฮ็ก ไม่เว่อร์เอาเท่าไร
 

สารสนเทศ สินค้ายุคมิลเลเนียม

  • 1. "สารสนเทศ" สินคายุคมิลเลเนียม สุรพล ศรีบุญทรง บทความกอนยุคป ค.ศ. 2000 โลกสมัยใหม คือโลกแหงความรูและขาวสารขอมูล ดังนั้นจึงมีแตประเทศที่สามารถปรับระบบเศรษฐกิจ ของตนเขาสูภาวะเศรษฐกิจเชิงสารสนเทศ (Information economics) ไดกอนคนอื่น อยางกลุมประเทศ G7 (สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน และยุโรป) เทานั้น ที่จะดํารงสถานะความมั่งคงทางเศรษฐกิจของตนเองไวได แตลําพังแค ความสามารถในการปรับตัวปรับทิศทางของประเทศเขาสูภาวะเศรษฐกิจสารสนเทศไดเร็วเพียงอยางเดียวนั้นไมพอ ประเทศที่จะกาวหนาภายใตระบบเศรษฐกิจยุคใหมไดจะตองมีพื้นฐานความรูที่มั่นคงแนนหนาประกอบดวย ยกตัวอยางเชนประเทศไทยเรานั้น แมจะไดชื่อวาเปนประเทศที่ปรับตัวเกงขนาดสามารถเอาตัวรอดมา ไดโดยตลอดตั้งแตยุคประเทศราช ผานยุคลาอาณานิคม จนแมกระทั่งยุคที่ประเทศเพื่อนบานถูกเปลี่ยนเปนคอมมิวนิสต และสังคมนิยมไปหมดตามทฤษฏีโดมิโน ไทยเราก็ยังผานพนไปภัยคุกคามเหลานั้น มาได แตสุดทายประเทศไทยตองมาเสียทาวอดวายเอาในยุคนักเศรษฐกิจการเมือง ที่อุดมไปทั้งความโลภและความดอยปญญามาบริหารบานเมือง มีการพยายาม ปรับประเทศใหทันสมัยดวยการรับเอาเทคโนโลยีสมัยใหมอยาง บีไอบีเอฟ เขามา ใชโดยไมใสใจศึกษาเรียนรูทําความเขาใจกับมันอยางลึกซึ้ง (หลวงพอประยุตตทาน วา "ทันสมัยแตไมพัฒนา) สุดทายจึงทําใหประเทศชาติตองตกอยูในสภาวะหนี้สินลนพนตัว ทางออกที่ดีที่สุดคือ การดําเนินตามพระราชดําริแหงพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่ลวนถูกตองดีงาม ทั้งนั้น ไมวาจะเปนเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง หรือการไมปลอยใหคนชั่วไดมีโอกาสปกครองประเทศ ที่สําคัญ พวกเราชาว ไทยควรจะศึกษาและดําเนินตามรอยพระราชจริยาวัตรในแงความอุตสาหะ และใฝรูใฝศึกษา เพื่อแสดงความสํานึกในพระ มหากรุณาธิคุณ และดํารงตนในฐานะของพลเมืองที่มีคุณภาพ ไมเปนพวกทันสมัยแตไมพัฒนาเชนที่แลวๆ มา เพื่อวา หลังจากผานพนวิกฤติเศรษฐกิจครั้งนี้แลว ประเทศไทยจะไดพัฒนาไปอยางกาวหนาและมั่นคงเสียที โดยความรูระดับ แรกๆ ที่คนไทยควรจะทําความรูจักและเขาใจใหดีก็คงหนีไมพนเรื่องราวเกี่ยวกับคอมพิวเตอรและสารสนเทศ ซึ่งมี บทบาทสําคัญอยางมากในการกําหนดทิศทางเศรษฐกิจของโลกยุคมิล เลนเนี่ยม โลกที่ "ความรู" และ "ขอมูล" มีราคาแพงกวาทอง วิชาเหมือนสินคา ความจริงบรรพบุรุษไทยเรานั้นไดตระหนักถึง ความสําคัญของ "ความรู" หรือ "สารสนเทศ" กันมานานนมแลว ดังจะ เห็นไดจากบทอาขยานที่ทองกันมาตั้งแตสมัยผูเขียนยังเด็กวา "วิชา เหมือนสินคาอันมีคาอยูเมืองไกล ตองยากลําบากไปจึงจะไดสินคามา ...." อยางไรก็ตาม มาในระยะหลังๆ นี้สิ่งที่ปลูกฝง กันมาแตโบร่ําโบราณนั้นเริ่มจะเลือนๆ เปลี่ยนความหมายไป กลายเปนวา "ปริญญาเหมือนสินคา แมนมีคาอยูเมืองไกล ก็ ตองดั้นดนไปซื้อมา ..." สวนจะไดความรูติดปริญญามาดวยมากนอยแคไหนนั้น ดูเหมือนกุลบุตรกุลธิดาไทยรุนใหมจะไม คอยใสใจกันสักเทาใดนัก ปจจุบัน เราจึงมีเด็กฝกงานหอยปริญญาโกหรูกันอยูเต็มบานเต็มเมือง พูดเรื่องการศึกษาของไทยแลวเศรา ขอยอนกลับมาพูดเรื่อง "สารสนเทศในแงของสินคา (Information goods) " 1 กันดีกวา คิดวาคงไมมีใครเถียงวาขอมูลขาวสารที่ตรงความตองการ และทันเวลานั้นมีคามากกวาทองคําเสียอีก
  • 2. ยกตัวอยางเชน ขาวสารเรื่องอุทกภัยที่จะเกิดขึ้นบริเวณที่พักอาศัยซึ่งจะชวยใหเราสามารถปกปองชีวิตและทรัพยสินของ ตนเองไดทันเวลานั้นยอมมีคากวาทองแนนอน สวนความรูและขอมูลที่ร่ําเรียนกันในมหาวิทยาลัยนั้นก็จะชวยเตรียมตัว บัณฑิตใหพรอมสําหรับการประกอบวิชาชีพของตนไดอยางถูกตองดีงามมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ สารสนเทศเพื่อการ บันเทิงอยางภาพยนต หนังสือ หรือดนตรีนั้นก็เปนสิ่งที่แลกเปลี่ยนซื้อขายกันดวยเงินทองอยางชัดเจนมาแตไหนแตไร อยางไรก็ตาม การบริหารสารสนเทศอันเปนสื่งมีคานั้นดูเหมือนจะยุงยากและซับซอนขึ้นไปเรื่อยๆ ตาม การพัฒนาดานเทคโนโลยีของโลก การเติบโตของเครือขายการสื่อสารโดยเฉพาะเครือขายอินเทอรเน็ตทําใหผูใช สารสนเทศสามารถสืบหาขอมูลที่ตนตองการผานอินเทอรเน็ตมาไดภายในพริบตา เรียกไดวาเปนสินคาที่แทบจะไมมีคา ขนสง แคลงทุนสรางเครือขายการสื่อสารที่เปรียบเปนทั้งตลาด (marketplace) และระบบขนสงสินคา (goods distribution) ครั้งเดียวก็สามารถใชงานไดตลอด สงผลใหบรรดาผูประกอบการดานโทรทัศพมือถือ หรือผูเผยแพรขอมูล ขาวสารผานโทรทัศนวิทยุร่ํารวยจนไดรับการจัดอันดับเปนมหาเศรษฐีระดับตนๆ ของโลก (โดยเฉพาะพวกที่สามารถ ทําสัปทานผูกขาดสิทธิ) ในขณะที่บรรดานักลงทุนรายยอยตางก็หันมาใหความสนใจในธุรกิจอี-คอมเมิรซกันขนานใหญ และเมื่อมองตัวสารสนเทศเปนสินคา มันก็เปนสินคาที่แตกตางไปจากสินคาประเภทอื่นๆ ที่ มนุษยคุนเคยกันมาทั้งหมด เพราะมันเปนสินคาที่ บริโภค (consume) ไดไมมีวันหมด ไมเหมือนกับสินคา ประเภทขาวปลา อาหาร น้ํามัน หรือกระทั่งสินคาในรูป บริการ สารสนเทศเปนสินคาที่สามารถผลิตซ้ําไดอยาง ไมจํากัด (reproduce) โดยแทบไมมีคาใชจายใดๆ สงผลใหผลผลิตที่จําหนายเกินระดับจุดคุมทุนไปเปนสินคาที่มีแตกําไร ลวนๆ อยางไรก็ดี การที่มันถูกผลิตซ้ําไดในราคาถูกและไมจํากัดก็เปนผลเสียกับตัวเจาของสารสนเทศเหมือนกัน เพราะ ไมมีขอจํากัดวาผูซื้อสินคาจะนําตัวสินคาไปผลิตซ้ําเองไมได เผลอๆ ผูซื้อสารสนเทศอาจจะนําสิ่งที่ตนเองผลิตซ้ํามาขาย แขงกับเจาของสิทธิเดิมไดอีกดวย (จะขายตัดราคาก็ยังได เพราะแทบไมตองลงทุนอะไรเลย เนื่องจากตนทุนของ สารสนเทศอยูที่ขั้นตอนการออกแบบและประดิษฐคิดคนจนสมองแทบแตก ไมไดอยูที่ขั้งตอนการผลิตซ้ํา) จนสงผลให จําเปนตองมีการจดลิขสิทธิ สิทธิบัตรกันใหวุนวาย อยางไรก็ตาม การจดสิทธิบัตรก็ใชวาจะเปนหลักประกันความปลอดภัยของสินคาสารสนเทศได เพราะ บางครั้งกฏหมายลิขสิทธิ์/สิทธิบัตรก็ไมสามารถปกปองสิทธิของผูผลิตสารสนเทศไดอยางสมบูรณ ความแตกตางระหวาง กฏหมายลิขสิทธิในประเทศตางๆ ยังคงเปดชองใหผูจองละเมิดลิขสิทธิสามารถดําเนินการไดอยางสะดวกในบางพื้นที่ของ โลก อีกทั้งการลอกเลียนแบบสินคาโดยดัดแปลงรูปแบบบางสวนของผลงานก็ยังอยูนอกขอบเขตที่กฏหมายลิขสิทธิจะเอา ผิดได ตัวอยางคลาสสิคมากๆ ของการลอกเลียนแบบสินคา คือ โปรแกรมไมโครซอฟทวินโดวสที่ใชกันเกรอทั่วโลกเดี๋ยวนี้ ความจริงแลวก็เปนรุปแบบหนึ่งของการลอกเลียนโปรแกรมระบบปฏิบัติการแมคอินทอช แตความที่ไมโครซอฟทมีฐาน ตลาดที่กวางกวาและเปนที่รูจักมากกวา จึงทําใหคนสวนใหญไมทันไดคิดถึง แงมุมนี้ แถมบางคนยังหลงเขาใจผิดๆ ไปเลยวาไมโครซอฟทวินโดวสนั้นคือ ตนแบบของวิธีการติดตอกับผูใชแบบ GUI (Graphic User Interface) นอกจากตัวอยางเรื่องโปรแกรมซอฟทแวรแลว การลอก เลียนลิขสิทธิ์ของสินคาสารสนเทศดานบันเทิงก็เปนสิ่งที่ปรากฏใหเห็นกันอยู เปนประจํา ไมวาจะเปนการลอกเลียนหนังฝรั่งเศสของผูสรางฮอลลีวูด หรือ
  • 3. การที่ผูสรางภาพยนตฮองกงลอกเลียนโครงเรื่องจากภาพยนตดังๆ ของฮอลลีวูดไปอีกตอหนึ่ง เชนเรื่อง "Nikita" และ "Three men and a cradle" หรือการลอกเลียนทํานองเพลงฮิตๆ ดวยการนํามาเปลี่ยนเนื้อรองเสียใหม อยางบานเราก็ คือ พวกเพลงลูกทุงรอยเนื้อทํานองเดียว หรือเพลงตระกูลเมกกะฮิต ที่โหมโฆษณากันอยางบาคลั่งแบบตีหัวเขาบานอยูใน ระยะหนึ่ง ดังนั้น บรรดาผูผลิตสินคาสารสนเทศที่มีตนทุนแพงๆ และมีฐานตลาดกวางจึงตองปกปดสวนที่เปน จุดสําคัญที่ถือเปนไมตายในสินคาของตนไวอยางมิดชิดไมใหมีขอมูลหลุดรอดไปถึงบริษัทคูแขง แตนั่นก็นับเปนเรื่องยาก มาก เพราะกอนสินคาแตละชิ้นจะวางตลาดผูผลิตสินคาสารสนเทศจะตองทําการประชาสัมพันธใหกลุมลูกคาเปาหมาย ของตนไดทราบคราวๆ วาจะมีสินคาใหมนั้นจะมีอะไรเปนจุดเดนบาง พูดงายๆ คือจะตองประชาสัมพันธใหกับ สาธารณชนไดรับรูวาสินคาใหมของตนนั้นจะมีคุณลักษณะและความสามารถพิเศษอะไรบาง ในขณะเดียวกันก็ตองไมหลุด ปากออกไปเลยวาความสามารถที่วานั้นเปนผลมาจากกลไกอยางไร เพื่อมิใหคูแขงนําเอาความรูนั้นไปผลิตสินคามาแขงกับ ตน การมีสินคาใหเลือกมากอาจจะไมใชของดี !! เมื่อสินคาสารสนเทศถูกเผยแพรออกสูตลาดแลว มันก็จัดเปนสินคาที่มีอายุสั้นที่สุด (short life) ใน บรรดาสินคาทั้งปวง เพราะขอมูลบางอยางนั้นเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา (เชนขาวโทรทัศน ขาวหนังสือพิมพ และราคา หลักทรัพย) ในขณะที่ สารสนเทศบางอยางก็อาจจะถูกคูแขงพัฒนาสินคาเลียนแบบขึ้นมาไดในระยะเวลาสั้นๆ จนทําให ผูคาสารสนเทศเปนพวกที่หยุดนิ่งไมได ตองพัฒนาทั้งสินคาและตัวเองอยูตลอดเวลา เรียกวาถาสินคานั้นเปนโปรแกรม คอมพิวเตอร ผูผลิตก็จะตองวางแผนโปรแกรมเวอรชั่นตอไปทันทีที่สินคาเริ่มวางตลาด นอกเหนือไปจากการวางแผนยึด ครองใจ /ดึงดูดใจผูบริโภคกลุมเปาหมายของตน ที่ตองเนนเริ่องการยึดครองใจผูบริโภคก็ดวยเหตุผลสําคัญวา สินคาสารสนเทศนั้นมีใหเลือกใชไดอยาง มากมายมหาศาลเพราะถูกผลิตขึ้นมาในอัตราเร็วแบบยกกําลัง (เอ็กซโปเนนเชี่ยล) ใครที่พอมีเงินซื้อหาคอมพิวเตอรหรือ เทคโนโลยีผลิตสื่อมาใชก็อาจจะปอนสารสนเทศออกมาในตลาดไดตลอดเวลา ในขณะที่สมองของมนุษยที่เปนผูบริโภคนั้น ถูกจํากัดความเร็วในการรับสื่อไวในระดับคอนขางจะคงที่นับตั้งแตยุคพุทธกาล เปรียบงายๆ เหมือนการชมภาพยนต โทรทัศนนั้น ตอใหมีชองสถานีใหเลือกถึง 200 ชอง ผูชมโทรทัศนก็คงจะเลือกชมไดเพียงไมเกิน 20 ชองในแตละวัน อยางไรก็ดี ปญหาเรื่องการยึดครองใจผูบริโภคนั้นเปนการพูดในมุมมองของผูผลิตและจําหนายสารสนเทศ หากเปลี่ยน มุมมองมาทางฝายผูบริโภคบาง ก็จะพบวาเปนอีกปญหาหนึ่ง กลายเปนวาจะคนหาขอมูลขาวสารที่ตนเองตองการได อยางไรจากกองขอมูลปริมาณมหาศาลที่ถาโถมเขามาในแตละวัน โดยปรกติ ตามหลักเศรษฐศาสตรที่วาดวย อุปสงค/อุปทาน (demand/supply) นั้น นักเศรษฐศาสตร มักจะเชื่อกันวาการมีอุปทานหรือจํานวนสินคาใหเลือก มากๆ นั้นเปนผลดีแกผูบริโภค เพราะทําใหมีโอกาสเลือก ของดี และสินคามีราคาถูก แตหลักอุปสงค/อุปทานที่วานี้ คงนํามาใชกับสินคาสารสนเทศที่มีกระบวนการผลิต
  • 4. แตกตางออกไปไมได เพราะสินคาสารสนเทศที่มีมากนั้นมักจะหมายถึงจํานวนขอมูลขยะที่เพิ่มเติมขึ้นตามไปดวย เผลอๆ จะเปนการเพิ่มขึ้นในสัดสวนที่มากกวาขอมูลดีๆ เสียดวยซ้ํา เพราะแคมีเงินสักไมกี่พันบวกกับเครื่องคอมพิวเตอร สักชุด ใครก็สามารถแปลงตัวเองเปนผูผลิตสินคาสารสนเทศปอนใหกับเครือขายอินเทอรเน็ตไดแลว ฉนั้น การมีจํานวนสินคาสารสนเทศใหเลือกมากจึงไมใชโอกาสดีของผูบริโภค แตกลับจะเปนภาระที่ เพิ่มขึ้นในการคนหาขอมูลที่ตองการจากกองขอมูลปริมาณมหาศาล เพราะมีทั้งขอมูลขยะ ขอมูลโฆษณาแอบแฝง และ ขอมูลที่ไมตรงความตองการ โดยเหตุผลสําคัญที่สงผลใหมีขยะสารสนเทศอยูลนโลกในขณะนี้ นอกจากจะเปนเพราะมัน ถูกผลิตไดงายแลว ยังเปนเพราะคุณสมบัติที่ไมมีขอจํากัดเรื่องพื้นที่จัดเก็บ (storage space) อีกดวย อยางพวกขยะ กายภาพ หรือสินคาที่จําหนายไมออกตามปรกตินั้น หากมีปญหาเรื่องสถานที่จัดเก็บก็จะถูกหยุดหรือลดการผลิตทันที แต สารสนเทศเปนซอฟทแวรที่ไมเปลืองเนื้อที่จัดเก็บจึงไมคอยมีใครมาใสใจเก็บกําจัดสิ่งไรประโยชนเหลานี้ออกไปจากตลาด อยางผูเขียนเองเมื่อลองหันกลับมาสํารวจฮารดดิสกของตนดู ก็ปรากฏวามีขอมูลหรือโปรแกรมที่ใช ประโชนจริงๆแคไมกี่เปอรเซนต ที่เหลือสวนใหญนั้นแมจะเรียกวาขยะรกฮารดดิสกไมไดเต็มปาก แตโดยมากก็ควรถูก จัดเก็บทําลาย หรืออัพเกรดไปเปนเวอรชั่นที่ทันสมัยกวาเดิมบาง ทีนี้ เมื่อลองคิดเทียบกลับไปที่เครือขายสาธารณะอยาง อินเทอรเน็ตบาง ก็นาสนใจวาขนาดฮารดดิสกที่เปนสมบัติสวนตัว ผูใชคอมพิวเตอรสวนใหญยังไมคอยไดใสใจเก็บกวาด ทําความสะอาดเลย ถาเปนสมบัติสาธารณะอยางอินเทอรเน็ตจะมีใครมาคอยดูแลเรื่องขอมูลไรคาไรประโยชน อีกอยาง เรื่องการประเมินคุณคาของสารสนเทศนั้นก็เปนเรื่องตางจิตตางใจ ของที่บางคนเห็นวาเปนขยะรก บางคนอาจจะเห็นเปน ของทรงคุณคาก็ได ไมงั้นเราคงไมไดเห็นเว็บภาพโปกันเต็มๆ ตาเปนแน ทางออกงายๆ สําหรับผูรับสารสนเทศที่ตอง ตัดสินใจเลือกบริโภคจากจํานวนที่มีอยูมหาศาล จึงมักจะเปนการเลือกจากชื่อหรือยี่หอที่ติดตลาด อันเปนการกลั่นกรอง ปริมาณขอมูลที่ไมไดคุณภาพหรือขอมูลที่ไมตรงความตองการไปในระดับหนึ่ง ลักษณะพิเศษของสินคาสารสนเทศ กลาวโดยสรุป สารสนเทศนับวาเปนสินคาที่มีคุณลักษณะพิเศษที่แตกตางไปจากสินคาประเภทอื่นๆ ดวย เหตุผลดังตอไปนี้1,2,3,4 1. สารสนเทศเปนสินคาที่ผูบริโภคจะตองไดมีประสบการณการใชสอยสินคากอน จึงจะรูไดวาเปนสิ่งที่ตน ตองการหรือไม ผิดกับสินคาประเภทกับอาหาร หรือเครื่องใชไมสอยที่แคมองดูจากรูปลักษณภายนอกก็ บอกไดแลววาจะตรงกับประโยชนใชสอยหรือเปลา เพราะสินคาสารสนเทศอยางดนตรี เกมส โปรแกรม หรือนวนิยายนั้น ผูบริโภคจะตองไดฟง ไดใช หรือไดอานกอนถึงจะบอกได (มองแคประเด็นนี้ อาจมีผูตั้ง ขอสงสัยไดวา ในบรรดาโปรแกรมซอฟทแวรเถื่อนที่ลักลอบเผยแพรกันอยูทั่วไปขณะนี้ อาจเปนเจตนา สรางประสบการณใหกับกลุมลูกคา เปาหมายของเจาของผลงานเองก็ ได) 2. สารสนเทศเปนสินคาที่มีการจําแนก แยกยอย (differentiate) ออกไปได มากกวาสินคาประเภทอื่น แค บทความในนิตยสารฉบับเดียวกัน พูดเรื่องเดียวกันก็ยังแตกตางกันไปในแตละบท หรือบทเพลงที่ขับรอง โดยนักรองแตละคน บรรเลงดนตรีโดยแตละวงดนตรี ตางก็มีความแตกตางกันออกไป จนบางครั้งแมวา
  • 5. สินคาสารสนเทศสองชิ้นจะดูคลายคลึงกัน แตก็อาจจะนํามาใชทดแทนกันไมไดในสายตาของผูบริโภค เชน จะเอางานเขียนของเสกสรรค ประเสริฐกุล มาใหแฟนนิยายของทมยันตีอานก็คงไมได ถึงแมจะเปน การพูดถึงเรื่องราวแนวเดียวกัน 3. ตนทุนการผลิตของสินคาสารสนเทศนั้นอยูที่การออกแบบคิดคนและการลงทุนครั้งแรกเทานั้น หลังจาก สินคาตนแบบถูกผลิตขึ้นมาหนึ่งชิ้นแลว มันอาจจะถูกผลิตซ้ํา (copy) ออกมาเปนสินคาปริมาณมากโดย แทบจะไมมีคาใชจายเลย (โดยเฉพาะในกรณีที่เผยแพรสินคาผานไปทางเครือขายอินเทอรเน็ต) ฉนั้น หากผลงานตนแบบถูกเผยแพรออกไปกอนกําหนดโดยขาดการควบคุม เจาของผลงานก็คงจะตอง ประสบภาวะขาดทุน 4. สารสนเทศเปนสินคาที่สามารถผลิตซ้ําไปไดเรื่อยๆ โดยไมจํากัด มันจึงเปนสินคาที่ไมมีการขาดตลาด สามารถถายทอดและสงตอไปไดเรื่อยๆ โดยที่ตัวผูใหก็ยังคงครอบครองตัวสินคาอยูเชนเดิมไมไดสูญ หายไปไหน อยางเวลาที่เราใหเงินทองสิ่งของแกผูอื่น เรามักจะเรียกวาสินคาเกิดการเปลี่ยนมือ แต ความรูและสารสนเทศนั้นไมมีการเปลี่ยนมือเลย มีแตการเผยแพร (อยางมากที่สุดก็เปนการขายสิทธิ) ดังนั้น มันจึงเปนเรื่องยากที่จะนําเอากฏอุปสงค/อุปทานมาใชวางแผนการตลาดใหกับสินคาสารสนเทศ 5. สารสนเทศเปนสิ่งที่สามารถเคลื่อนยายผานเครือขายการสื่อสารและโทรคมนาคมไดอยางสะดวกรวดเร็ว และสิ้นเปลืองคาใชจายนอยมาก จนอาจจะเรียกไดวาเปนสินคาประเภทเดียวที่แทบจะไมมีคาใชจาย ดานการขนสงและการกระจายสินคา 6. เมื่อมีตนทุนการผลิตซ้ํา และตนทุนการเผยแพรต่ํา สินคาสารสนเทศจึงเปนสินคาที่อาจจะถูกเสนอตัด ราคากันไดอยางสุดๆ ระหวางคูแขง ดังนั้น อาจจะตองมีการกําหนดมาตรการปกปองตลาดจากการ แขงขันอยางเอาเปนเอาตายเชนนั้น ดวยการใชมาตรการผูกขาดสัมปทานบางอยาง และ วิธีการที่ถือวา เปนมาตรฐานสากลก็คือการจดทะเบียนลิขสิทธิ/สิทธิบัตรเพื่อคุมครองใหเจาของผลงานสามารถเก็บ เกี่ยวผลประโยชนจากผลผลิตของตนไดอยางเต็มเม็ดเต็มหนวย แทนที่จะใหปลอยใหมีการผลิตซ้ําหรือ เผยแพรออกไปโดยที่ตัวเจาของผลงานไมไดอะไรเลย กฏหมายลิขสิทธิวาดวยสินคาสารสนเทศ เรื่องของกฏหมายลิขสิทธินี้ก็ยังตองอาศัยระยะเวลายาวนานกวาที่จะสามารถนําไปบังคับใชไดทั่วโลก ไม ทันกับเครือขายการสื่อสารที่สามารถกระจายตัวสินคาสารสนเทศออกไปทั่วโลกในชั่วพริบตา จึงถือเปนปญหาที่บรรดา ผูผลิตสินคาสารสนเทศจะตระหนักถึงคอนขางมาก เพราะในอดีตนั้น แมจะมีการละเมิดลิขสิทธิและผลิตซ้ําของสินคาใน ตางประเทศกันอยางเอิกเกริก แตดวยขอจํากัดของเครือขายการสื่อสารโทรคมนาคมก็สงผลใหกวาจะมีสินคาเถื่อน (pirate copies) ปรากฏใหเห็นในตางประเทศ มันก็มักจะลาชาออกไปจนพอมีเวลาใหเจาของความคิดพอเก็บเกี่ยวกําไร ไดอยางเต็มกอบเต็มกําบาง แตสําหรับการเผยแพรสินคาสารสนเทศผานเครือขายอินเทอรเน็ต หรีอชองทางสื่อสารทันสมัยใหมอื่นๆ ผูละเมิดหรือลอกเลียนแบบสินคาสามารถจะผลิตซ้ํางานชิ้นเดียวกันแลวเผยแพรผานเว็บไซทของตนเองไดแทบจะพรอมๆ ไปกับผูผลิตสินคาสารสนเทศตัวจริงไดทันที แถมอาจจะแอบอางสิทธิความเปนเจาของเสียดวยซ้ํา โดยเฉพาะในกรณีที่ เจาของเว็บไซทที่ละเมิดลิขสิทธิ์มีนิวาสถานอยูนอกอาณาเขตที่กฏหมายลิขสิทธิ์จะครอบคลุมไปถึง ซึ่งตรงนี้มีขอสังเกตุวา ในขณะที่กฏหมายครอบคลุมไมทั่วอินเทอรเน็ต แตอาณาเขตการตลาดของสินคาเถื่อนกลับครอบคลุมไปทั่วทั้ง
  • 6. อินเทอรเน็ต จึงนับเปนเรื่องประหลาดที่สินคาของจริงและของเถื่อนสามารถจําหนายในตลาดเดียวกัน และใชชองทาง เผยแพรเดียวกันได ผิดกับสินคาเถื่อนทั่วไปที่ตองหลบๆ ซอนๆ จําหนาย เพราะมีความผิดทั้งผูซื้อและผูขายของเถื่อน สวนการจะเอาผิดผูซื้อสารสนเทศเถื่อนบนอินเทอรเน็ตนั้นออกจะเปนเรื่องละเอียดออนมากในเชิง กฏหมายอาญา ซึ่งตองพิจารณาควบคูกันไปทั้งการกระทํา และเจตนา ในแงการกระทําก็ออกจะเปนเรื่องยากที่จะ ติดตามตรวจสอบวามีใครดาวนโหลดสารสนเทศเถื่อนมายังเครื่องคอมพิวเตอรของตนบาง (ถึงพอจะทําไดก็เสี่ยงกับการ ละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน) ในขณะที่การพิจารณาระดับความผิดจากเจตนาก็ยิ่งยากขึ้นไปอีก เพราะสมาชิก อินเทอรเน็ตที่ดาวนโหลดสารสนเทศเถื่อนมาบริโภคก็ยอมจะอางเหตุผลไดสารพัดในเรื่องเจตนา (ปญหาเรื่องของเถื่อน บนอินเทอรเน็ตนี้อาจจะชัดเจนขึ้น หากมีการฟองรองของบริษัทเจาของเพลงฮิตที่ถูกนําไปเผยแพรผานอินเทอรเน็ตในรูป ของไฟลล MP3 และกรณีการตัดสินคดีความผิดฐานครอบครองสื่อลามกเด็กในสหรัฐอเมริกา เปนบรรทัดฐาน) กระนั้น สําหรับเรื่องการละเมิดลิขสิทธินี้ ผูเขียนอยากจะเตือนผูคนที่เกี่ยวของกับการบังคับใชกฏหมาย ไวสักหนอยวา อยาหลงตามกนฝรั่งไปเสียทุกเรื่องทุกอยาง เพราะถาจะวากันตามจริงแลว ตัวประเทศสหรัฐอเมริกาที่เปน ตัวตั้งตัวตีเรื่องกฏหมายลิขสิทธิเอง ก็ยังเคยละเมิดสิทธิของ คนอื่นมาแลวนับไมถวนชวงที่ตนเองยังไมมีความกาวหนาในเชิง เทคโนโลยีมากเทาขณะนี้ อยางในชวงคริสตศตวรรษที่ 19 ในสมัยที่กฏหมายลิขสิทธิยังไมครอบคลุมถึงสิทธิใน ตางประเทศ สํานักพิมพของอเมริกาเคยละเมิดสิทธิของสิ่งพิมพอังกฤษเปนวาเลน มีการตีพิมพหนังสือ A Cristmas Carol ของชารล ดิกเกนส ออกมาขายในราคาแคหกสลึง ในขณะที่ฉบับจริงในอังกฤษมีราคาถึงหาสิบบาท1 (ถือวาแพง มาก สําหรับเมื่อกวาหนึ่งรอยหาสิบปที่แลว) พูดในอีกแงหนึ่ง ก็ตองบอกวาบรรดาประเทศที่กําลังเรียกรองเรื่องความชอบธรรมหรือการปกปองสิทธิ อันพึงมีพึงไดของผูประดิษฐคิดคนผลงานนั้น สวนใหญตางลวนเคยละเมิดสิทธิของผูอื่นมาแลวทั้งสิ้น แตเมื่อเวลาที่ ประเทศของตนเองกาวหนาในเชิงเทคโนโลยีมากๆ เขา ก็มักจะหันกลับมากีดกันและโจมตีลักษณะการกระทําเดิมๆ ของ ตนเอง เหมือนอยางอเมริกาที่พัฒนาอาวุธนิวเคลียรไปจนถึงระดับที่ตนเองมั่นใจแลวก็เริ่มหันมาตําหนิและดาทอประเทศ ที่ยังคงพัฒนาอาวุธนิวเคลียรอยู และที่เห็นลาสุดนี้ก็คือ การเลนแงเรื่องกีดกันสินคาดัดแปลงพันธุ (GMOs) ที่ฝายยุโรปงัด ขึ้นมาปกปองตลาดการเกษตรของตนจากสินคาของของอเมริกา ดวยเหตุผลงายๆ วายังไมมีผลการศึกษาที่ชัดเจนเรื่อง ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมและสุขภาพ ซึ่งฟงดูเปนเหตุเปนผลดี แตก็อดคิดไมไดวาเปนเพราะยุโรปยังตามอเมริกาไมทัน เรื่องเทคโนโลยีเรื่องตัดตอพันธุกรรมในสินคาเกษตรหรืออยางไร ถึงตองหามาตรการบางอยางมาเบรกสินคาเกษตรจาก อเมริกาไวสักระยะ การปกปองผลประโยชนของผูผลิต เมื่อสินคาสารสนเทศนั้นมีลักษณะงายตอการละเมิด และยากตอการเอาผิดผูละเมิด ปญหาจึงตกอยูที่วา เจาของผลงานตนฉบับของสินคาสารสนเทศควรจะทําอยางไรถึงจะปกปองผลประโยชนที่ตนเองควรจะไดรับไวใหไดมาก ที่สุด ทางออกที่ถูกเลือกในขณะนี้สวนใหญดูเหมือนวาจะเปนการพยายามหนวงเวลา (delay tactics) ชวงกอนที่สินคา ถูกละเมิดจะมีโอกาสเผยแพรออกไปอยางกวางขวางใหนานที่สุดเทาที่จะนานได วิธีการงายที่สุดอยางแรกก็คือ การสราง
  • 7. ภาพลักษณของผลิตภัณฑและบริษัทผูผลิตใหติดตรึงอยูในใจผูบริโภค (Brand reputation & Brand royalty) เพื่อใหทุก ครั้งที่นึกถึงสินคาประเภทนี้ ผูบริโภคก็จะตองเลือกมาที่ชื่อยี่หอหรือที่เว็บไซทของตนเปนอันดับแรก ยกตัวอยางเชน การเลือกใชโปรแกรมออฟฟซของไมโครซอฟทนั้น ผูใชโปรแกรมสวนใหญแทบจะไมไดมี การศึกษาเปรียบเทียบกันอยางจริงๆ จังๆ เลยวาโปรแกรมแตละตัวในไมโครซอฟทออฟฟซนั้นโดดเดนเหนือกวาสินคา คูแขงตรงไหน หรือมีผลิตภัณฑอื่นที่เหมาะกับงานของตนเองมากกวาหรือเปลา ทุกคนเลือกไมโครซอฟทออฟฟซเพียง เพราะเปนชื่อผลิตภัณฑที่ติดตลาด และ รับประกันไดในแงคุณภาพ หรืออยางกรณีของการคนหาขอมูลบนอินเทอรเน็ตก็ เชนกัน หากผูใชคอมพิวเตอรรายไหนเคยใชบริการสืบคนขอมูลอะไรอยูเปนประจําก็มักจะติดตอไปที่เว็บไซทเดิมอยูเสมอ ไมวาจะเปน อินโฟซีค ฮ็อทบ็อท ยาฮู หรือไลคอส ฯลฯ วิธีปกปองผลประโยชนเจาของผลงานสารสนเทศผานอินเทอรเน็ตอีกอยาง คือการคิดคาสมาชิกจากผู เขาใชบริการ ซึ่งมีอยูสองรูปแบบ แบบแรกเปนการเก็บคาสมาชิกแรกเขากอนเดียวแลวใชสิทธิไดตลอด (fixed entry- fee) แบบที่สอง คือการคิดคาบริการตามจํานวนสินคาสารสนเทศที่ผูใชบริการติดตอเขาไปเรียกคน (pay-per-view model) ซึ่งอางเหตุผลวาทําใหเจาของผลงานไดรับประโยชนอยางเต็มเม็ดเต็มหนวย และผูบริโภคเสียคาใชจายนอยลง เพราะเปนการจายตามความเปนจริง แตการคิดคาบริการสารสนเทศตามจริงจะประหยัดคุมคาได เฉพาะกรณีที่ ผูบริโภครูดีวาเว็บไซทที่ตนเองติดตอเขาไปนั้นมีสิ่งที่ตนเอง ตองการจริงๆ ขอเสียของวิธีการคิดคาบริการสารสนเทศตาม จํานวนการใชจริง อยูตรงที่อาจสงผลใหผูบริโภคสื่อบน อินเทอรเน็ตเลือกติดตอเขาชมเฉพาะเว็บไซทที่ตนรูจักคุนเคย ไมยอมติดตอไปยังเว็บไซทเกิดใหม ซึ่งเทากับเปดโอกาสใหมีการ ผูกขาดตลาดแบบกลายๆ ขึ้นมา อีกทั้ง ยังอาจจะทําใหมีการ ตัดราคาสินคาสารสนเทศกันอยางมโหฬารเพื่อดึงดูดลูกคาใหเขาไปเยี่ยมชมเว็บไซทของตน สุดทาย แนวความคิดใหเก็บ คาบริการจากผูบริโภคสื่อบนอินเทอรเน็ตตามจริงจึงไมไดรับการตอบรับจากสมาชิกของอินเทอรเน็ตเทาใดนัก เพราะ สะดวกสูวิธีการเสียคาสมัครแรกเขาครั้งเดียวไมได (อยางฺการคิดคาบริการชมโทรทัศนแบบ pay-per-view ซึ่งเปนสื่อ สารสนเทศแบบงายๆ ไมซับซอน ก็ยังไมไดรับการตอบสนองเทาที่ควรเมื่อเทียบกับการสมัครสมาชิกเคเบิ้ลทีวีทั่วไป) อันนี้สามารถอธิบายไดโดยหลักจิตวิทยาผูบริโภคงายๆ สามขอ ขอแรก ผูบริโภคสวนใหญมักจะรูสึกวา การจายเงินกอนไมมากนักในอัตราตายตัวนั้นปลอดภัย (insurance) กวาการจายตามจํานวนการใชซึ่งอาจจะถูกชารจ คาใชจายพรวดพราดขึ้นไปโดยไมรูตัว ขอสอง ผุบริโภคสวนใหญมักจะประเมินขีดความสามารถในการบริโภคของตนไวสูง กวาความเปนจริง (overestimate) เหมือนพวกสมัครสมาชิกเคเบิ้ลทีวีไวเพราะคิดวาคุมกวาเชาวิดีโอมาชมมากนัก แต ถึงเวลาจริงๆ กลับไมคอยจะมีเวลาหรืออารมณดู หรือพวกที่สมัครสมาชิกสถานที่พักตากอากาศทิ้งไวดวยเหตุผลวาแค เที่ยวสี่/หาครั้งตอปก็คุมแลว แตถึงเวลาจริงๆ กลับไมมีเวลาไปใชบริการเลย และขอที่สาม คือ ผูบริโภคเบื่อที่จะตองมา นั่งตัดสินใจเรื่องความคุมคาทุกครั้งที่จะตองมีการดาวนโหลดขอมูล ในทางกลับกัน การกําหนดมูลคาสินคาสารสนเทศรวมๆ บนอินเทอรเน็ตไวเปนคาสมาชิกแรกเขาตายตัว ไปเลยนั้นก็ดูจะเปนที่ปรารถนาของผูผลิต/จําหนายสินคาสารสนเทศดวยเชนกัน เพราะมันทําใหมีรายไดจากคาสมาชิก แนนอนทั้งยังมักจะใหตัวเงินโดยรวมมากกวา จึงเหมาะกับการบริหารในเชิงธุรกิจ และการตลาด สะดวกกับการกําหนด แผนโปรโมชั่นในลักษณะของสินคาของแถม หรือการจําหนายสินคารวมกันไปเปนชุดเพื่อเพิ่มมูลคา (value-added) ดัง
  • 8. จะเห็นไดจากการจําหนายโปรแกรมสําเร็จรูปที่มักจะรวมกันมาเปนชุด (package) ซึ่งลอใจผูซื้อในแงวาสามารถจะซื้อ โปรแกรมแตละตัวไดถูกลง (ทั้งที่อาจจะไมมีความจําเปนตองใชตัวโปรแกรมที่ถูกแถมมาเทาไร) ในขณะที่ผูจําหนาย โปรแกรมก็มีกําไรมากขึ้น (อยาลืมวา สินคาสารสนเทศนั้นไมมีตนทุนในการผลิตซ้ํา ฉนั้นยิ่งขายโปรแกรมไปเปนชุดไดมาก เทาไรเงินรายไดที่เพิ่มขึ้นมาจากการขายโปรแกรมเดี่ยวๆ ก็ยอมจะหมายถึงผลกําไรลวนๆ) 5 วิธีการรักษาผลประโยชนแบบที่สามของผูผลิต/จําหนายสินคาสารสนเทศ คือ การจําแนกแจกแจงสินคา (differentiate) ของตนใหเหมาะกับกลุมลูกคาปาหมายที่แตกตางกันไป เชน อาจจะแจกแจงสินคาสารสนเทศออกไป เปนหลายเวอรชั่น มีเวอรชั่นสําหรับมืออาชีพ สําหรับผูใชสารสนเทศทั่วไป และสําหรับมือใหม ทํานองเดียวกับหนังสือนว นิยายที่มักจะพิมพออกมาสองรุน รุนแรกปกหนัง พิมพนอยและมีราคาแพงเหมาะสําหรับนักอานประเภทตัวจริงและนัก สะสม โดยมีเหตุผลรองรับอีกอยางคือการไดอานกอนผูอานทั่วไป ซึ่ง อานผลงานรุนเวอรชั่นสอง ที่ใชปกกระดาษออนราคาถูก และพิมพเปน จํานวนมาก แตสินคาสารสนเทศนั้นสามารถแจกแจงประเภท ออกไปไดละเอียดกวาแฟนนิยาย แถมยังมีขอที่เหนือกวาตรงที่หนังสือ นิยายนั้นลูกคาซื้อไปแลวมักจะไมซื้อซ้ํา ในขณะที่สินคาสารสนเทศนั้น สามารถขายลูกคารายเดิมซ้ําไดอีกในรูปของเวอรชั่นอัพเกรด ซึ่งในการ ทําสินคาเวอรชั่นอัพเกรดนั้น ผูผลิต/จําหนายสินคาสารสนเทศก็ยังมีทางเลือกสําหรับการอัพเกรดผลิตภัณฑไดสารพัด ไมวาจะเปนเรื่องของสวนติดตอกับผูใช (user interface) รูปแบบการทํางานใหมๆ (new features) สวนอํานวยความ สะดวก (Customizable utilities) การปรับปรุงรูปแบบการทํางานใหมั่นคงเชื่อถือไดมากขึ้น (security & integrity) หรือการรับรองมาตรฐานสารสนเทศใหมๆ (support) ฯลฯ 6
  • 9. ปญหาในการเลือกบริโภคสินคาสารสนเทศ ปญหาสําคัญที่กําลังเผชิญหนามนุษยทั่วโลกขณะนี้คือ ขีดความสามารถที่จํากัดของมนุษยในการบริโภค สินคาสารสนเทศ เพราะในขณะที่ปริมาณของสารสนเทศบนโลกทบทวีมากขึ้นไปทุกวันในอัตรายกกําลังหรือที่เรียกกันวา เพิ่มขึ้นแบบเอ็กซโปเนเชี่ยลตามกฏของมาลธัส (Malthus's Law) สมรรถนะในการบริโภคสารสนเทศของมนุษยยังคงที่ ในระดับเดิม หรือถาจะเพิ่มขึ้นบางก็นอยมากแถมความเร็วในการบริโภคสารสนเทศที่เร็วขึ้นของมนุษย ยังเปนการเนน ปริมาณมากกวาคุณภาพ ซึ่งดูจะเปนผลเสียมากกวาผลดี ดังที่เฮอรเบิรต ไซมอน เคยพูดไวอยางนาคิดวาขณะที่สินคา ประเภทอื่นถูกบริโภค สินคาสารสนเทศกลับเปนตัวบริโภคเสียเอง มันบริโภคความใสใจ ความสนใจ (attention) ของ ผูรับสื่อ ยิ่งมีปริมาณสารสนเทศมากเหลือเฟอเทาใด ก็จะสงผลใหเกิดความยากจนในเรื่องความใสใจมากขึ้นเทานั้น (wealth information, poverty attention) 4 ซึ่งถาเราเปรียบสารสนเทศเปนเหมือนอาหาร มันก็เทากับวาปริมาณอาหารบนโลกนั้นถูกผลิตมากขึ้นทั้ง ในแงปริมาณและความหลากหลายเปนรอยๆ เทาในแตละวัน ในขณะที่ขนาดกระเพาะของมนุษยยังคงที่เทาเดิม สิ่งที่ ตามมาก็คือมนุษยบางคนอาจจะบริโภคมากขึ้น ถี่ขึ้น แตในขณะที่ปากบริโภคจิตใจอาจจะเกิดภาวะเบื่ออาหารไมคิดจะ อยากกินอะไรหรือสนใจในสิ่งที่ตนกินเลย (ความอยากอาหารของสมองก็คือ ความสนใจ/ใฝรู) หรืออาจจะตองพยายาม แสวงหาอาหารที่ถูกปาก ถูกใจ และมีคุณภาพ ออกจากบรรดาอาหารขยะ (junk food) ที่มีอยูมากมาย ทําใหตองพึ่งพา บริการของหนวยงานแนะนําอาหาร อยางเชลลชวนชิม แมชอยนางรํา หมึกแดงแผลงรส หรือหลักการบริโภคแบบชีวจิต ฯลฯ เมื่อความอยากบริโภค หรือความใสใจ (attention) คือสิ่งที่นับวันจะขาดแคลนมากขึ้นในโลกยุค สารสนเทศ บรรดาผูผลิต/จําหนายสินคาสารสนเทศจึงจําตองหามาตรการตางๆ มาใชแยงชิงความสนใจจากผูบริโภคให
  • 10. ไดมากที่สุด จนในที่สุด มันไมเพียงแตจะแยงความสนใจจากสารสนเทศดวยกันเองเทานั้น แตมันยังแยงชิงความสนใจใน การดําเนินกิจกรรมอื่นๆ ของมนุษยไปดวย ดังจะเห็นไดจากการที่มนุษยสมัยใหมใชเวลากับการบริโภคสารสนเทศมากขึ้น ในแตละวัน ทั้งการอานหนังสือพิมพ การฟงวิทยุ การดูโทรทัศน การเลนเกมสคอมพิวเตอร และการเลนอินเทอรเน็ต ฯลฯ สงผลใหมนุษยบางคนถูกลอ ถูกดึงดูดความสนใจเสียจนแทบจะไมไดออกจากโตะคอมพิวเตอรไปไหนเลย จะกินอาหารก็ใช วิธีสั่งอาหารขยะผานทางอินเทอรเน็ต ฯลฯ ปญหาเรื่องสารสนเทศลนโลกไมไดกอใหเกิดผลกระทบกับบรรดามนุษยดิจิตัลที่ทุมเทความสนใจใหกับ คอมพิวเตอรและสารสนเทศจนหมดความสนใจในกิจกรรมอื่นในชีวิตเทานั้น แตยังสรางผลกระทบโดยกวางออกไปในทุก สวนของสังคม แมแตผูที่มีวิถีชีวิตปรกติแตตองเกี่ยวของอยูกับสารสนเทศก็ยังประสบกับปญหาในแงที่ตองใชเวลาและเงิน ทองไปกับการคนหาขอมูลที่ตนตองการจริงๆ มากขึ้น เพราะยิ่งปริมาณสารสนเทศเพิ่มขึ้นมากเทาใด การคนหาก็จะยิ่ง ยากขึ้นเทานั้น เปรียบเหมือนการคนหาเข็มจากกองเสนฟางที่มีลักษณะลีบๆ ยาวๆ เหมือนกัน ยิ่งกองฟาง (ปริมาณ สารสนเทศโดยรวม) มีขนาดใหญเทาไร การจะหาเข็ม (ขอมูลที่ตองการ) ใหเจอไดก็ยิ่งยากขึ้นเทานั้น อยางไรก็ตาม นับวายังดีที่เปนแคการเปรียบเทียบไมใชการคนหาเข็มในกองฟางจริงๆ เพราะการคนหา ขอมูลนั้นสามารถนําเอามาตรการและกลไกทางตรรกะตางๆ ดาน คอมพิวเตอรมาใชไดอยางสะดวกเพียงแตอาจจะเปลืองเวลาและเงิน ทองในการคนหาขอมูลมากขึ้น ทําใหผูบริโภคตองมีคาใชจายในการ รับบริการขอมูล (transaction cost) เพิ่มขึ้นโดยไมจําเปน ทั้งในแง ของการสืบคน (searching) การประเมินคุณคา (evaluating) และ การจัดหาสินคาสารสนเทศมาบริโภค (purchasing) จนอาจจะกลาว ไดวา ราคาของสินคาสารสนเทศบนอินเทอรเน็ตที่ทุกอยางอาจไดมา ฟรีๆ นั้นอยูที่คาใชจายในการรับบริการนั่นเอง (information is free, transaction is expensive) สมดังที่เคยมีผูกลาวกันอยูเสมอวา "โลกนี้ไมมีอะไรที่จะไดมาฟรีๆ" กระบวนการที่จะไดมาซึ่งสินคาสารสนเทศที่ตองการนั้นแมวาจะดูเหมือนเปนเรื่องยุงยาก แตเมื่อลอง พิจารณาลงไปใหลึก มันก็ดูจะไมแตกตางไปจากวิธีการที่เราซื้อหาสินคาประเภทที่สามารถจับตองสัมผัสไดสักเทาใดนัก คือเวลาที่ตองการซื้อหาสินคาสักชิ้น ผูซื้อสินคาสวนใหญก็นิยมใชวิธีไปติดตอกับผูคาที่คุนเคย มีชื่อเสียงอันเปนที่ยอมรับได วานาจะจัดหาสินคาคุณภาพมาสงใหเราไดในราคาที่ไมแพง ซึ่งผูคาลักษณะที่วานั้นไดแกบรรดากิจการหางสรรพสินคาชื่อ ดังทั้งหลายนั่นเอง เพราะการซื้อสินคาจากหางดีๆ ยอมจะทําใหผูซื้ออุนใจวามีการรับประกันคุณภาพในระดับหนึ่ง อยาง นอยก็สามารถเปลี่ยน/คืนสินคาที่มีปญหาได ไมเหมือนกับการซื้อหาสินคาตามแผงลอยขางถนน การซื้อขายสินคาสารสนเทศผานอินเทอรเน็ตนั้นก็มีลักษณะเชนเดียวกัน คือ สมาชิกอินเทอรเน็ตสวน ใหญมักจะติดตอเขาไปยังเว็บไซทที่มีชื่อเสียงและคุนเคยเปนอันดับตนๆ โดยเว็บไซทประเภทนี้ก็จะทําตัวเสมือนหนึ่งเปน หางสรรพสินคาสารสนเทศที่คอยจัดหาสินคาที่คิดวาจะถูกใจผูบริโภคมานําเสนอ ตลอดจนกระทั่งมีการโปรโมชั่นเพื่อผล ในการชวงชิงลูกคา ไมตางไปจากหางสรรพสินคาจริงๆ เลย (มีศัพทเฉพาะสําหรับเรียกเว็บไซทประเภทนี้ วา Portal websites เพราะทําตัวเหมือนเปนทางผาน หรือ port ไปยังเว็บไซทอื่นๆ ที่เกี่ยวของ) 7 เอกสารอางอิง 1. Varian HR., Markets for Information goods (http://www.sims.berkeley.edu/~hal/people/hal/papers.html)
  • 11. 2. Morris-Suzuki T., Capitalism in the Computer age and afterward., Cutting Edge : Technology, Information Capitalism and Social Revolution, London. UK : Verso, 1997 3. David J,. Stack M., The Digital Advantage Cutting Edge : Technology, Information Capitalism and Social Revolution, London. UK : Verso, 1997 4. Kelly K., New Rules for the New Economy London, UK : Fourth Estate 1998 5. Fishburn P., Oklyzko AM., Siders RC., Fixed fee versus unit pricing for information goods : compettition, equilibria and price wars, First Monday 1997; 2(7) (http://www.firstmonday.dk/issues/issue2_7/odlyzko/) 6. Shapiro C., Varian HR., Information rules : a strategic guide for the network economy. Cambridge, Mass: Harvard Business School Presss, 1998 7. Enrico Coiera, Information Economics and the Internet. JAMIA 7 : 215 –221 (http://www.jamia.org/cgi/content/full/7/3/215)