SlideShare a Scribd company logo
1 of 80
Download to read offline
ง43102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 3
                      (การออกแบบผลิตภัณฑ)
                      โรงเรียนทาตูมประชาเสริมวิทย
                      อ.ทาตูม จ.สุรินทร




รหัสประจําตัว             เลขที่
ชื่อ-สกุล
ชั้นมัธยมศึกษาปที่   /
อีเมล
คํานํา

                  หลักสูตรการศึกษาขั้นพืนฐานพุทธศักราช 2544 มุงพัฒนาผูเรียนใหสมบูรณและ
                                           ้
สมดุลทั้งดานจิตใจ รางกาย สติปญญา อารมณและสังคมโดยมุงเนนในการพัฒนาใหเปนผูมีความรู
ความสามารถทั้งดานวิชาการวิชางาน และวิชาชีวิต เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมี
ความสุข พึ่งตนเองได อยูรวมกับผูอื่นไดอยางสรางสรรค พัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม ความคิด
ริเ ริ่มสรางสรรคเป นความสามารถในการมองเห็นความสัมพัน ธของสิ่งตางๆ โดยมีสิ่งเราเปน
ตัวกระตุน ทําใหเกิดความคิดใหมตอเนื่องกัน ซึ่งความคิดสรางสรรคประกอบดวย ความคลองใน
การคิด ความคิดยืดหยุน และความคิดที่เปนของตนเองโดยเฉพาะหรือเรียกวาความคิดสรางสรรค
นั้นเอง ทั้งนี้เทคโนโลยีเปนสิ่งหนึ่งที่ไดนําความรู ทักษะ และทรัพยากรมาสรางสิ่งของเครื่องใช
หรือวิธีการ โดยผานกระบวนการเพื่อแกปญหาสนองความตองการหรือเพิ่มความสามารถของ
การทํางานของมนุษย
                  โปรแกรม Pro/DESKTOP เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรทางการศึกษาที่ใชเปนสื่อ
สอนนักเรียนในเรื่องการออกแบบและสรางงานสามมิติ โดยสามารถนํามาใชในการสรางชิ้นงานที่
เกิดจากความคิดสรางสรรคของผูเรียนเปนสามมิติเสมือนจริง หากนักเรียนไดเรียนอยางมีความรู
ความเขาใจและมีทักษะในการใชโปรแกรม Pro/ DESKTOP แลว สามารถที่จะใชเปนแนวทางใน
การประกอบอาชีพในอนาคตซึ่งไดแกการสรางชิ้นงานการออกแบบผลิตภัณฑในเชิงธุรกิจ อีกทั้ง
ยังชวยสนับสนุนโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) และอาจกาวไกลพัฒนาตนเองเปน
วิศวกรนักออกแบบผลิตภัณฑและนักเทคโนโลยีในอนาคตตอไปได
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พิจารณาเห็นวา โปรแกรม
Pro/DESKTOP เหมาะสําหรับใชเปนสื่อสอนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย
จึงขอขอบคุณบริษัท PTC (Parametric Technology Corporation) วิทยากรที่ใหการอบรม
คณะทํางาน และผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทานมา ณ โอกาสนี้




                                                      คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา
                                                  เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คําชี้แจง

         คูมอการฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOPเลมนี้ แบงออกเปน 3 สวน
             ื

         สวนที่ 1 บทนํา
                    เปนการชี้แจงทั่ว ๆ ไป เกี่ยวกับโปรแกรมและการนําไปใชในโรงเรียน
         สวนที่ 2 แบบฝกปฏิบัติการใชงานโปรแกรม
                   เป น แบบฝ ก ปฏิ บั ติ ก ารใช ง านโปรแกรมจากง า ยไปหายาก ซึ่ ง เป น แบบฝ ก
ประกอบการฝกอบรม หรือฝกปฏิบัติดวยตนเอง
         สวนที่ 3 แนวการฝกอบรมขยายผล (ภาคผนวก)
                  เปนขอเสนอแนะในการฝกอบรมขยายผลการใชงานโปรแกรมระดับโรงเรียน
หลักสูตรการฝกการอบรม และขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการฝกอบรม
ระดับโรงเรียน
         การนํ าไปใช งาน คณะทํ า งานมีจุ ด ประสงค ที่ จ ะให เ อกสารเล มนี้เ ป น ทั้งคู มือวิท ยากร
ฝกอบรม และเปนคูมือการใชงานโปรแกรมไปดวย (สวนที่ 2) สําหรับการนําไปใชจริงหรือเปน
คูมือในการสอนของครู จะตองนําไปวางแผนใหเหมาะสมกับรูปแบบที่โรงเรียนนําโปรแกรมนี้เขา
ไปในหลักสูตร ในลักษณะตาง ๆ ตามที่ชี้แจงไวในบทนํา และอาจจะตองเลือกแบบฝกปฏิบัติ
จากตอนที่ 2 ไปใชงานตามความเหมาะสม
         หวังวาเอกสารฉบับนี้ จะเกิดประโยชนตอการปฏิบัติงานทุกระดับและสิ่งที่เปนตามความ
คาดหวังสุดทาย คือ นักเรียนรุนใหมมีความคิดสรางสรรค จินตนาการ มีทักษะในดานคิดใหม ทํา
ใหม และมีทักษะทางดานคอมพิวเตอรอยูในระดับมาตรฐานสากล



                                                               คณะทํางาน
สารบัญ

คํานํา                                                            หนา
คําชี้แจง
บทนํา
เรื่อง
แถบเครื่องมือใน Pro/DESKTOP 2003
          แถบเครื่องมือมาตรฐาน                                     1
          แถบเครื่องมือสรางและปรับปรุงรูปทรง                      1
          แถบเครื่องมือมุมมอง                                      1
          แถบเครื่องมือควบคุม                                      2
          แถบเครื่องมือออกแบบ                                     2
          คียลัดที่ใชใน Pro/DESKTOP                             3
          แถบเครื่องมือในหนาตาง Engineering Drawing             5
          คําสั่งปกติ General Commands                             6
          เพิ่มเติมการใชเมาสรวมกับโปรแกรม                       7
เริ่มตนใชงาน                                                     8
พื้นที่ทํางาน                                                      8
แบบฝกที่ 1 การสรางวัตถุทรงตัน : Solid Objects                   12
แบบฝกที่ 2 การตัดมุมที่มลักษณะมนกลม : Round Edges
                                ี                                 13
แบบฝกที่ 3 การตัดมุมที่มลักษณะมนกลมทั้งสองขาง : Round Edges
                              ี                                   14
แบบฝกที่ 4 การตัดมุมของรูปสี่เหลี่ยม : Chamfer Edges             15
แบบฝกที่ 5 การปรับเปลี่ยนและเจาะวัตถุทรงตัน : Solid Objects      17
แบบฝกที่ 6 การทํารูปโครงรางใหมีมติ : Thin
                                       ิ                          19
แบบฝกที่ 7 การสรางภาชนะรูปแกว : Revolve Profile                20
แบบฝกที่ 8 การสรางรูปทรงเกลียว (สปริง) : Alogn Helix            22
แบบฝกที่ 9 การสรางของอและเจาะรู                                23
แบบฝกที่ 10 การสรางชิ้นสวนของเครื่องจักร : Machined Part       24
แบบฝกที่ 11 การตัดมุมวัตถุ : Round Edges Variable                27
แบบฝกที่ 12 การประกบชินงาน : Angular “Joining” of Steel/Timber
                                  ้                               29
แบบฝกที่ 13 การสรางชิ้นงานลักษณะบานพับ                          30
เรื่อง                                                       หนา

แบบฝกที่ 14 การสรางรูปแบบอิฐบลอก                           31
แบบฝกที่ 15 การออกแบบลูกกุญแจ                                32
แบบฝกที่ 16 การสรางรูปทรงเกียรอยางงาย (Gear Simple)      34
แบบฝกที่ 17 การสรางแกลลอนพรอมที่จับแบบเจาะ                 36
แบบฝกที่ 18 การสรางกลองและฝาบานพับ                         40
แบบฝกที่ 19 การทํา Lofting Through Profiles                  44
แบบฝกที่ 20 การสรางโตะโดยใช Round Edges Variable Radius   47
แบบฝกที่ 21 การสรางรูปแบบการเคลื่อนไหว : Animation          49
ภาคผนวก
      แนวการฝกอบรมขยายผล                                     ผ-1
      ตัวอยาง ตารางการฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP    ผ-4
      แนวทางการนําไปใชเปนสื่อสําหรับการสอนแบบบูรณาการ       ผ-5
      คณะทํางานจัดทําคูมือ                                   ผ-7
      บรรณาธิการกิจ                                           ผ-8
      ที่ปรึกษา                                               ผ-8
บทนํา

     โปรแกรม Pro/DESKTOP คืออะไร

         Pro/DESKTOP เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรทางการศึกษาที่ใชสอนนักเรียนในเรื่องการออกแบบ
และสรางงาน 3 มิติ ซึ่งโปรแกรมคอมพิวเตอร Pro/DESKTOP นี้งายตอการใชงาน และมีความเหมาะสม
ตอการเรียนรูของนักเรียน โดยสามารถนําโปรแกรม Pro/DESKTOP มาเปนเครื่องมือในการออกแบบ
และสรางชิ้นงานที่เกิดจากความคิดสรางสรรคของนักเรียนเอง ซึ่งการสรางชิ้นงานสามารถมองเห็น
ชิ้นงานเปน 3         มิติเสมือนจริง อีกทั้งนักเรียนสามารถเรียนรูและเขาใจการสรางสรรคช้ินงาน และ
ออกแบบผลิตภัณฑในเชิงการตลาด หากนักเรียนมีความรู ความเขาใจและทักษะในการใชโปรแกรม
Pro/DESKTOP มากขึ้นจะเปนแนวคิดและมองเห็นชองทางในการประกอบอาชีพในอนาคต เปนวิศวกร
นักออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม และนักเทคโนโลยี เปนตน
         โปรแกรม Pro/DESKTOP นี้เหมาะสําหรับใชสอนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา วิทยาลัยและ
มหาวิทยาลัย ซึ่งใชเวลาในการศึกษาเรียนรูเพียง 2-3 สัปดาหก็สามารถทําความเขาใจไดเปนอยางดี
สําหรับการเรียนการสอนเพื่อใชในการสรางชิ้นงาน/โครงงานของนักเรียน จะใชเวลาเพียง 2-3 ชั่วโมง
ก็จัดสรางชิ้นงานขั้นพื้นฐานไดเปนอยางดี อีกทั้งนักเรียนสามารถนําโปรแกรม Pro/DESKTOP นี้ไปใช
และฝ ก ปฏิ บั ติ ง านที่ บ า นได ด ว ยตนเอง ซึ่ ง จะทํ า ให นั ก เรี ย นเกิ ด ความชํ า นาญในการใช โ ปรแกรม
Pro/DESKTOP เพิ่มขึ้น

     โปรแกรม Pro/DESKTOP ทําอะไรไดบาง

             โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถใชฝกทักษะและสรางสรรคผลงานตาง ๆ เชน
             1. การออกแบบโครงรางชิ้นงาน
             2. การทํารูปทรง 3 มิติ ตาง ๆ
             3. การออกแบบทางดานวิศวกรรม สถาปตยกรรม
             4. การออกแบบผลิตภัณฑตาง ๆ
             5. การออกแบบชิ้นงาน Animation
             6. การจัดทําภาพฉาย (Projection)

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop 8.0                                                                                                                            ข


                    ฯลฯ
    โปรแกรม Pro/DESKTOP เขามาสูวงการศึกษาประเทศไทยไดอยางไร

          เมื่อปลายปงบประมาณ 2546 บริษัท PTC U.S.A. ไดติดตอมายังกระทรวงศึกษาธิการ
เพื่อมอบโปรแกรม Pro/DESKTOP พรอมลิขสิทธิ์ใชงานสําหรับนักเรียนไทยในระดับมัธยมศึกษา โดยมี
นายพงศศักดิ์ รักตพงษไพศาล (ผูชวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น) เปนผูรับฟงการ
นําเสนอศักยภาพของโปรแกรม จากนั้นคณะเขาพบ พณฯนายกรัฐมนตรี เพื่อมอบโปรแกรมดังกลาวไวใช
ประโยชนพรอมทั้งมีวิทยากรชาวตางประเทศสาธิตการใชโปรแกรมภายใตการตรวจรับโดยผูเชี่ยวชาญ
ดาน IT จากหนวยงานตาง ๆ
          โปรแกรม Pro/DESKTOP มี 2 ระดับ คือ โปรแกรมที่ใชในระดับมัธยมศึกษา และระดับ
มหาวิทยาลัย ซึ่งประเทศไทยไดรับมอบโปรแกรม Pro/DESKTOP เพื่อการใชงานฟรี จํานวน 20 ชุด
สําหรับระดับมัธยมศึกษา โดยอนุญาตใหนักเรียนไทยทุกคนใชได โดยไมมีขอจํากัด ยกเวนถานําไปใชใน
เชิงธุรกิจ
          ผูเชี่ยวชาญหลายทานไดใหขอคิดเห็นวา โปรแกรม Pro/DESKTOP มีรูปแบบการใชงานที่งายตอ
การเรียนรู เหมาะกับการเรียนในระดับมัธยมศึกษา นาจะขยายผลการใชงานใหครอบคลุมทั้งประเทศ
ผนวกกับขณะนี้ ทางโครงการโรงเรียนในฝนกําลังตองการเครื่องมือในการผลิตสื่อใชงาน จึงเห็นพองกัน
วาโปรแกรม Pro/DESKTOP                นี้ นาจะเปนทางเลือกหนึ่งของโครงการโรงเรียนในฝน จึงไดจัดการ
ฝ ก อบรมนํ า ร อ งให กั บ คณะศึ ก ษานิ เ ทศก และครู จํ า นวน 38     คน เพื่ อ ทดลองใช โ ปรแกรม
Pro/DESKTOP โดยมีวิทยากรชาวตางประเทศ ใหการฝกอบรม กอนที่จะขยายผลไปยังโรงเรียนอื่น ๆ
ทั่วประเทศ

    ความตองการดาน Hardware ขั้นต่ํา
             คูมือการใช โปรแกรม Pro/DESKTOP ไดกาหนดคุณสมบัติของ Hardware ขั้นต่ําไวดังนี้
                                                    ํ
             - เพนเทียมอินเทลขั้นต่ํา 166 MHz หรือสูงกวา
             - หนวยความจําขั้นต่ํา 64 MB
             - ที่วางของฮารดดิสก 80 MB (สําหรับโปรแกรม)
             - มีที่วางอิสระในโฟลเดอร TEMP ระหวางการะบวนการติดตั้ง 110 MB


________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop 8.0                                                                                                                            ค


             - ไมโครซอฟต Windows 98, Me, 2000, XP, NT 4.0
  ขอเสนอแนะจากการทดลองใชโปรแกรม

        1. Window 98 จากการทดลองใชงาน โปรแกรมนี้จะทํางานไดดี บน RAM ตั้งแต 128 MB
และมีความจําการดจอ 16 MB ขึ้นไป หากตองการใชงานโปรแกรมอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ควรใช 32
MB ขึ้นไป
        2. Windows XP ควรจะมี RAM ไมนอยกวา 256 MB
        3. ในกรณีเครื่องมีขีดความสามารถต่ํา ใหปดหนาตางที่ไมใชงาน ใหคงเหลือหนาตางที่กําลัง
ทํางานปจจุบัน จะชวยแกปญหาไดบาง

    จุดเดนของโปรแกรม Pro/DESKTOP

          โปรแกรม Pro/DESKTOP งายตอการใชงานพอสมควร และสามารถฝกทักษะดานกระบวนการ
คิดสรางสรรคไดเปนอยางดี อีกทั้งผูใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP ไดศึกษาและฝกทักษะใหมีความ
ชํานาญและเชี่ยวชาญ ก็จะสามารถนําโปรแกรม Pro/DESKTOP ไปใชในการออกแบบตาง ๆ ใน
ชี วิ ต ประจํ า วั น และประกอบอาชี พ ได โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง เมื่ อ ออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ หรื อ ชิ้ น งานเสร็ จ
เรียบรอยแลว โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถแสดงภาพฉายของชิ้นงานใหดวย ซึ่งผูสรางชิ้นงานไม
ตองเขียนภาพฉายอีก
          นอกจากนี้ ยังสามารถออกแบบ Model ที่แสดงภาพการเคลื่อนไหว หรือลักษณะการใชงานของ
Model นั้น ๆ ไดดวย

  ขอคิดจาก Ivan Chester ( MindustrailEd Newcastle, Director of Studies, Bachelor Of
Technology Education, Australia) วิทยากรผูฝกรมรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop

      Ivan ไดเสนอขอคิดเห็นบางประการตอกระทรวงฯ และครูเกี่ยวกับการฝกอบรมโปรแกรม CAD
ในฐานะที่ Ivan เปนผูสนใจในงานวิจัยทางดานการเรียนรู (Cognitive research) เกี่ยวกับการสอน CAD
และการแกปญหา


________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop 8.0                                                                                                                            ง


          ผลการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู (การคิด) แสดงใหเห็นวาการแกปญหาที่ซับซอนเกิดขึ้นไดโดย
การสรางภาพความคิด (การคิดในภาพที่สรางขึ้นมาในใจ) ในการแกปญหา ความสามารถในการสราง
ภาพความคิดของนักเรียนมีหลายแนวทาง และคาดหวังวาการใชโมเดล 3 มิติ เชน จากโปรแกรม
Pro/Desktop เปนตน จะสามารถแกปญหานี้ของนักเรียนได ซึ่งผลการวิจัยปจจุบันยังไมมีในเรื่องนี้
(Ivan ไดทํางานเกี่ยวกับเรื่องนี้มาพอสมควรและเชื่อวายังไมมีการวิจัยในเรื่องนี้ เพราะสวนมากศึกษากับ
กลุมเปาหมายที่มีอายุมากกวาวัยนักเรียน และ นักศึกษากับกลุมวิศวกรและสถาปนิกเปนสวนใหญ ซึ่งเปน
กลุมที่ตองสรางภาพความคิด ขึ้นมาใชในการทํางานอยูแลว) คุณ Ivan ไดศึกษาเอกสารและงานวิจัย
เกี่ยวกับภาพความคิดเพื่อที่จะหาแนวทางที่จะแกปญหานักเรียน โดยการใชการสรางภาพความคิดในการ
สอน Pro/Desktop และการแกปญหาที่ซับซอน ตลอดชวง 6 เดือนที่ผานมา และคุณ Ivan พบวา มียุทธวิธี
5 อยาง ที่จะแกปญหาการสรางภาพความคิดไดดังนี้
          1. การสรางรูปแบบกระบวนการคิด เปนสิ่งสําคัญในการสอนเริ่มตนและสําคัญมากขึ้นในการ
แกปญหา
          Ivan ดําเนินการโดยการเลาใหนักเรียนทั้งชั้นฟงถึงยุทธวิธีที่ใชแกปญหาจากนั้น save งาน
ตนแบบ แลวสาธิตวิธีการแกปญหาใหนักเรียนดู ซึ่งวิธีการนี้จะทําใหนักเรียนที่เพิ่งเริ่มตนเรียนรูเขาใจ
วิธีการแกปญหาที่ครูใช ฝกฝน และกลายเปนผูที่สามารถแกปญหาดวยตนเองไดในที่สุด
          2. การสเก็ตช (sketching) การสเก็ตชจะชวยใหนักเรียนสรางภาพจิตนาการขึ้นมาในความทรงจํา
และใชภาพ sketch นี้คิดเกี่ยวกับความเปนไปไดที่จะทําตอไป รวมทั้งกอใหเกิดภาพ sketch อื่น ๆ อีก และ
ความสามารถในการจัดภาพ sketch ที่ซับซอน (มีภาพ sketch หลาย ๆ ภาพ) อีกดวย
          Ivan ใชการ sketch โดยใหนักเรียน sketch รูปรางในทิศทางที่แตกตางจากที่ครูสอนในแตละ
feature เชน extrude, thin or taper เปนตน จากนั้นใหนักเรียนถายภาพวัตถุของจริง แลวถามนักเรียนให
บอกวิธีการที่จะสราง model ตนแบบของวัตถุจริงนั้นขึ้นมา ซึ่งตรงนี้นักเรียนจะสามารถระบุไดวาสวนใด
ที่ตอง extrude สวนใดตอง loft สวนใดตอง revolve เปนตน จากนั้นนักเรียนจะทําการ sketch ใน
workplane และวาดรูปรางของแตละ sketch ที่นักเรียนตองการสราง กระบวนการนี้เกิดขึ้นเร็วมากในการ
สราง model ใน ProDesktop และ ทําใหเกิดการคิดและภาพความคิดขึ้นมาไดดี
          3. การเรียนรูแบบรวมมือ ผูเรียนที่มีสวนรวมในการแกปญหาในกลุมสามารถเรียนรูกระบวนการ
คิดไดดีกวา โดยการเรียนรูวิธีการแกปญหาของนักเรียนคนอื่น และ เลือกวิธีการแกปญหาการเรียนรูที่
เหมาะสมกับตนเองมากที่สุด
          4. การอธิบายวิธีการแกปญหาใหผูอื่นฟง การใหนักเรียนอธิบายใหเพื่อน ๆ ในกลุมฟง ถึง

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop 8.0                                                                                                                            จ


วิธีการใช model ใหไดผลดีมากขึ้นในสถานการณตาง ๆ กระบวนการอธิบายนี้มีประสิทธิภาพโดยตัวของ
มันเอง อยูแ ลว การฟงยุทธวิธีของผูอื่นก็เช นเดียวกัน ทั้งการอธิบายและการฟงจะทํ าใหนักเรีย น
จินตนาการจาก คําอธิบาย ซึ่งจะชวยแกปญหาความสามารถในการสรางภาพความคิด และ การอธิบาย
ยุทธวิธีจะชวยใหเกิดการปรับปรุงใหดีขึ้นในโอกาสตอไป
          5. การใหขอมูลยอนกลับในทันที การใหขอมูลยอนกลับในทันทีจะชวยใหนักเรียนปรับความคิด
ใหถูกตอง เมื่อนักเรียนอธิบายยุทธวิธีในการสราง model ของรูปภาพอื่น ๆ ครูอาจจะถามนักเรียนคนอื่น
เพื่อที่จะชวยเหลือและครูก็คอยแนะนํา ทั้งตอนักเรียนแตละคน หรือตอนักเรียนทั้งชั้น นอกจากนี้ยังเปน
การใหโอกาสในการพัฒนาวิธีการที่ดีที่จะระบุความเปนไปไดในการทํา mirror, copy, scale
          Ivan คิดวาเปนสิ่งสําคัญในการทําเทคนิคเหลานี้เขามาใชในการฝกอบรม Pro/Desktop ใน
ประเทศไทย ผลการวิจัย CAD ชี้ใหเห็นวาการใชคําสั่งของ CAD เชน นี่คือวิธีการ extrude เปนตน ไมใช
วิธีการที่จะใชซอฟตแวรอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด Ivan เชื่อวามันไมใชวิธีการที่จะสงเสริมความสามารถ
ในการสรางภาพความคิด และการแกปญหาที่ซับซอนดวย ดังนั้นเพื่อให การแกปญหาความสามารถใน
การสรางภาพความคิดและการแกปญหาที่ซับซอน โดยการใช Pro/Desktop เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
ควรใชเทคนิควิธีการที่ Ivan นําเสนอนี้สอดแทรกเขามาใชดวย รวมทั้งวิจัยติดตาม ผลการใชเทคนิค
วิธีการนี้ในการฝกอบรม Pro/Desktop ที่มีตอความสามารถทั้ง 2 อยางของนักเรียนดวย

    แนวทางในการนําโปรแกรม Pro/DESKTOP ใชในโรงเรียน

         จากขีดความสามารถของโปรแกรม Pro/DESKTOP และลักษณะของโปรแกรมที่เหมาะกับการ
ฝกทักษะกระบวนการทางความคิดสรางสรรคของนักเรียน และสามารถใชเปนเครื่องมือของครูในการ
สรางสื่อการเรียนการสอนรายวิชาตาง ๆ ที่กลาวมาแลวนั้น หากมีการนําไปเผยแพรในโรงเรียน ควร
กําหนดจุดประสงคของการนําไปใช ดังนี้

        1. เพื่อใชเปนเครื่องมือสําหรับฝกความคิดสรางสรรคสําหรับนักเรียนทุกระดับ
        2. เพื่อใหนักเรียนมีทางเลือกในการเรียนวิชาประเภทกราฟกสําหรับการออกแบบ
ผลิตภัณฑ และนําไปใชในชีวิตประจําวันไดจริง สามารถพัฒนาไปสูทักษะชั้นสูง นําไปสูข้นอาชีพจริงได
                                                                                      ั
        3. เพื่อใหครูผูสอน ทุกกลุมสาระ นําไปเปนเครื่องมือในการจัดทําสื่อการเรียนการสอน เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรูในสาระวิชานั้น ๆ ไดดีขึ้น

________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop 8.0                                                                                                                            ฉ




   โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถนําไปไปใชสอนในกลุมสาระการเรียนรูใดบาง

        โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถจะนําไปใชสอนในกลุมสาระพื้นฐาน สาระเพิ่มเติม และ
กิจกรรมการเรียนรู ดังนี้
             1. เปนสวนหนึ่งของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีทุกชวงชั้น
             2. เปนสวนหนึ่งของกลุมสาระเพิ่มเติมโดยใหนักเรียนเลือกตามความสนใจ
             3. จัดเปนกิจกรรมสนใจของนักเรียน เชน ชมรม ชุมนุมตาง ๆ
             4. จัดการเรียนรูแบบบูรณาการเขากับกลุมสาระอื่น ๆ เชน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร
เขียนแบบ การออกแบบผลิตภัณฑ ฯลฯ โดยระบุอยูในแผนการจัดการเรียนรู และใหใชโปรแกรมนี้เปน
สื่อในการออกแบบ รายงาน และนําเสนอ เปนตน

                อยางไรก็ตามคณะทํางานขอเสนอเปนหลักการวา โปรแกรม Pro/DESKTOP นี้เปน
โปรแกรมกราฟฟกชนิดหนึ่ง เชนเดียวกับโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใชเปนเครื่องมือ หรือ สื่อการเรียนการสอน
คอมพิ ว เตอร เพื่ อ ฝ ก ทั ก ษะความสามารถทางด า นคอมพิ ว เตอร ทั่ ว ไป ให พิ จ ารณาเลื อ กใช ส ว นที่ ดี
ที่เหมาะสม โดยเฉพาะอยางยิ่งการฝกกระบวนการความคิดสรางสรรค สวนทักษะขั้นสูงที่สามารถจะ
ออกแบบผลิตภัณฑไดจริง ควรจะเปนทางเลือกใหนักเรียนไดเลือกเรียนในสาระเพิ่มเติม หรือกิจกรรม
สนใจ




________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0                                                                                                                          1
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________




แถบเครื่องมือใน Pro/DESKTOP 2001
                                                                                                           Update Design
แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbar)




แถบเครื่องมือสรางและปรับแตงรูปทรง (Features Toolbar)
      Project            Sweep Profile               Round
      Profile
                                                                        Shell             Draft Faces
                         Along Profile               Edges



                                                                                                    Use Components


Extrude              Revolve              Hole             Chamfer



แถบเครื่องมือมุมมอง Views Toolbar
                                                                                             ViewPoin
                                                 Autoscale              Zoom In
                         Enhance                 Selection                                                                                Free Rotate
    Shaded                                                                                              Previous Views


                                                                                                                                             Tumble
 Wire                Transparent                       Autoscale                                                                                 Isometri
Frame
                                  Section View                       View Onto
                                                                                                                                           Trimetric
                                                                     Workplane

                                                                             Plan                                                         View Onto
                                                                                                                                          Face
                                                                                                                 Front
                                                                                        Right




______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0                                                                                                                          2
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________



แถบเครื่องมือควบคุม Constraints Toolbar
                                      Perpendicular                  Tangent                                 Toggle Fix Lines
                                                                                          Equal



                                                                                                                             Constraints
                                                            Colinear                            Concentric                   Inspector
                                  Parallel
                                                                                     Equal
                                                                                     Radius


      แถบเครื่องมือออกแบบDesign Toolbar                                                  Browser Pane


                                                            Select Lines
   Select
   Constraints


   Select Edges
                                                             Select
                                                             Workplanes
                                                                                                                                     Workplane


       Select                                                                                                         Active Sketch
       Features                                              Select Faces



                                                              Select Parts

       Straigh

                                                              Circle
     Rectangle


                                                             Ellipse

       Arc/Fillet
                                                              Spline

       Delete Line
       Segment                                               Sketch
                                                             Dimension




______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0                                                                                                                          3
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________



คียลัดที่ใชใน Pro/DESKTOP 2000i2
     Menu                            Command                                        ความหมาย                         Button                  Hot Keys
เสน                      Straight                                        ลากเสนตรง                                                   S
Line                      Circle                                          สรางวงกลม                                                   C
                          Rectangle                                       สรางรูปสี่เหลี่ยม                                           R
                          Ellipse                                         สรางรูปวงรี                                                 I
                          Arc                                             สรางเสนโคง                                                T
                          Spline                                          สรางเสนโคงอิสระ                                           B
                          Delete Segment                                  ลบเสน                                                       D
                          Toggle Construction                                                                                          Crtl + G
                          Toggle Sketch Filled                                                                                         Ctrl + Shift + F
                          Toggle Sketch Rigid                                                                                          Ctrl + Shift + R
ควบคุม                    Dimension                                       ขนาด                                                         Z
Constraint                Parallel                                        วางขนาน
                          Perpendicular                                   วางตั้งฉาก
                          Collinear                                       วางอยูบนเสนตรงเดียวกัน
                          Tangent                                         สัมผัสที่จุดเดียวกัน
                          Concentric                                      มีจุดศูนยกลางรวมกัน
                          Equal Length                                    ความยาวเทากัน
                          Equal Radius                                    รัศมีเทากัน
                          Toggle Fixed                                                                                                 Ctrl + F
                          Toggle Reference                                                                                             Ctrl + R
                          Inspector             ขยาย
Select                    Lines                 เลือกเสน                                                                              L
                          Constraints           เลือกขนาดควบคุม                                                                        N
                                           Design Commands
Feature                   Extrude Profile       การสรางความหนางาน
                                                โดยการยืด
                          Project Profile       การตัดชิ้นงานโดยการยืด
                          Revolve Profile       การสรางเนื้องานแบบ
                                                หมุนรอบแกน
                          Sweep > Sketch Path   การสรางเนื้องานตามแนว
                                                เสนนําทาง
                          Insert Holes          เจาะรู
                          Round Edges           ทําเหลี่ยมใหมน

______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0                                                                                                                          4
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________



                          Chamfer Edges                                   ทําขอบเหลี่ยม
                          Shell Solids                                    ทําชุดผิวตามตามผนังงาน
                          Draft Faces                                     สรางผิวงานเอียง

                                                                                                                                                           Hot
      Menu                             Command                                    ความหมาย                                 Button
                                                                                                                                                           Keys
                             Use Component                                เลือกชิ้นสวนที่ประกอบ
                             Update Design                                ปรับปรุงการแสดงผล                                                            F5
                                                                          หลังจากแกไข
                             Update & Propagate                                                                                                        Ctrl + F5
Tools                        Components Browser                                                                                                        Shift + C
                             Features Browser                                                                                                          Shift + E
                             Workplanes Browser                                                                                                        Shift + K
Workplane                    New Workplane                                                                                                             Ctrl + L
                             New Sketch                                                                                                                Ctrl + K
                             Hide Other Sketches                                                                                                       Ctrl + H
Select                       Workplanes                                   เลือก Workplanes                                                             W
                             Edges                                        เลือกขอบ                                                                     E
                             Faces                                        เลือกพื้นผิว                                                                 F
                             Features                                     เลือก Features                                                               A
                             Parts                                        เลือกเฉพาะสวน                                                               P
                             Add Connected Lines                                                                                                       Ctrl + E
                             Synchronize Browser                                                                                                       Shift + B




______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0                                                                                                                          5
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________



แถบเครื่องมือในหนาตาง Engineering Drawing
                                                               Drawing Commands
Select                      Annotations                                                                                        A
                            Features                                                                                           F
                            Views                                                                                              V
                            Add Connected Lines                                                                                Ctrl + E
                            Synchronize Browser                                                                                Shift + B

Center Line                 Common Plane
                            Common Axis
                            Mid-Plane
                            Pitch Circle
                            Center Points
                            Phantom Intersection
Dimension                   Linear
                            Angular
                            Diametric
                            Radial
                            Note
                            Geometric Tolerance
                            Datum Feature
                            Design Variables
                            Surface Finish
                            Part Reference Balloon
                            Insert Callout Note                                                                                Insert
                            Move Callout                                                                                       Arrows
                            L/R/Up/Down
                            Start New Line                                                                                     Enter
                            Shoulder Right                                                                                     Ctrl + Right Arrow
                            Shoulder Left                                                                                      Ctrl + Left Arrow
Drawing                     Update Views                                                                                       F5
                            New Sketch                                                                                         Ctrl + K
                            Hide Other Sketches                                                                                Ctrl + H
Table                       Cycle Row Up                                                                                       Shift + Up Arrow
                            Cycle Row Down                                                                                     Shift + Down
                                                                                                                               Arrow
                            Cycle Column Left                                                                                  Shift + Left Arrow
                            Cycle Column Right                                                                                 Shift + Right
                                                                                                                               Arrow



______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0                                                                                                                          6
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________



                                                  คําสั่งปกติ General Commands
  File                            New                                                                                          Ctrl + N
                                  Open                                                                                         Ctrl + O
                                  Save                                                                                         Ctrl + S
                                  Print                                                                                        Ctrl + P
  Edit                            Undo                                                                                         Ctrl + Z
                                  Cut                                                                                          Ctrl + X
                                  Copy                                                                                         Ctrl + C
                                  Paste                                                                                        Ctrl + V
                                  Delete                                                                                       Delete
                                  Select All                                                                                   Ctrl + A
                                  Duplicate                                                                                    Ctrl + D
                                  Properties                                                                                   Alt + Enter
                                  Pick Up Properties                                                                           Ctrl + Shift + C
                                  Apply Properties                                                                             Ctrl + Shift + V

  View                            Auto Scale                                                                                   Shift + A
                                  Auto scale Selection                                                                         Shift + S
                                  Half Scale                                                                                   Shift + H
                                  Zoom In                                                                                      Shift + Z
                                  Manipulate                                                                                   Space
                                  Wire Frame                                                                                   F9
                                  Shaded                                                                                       F10
                                  Transparent                                                                                  F11
                                  Enhanced                                                                                     F12
  View>Go To                      Isometric                                                                                    Shift + I, Home
                                  Trimetric                                                                                    Shift + T, End
                                  Plan                                                                                         Shift + P
                                  Front Elevation                                                                              Shift + N
                                  Right Elevation                                                                              Shift + R
                                  Onto Face                                                                                    Shift + F
                                  Onto Work plane                                                                              Shift + W
                                  Previous                                                                                     Alt + Left Arrow
                                  Next                                                                                         Alt + Right Arrow
  View>Rotate                     Spin Left/Right                                                                              Left/Right Arrow
                                  Tilt Up/Down                                                                                 Up/Down Arrow
                                  Turn Counter Clockwise                                                                       Page Up
                                  Turn Clockwise                                                                               Page Down
                                  Tumble                                                                                       Shift + U
  Tools                           Variables                                                                                    Alt + 1
                                  Design Rules                                                                                 Alt + 2
                                  Configurations                                                                               Alt + 3


______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0                                                                                                                          7
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________




  Tools>Macro                     Record New Marco
                                  Stop Recording
                                  Marcos                                                                                       Alt + F8
                                  Resume Marco                                                                  I>             Alt + F9
                                  Visual Basic Editor                                                                          Alt + F11
                                                       Special Control Features
    Keystroke                                + Selection                                                       = Action
  Shift                           Modifying end point of a line                                Extend or trim a line
  Shift                           Straight line being created                                  Parallel to workplane axis
  Double Click                    Object not on active plane                                   Activities its sketch
  Double Click                    Selected object                                              Open properties dialog box
  Ctrl + Double                   Object                                                       Select feature & sync browser
  Click
  Esc                             New Object                                                   Open selection command
  Shift                           Section or projected view                                    View will align to its principal view
  Shift                           Add note                                                     Note is placed without leader
  Shift                           Radial dimension                                             Diameter dimension is placed
  Shift                           Angular dimension                                            Major angle is dimensioned
                                                                     Mouse Items
                                                                                         - Hold down Left mouse button to
  Manipulate                                                                                Rotate in 3 dimensions
  Scene                                       Spacebar (On/Off)                          - Shift + Hold down Left mouse button
                                                                                            to drag/adjust position on screen
                                                                                         - Shift + Ctrl + Hold down Left mouse
                                                                                            button to Rotate in one plane
  Zoom in/out                     Scroll Wheel on mouse                                Rotate Scroll Wheel to enlarge or reduce
                                                                                       scale


เพิ่มเติมการใช เมาสรวมกับโปรแกรม
                         
     1. เมาส ปุมซายใชสําหรับคลิกเลือก
                  
     2. เมาส ปุมขวาใชเพื่อเลือกใช Pop – Up
                
     3. เมาส ปุมกลางใชในการแทน Enter, และสิ้นสุดคําสั่ง
                    
     4. กดปุมกลางคางไวเปนการ Spin ภาพที่หนาจอ
     5. กดปุม Ctrl + ปุมกลางที่ เมาสคางไวเทากับ zoom ภาพที่หนาจอ
     6. กดปุม Shift + ปุมกลางที่เมาสคางไวเทากับจับภาพที่หนาจอ
     7. กดเลื่อน scroll เมาส เปนการ Zoom Out ภาพ




______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP                                                                                                                                 8
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________



                                                                       เริ่มตนใชงาน

คําแนะนํา การใช เครื่องหมายสัญลักษณ
        การใช เครื่องหมายสัญลักษณ จะเขียน สัญลักษณ (Icon) พรอม ชื่อสัญลักษณ กํากับไว เชน
             Icon นี้ ชื่อ New Design เขียนกํากับไว ในกรณีบางรูปไมชัดเจน หรือรูปขาวดํามีลกษณะ
                                                                                           ั
เดียวกัน จะไดใช Icon ไดถูกตอง
การเปดชินงานใหม : New Design
         ้
      1. คลิกเมาสที่      (New Design) เปนชื่อเรียก ของ Icon เขียนกํากับเพื่อวา รูปไมชัด หรือรูป
         ขาวดํามีลักษณะเดียวกัน ) เพื่อเปดชิ้นงานใหม
      2. ปรับหนาตางใหใหญที่สุด
      3. ตรงสวนนี้สามารถเลือกการทํางานหรือแกไขในงาน




พื้นที่ทางาน
        ํ                                                                                       :Workplanes

      4. นักเรียนจะตองมีความรูเบื้องตนในเรื่องของ สิ่งประดิษฐหรืองาน ที่อยูใน Workplanes และ
         New Sketches
      5. คลิก                      เพื่อแสดงใหเห็น Workplanes ทั้ง 3 ดานที่อยูใน Pro/DESKTOP.
                                                                                


                                                                                                  Lateral Workplane จะแสดงใหเห็น
                                                                                                  ดานขางของงาน

                                                                                                  Base Workplane จะมีกรอบโครงราง
                                                                                                  ที่เรียกวา Initial ซึ่งกําหนดใหเปนคา
                                                                                                  เริ่มตนแสดงใหเห็นดานบนของงาน


                                                                                                  Frontal Workplane จะแสดงใหเห็น
                                                                                                  ดานหนาของงาน
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน_
ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP                                                                                                                                 9
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________




      6. ในทุก ๆ Base Workplane จะมี New Sketch อยู การเลือกทํางานใน Workplane อื่น ใหคลิกที่
         เสนกรอบของ Workplane โดยเสนกรอบจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองและสีแดง > คลิกขวา ที่เมนู
         เลือก New Sketch หรือไปที่ Workplane > New Sketch



                                                                                                                    ใหคลิกที่เสนกรอบของ
                                                                                                                    Workplane จะ
                                                                                                                    เปลี่ยนเปนสีเหลืองและ

                                                                                                                            คลิกขวา เลือก
                                                                                                                             New sketch




      7. เปลี่ยนชื่อ New Sketch ใหมความหมายสอดคลองการงานที่ทํา
                                    ี




                                                                                                                                         เปลี่ยนชื่อ
                                                                                                                                         New Sketch




      8. OK




______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน_
ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP                                                                                                                               10
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________




                                                      Base Workplane จะมี Initial เปน Sketch ที่
                                                      โปรแกรมกําหนดไว เมื่อเปด Workplane ใหม


                                                   ชื่อ New Sketch ที่ตั้งใหมจะเปนตัวหนา


                                                   สามารถสราง Sketch ใหมโดยคลิกขวา


การจัดเก็บแฟมขอมูลลงดิสก




       การจัดเก็บแฟมขอมูลในดิสกอื่น เชนแผนดิสก สามารถทําไดเหมือนปกติ ทุกแฟมขอมูลที่ทํา
ใน Pro/DESKTOP ใน Assembly design เปนที่งานประกอบดวย ชิ้นงานหลายชิ้นงาน เมื่อจัดเก็บแฟม
หลัก จะจัดเก็บเฉพาะสวนที่เชื่อมโยงกับไฟลยอย ทําใหไฟลที่จัดเก็บเล็ก คลายกับ e-mail
                                           

การแกไขและปรับเปลี่ยน Features
   1. Features สามารถแกไขและเปลี่ยนขอผิดพลาดจากการกําหนดคาที่ผิดได โดย
        - ที่เมนู Browser เลือก Features




______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน_
ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP                                                                                                                               11
________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________




         - คลิกขวาที่ Feature > เลือก Redefine จากเมนู
      2. แกไขแลว > OK
      3. คลิก                 (Update Icon) ทุกครั้งที่มีการแกไข




______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน_
ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP                                                                                                                               12
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________




                             แบบฝกที่ 1
                     การสรางวัตถุทรงตัน : Solid


ขั้นตอนการสราง
1. คลิกเมาสที่       (New Design ) เพื่อสรางชิ้นงานใหม วาดรูปสี่เหลี่ยม หรือรูปตาง ๆ ที่มเี สนรอบ
   รูป (Close Shape )




2. คลิกที่เครื่องมือ                         (Extrude) จะเกิดจุดสีเหลืองตรงกลางรูป drag mouse ใหยืดขึน เพื่อกําหนด
                                                                                                      ้
   ความหนาของ object




3. คลิก O.K จะไดรูปสี่เหลี่ยมลูกบาศก




หมายเหตุ ถาวาดโดยใชเสนตาง ๆ ตองลากเสนใหจุดเริ่มตน และจุดจบเปนจุดเดียวกัน
         ( close shape) ซึ่งถาถูกตองจะมีสีระบายเต็มพื้นที่ (Fill)


_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP                                                                                                                               13
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________




                             แบบฝกที่ 2
           การตัดมุมที่มลักษณะมนกลม : Round Edges
                        ี



ขั้นตอนการสราง
      1. คลิกที่         (Newdesign) เพื่อเปดชินงานใหม วาดรูป
                                                ้
         สี่เหลี่ยมผืนผาสรางรูปทรงเหลี่ยม Extrude Profile
         ใหเปนรูปสี่เหลี่ยมลูกบาศก


      2. คลิกที่       Select Edges เลือกดานใดดาน
         หนึ่งของรูป > คลิกที่       (Round Edges)
         หลังจากนันกําหนดคา Round แบบ
                   ้
         Constant radius กําหนดคา Radius
      3. คลิก OK.




_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝึกอบรมการใช้โปรแกรม Pro/DESKTOP                                                                                                                               14
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________




                             แบบฝึกที่ 3
          การตัดมุมที่มีลักษณะมนกลมทั้งสองข้าง : Round
                                              Edges

ขั้นตอนการสร้าง
1. คลิกที่      (Newdesign) เพื่อเปิดชิ้นงานใหม่ สร้างรูปทรงเหลี่ยม
   แล้ว Extrude Profile         ให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ หลังจาก
   นั้นเลือกด้านที่ต้องการตัดมุม 2 ด้าน กดปุ่ม Shift ขณะใช้คาสั่ง
   Select edges เพื่อเลือกด้าน (สังเกตว่าเส้นมีสีแดง)
2. ใช้คาสั่ง Feature แบบ Round Edges หลังจากนั้นกาหนดค่า
   Round แบบ Constant radius กาหนดค่า Radius > OK ดังภาพ




     จะได้รูปทรงตามต้องการ




_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP                                                                                                                               15
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________




                              แบบฝกที่ 4
              การตัดมุมของรูปเหลี่ยม : Chamfer Edges



       การใชคําสั่ง Chamfer Edges ในการตัดมุมของรูปเหลี่ยม โดยกําหนดใหดานหนึ่งเปนการตัด
มุมแบบ Equal setback สวนอีกดานหนึ่งเปนการตัดมุมแบบ Unequal setback
ดังภาพ

                       Equal setback                                                                              UnEqual setback




ขั้นตอนการสราง
1. คลิกที่         (Newdesign) เพื่อเปดชินงานใหม วาดรูป
                                          ้
   สี่เหลี่ยมผืนผาสรางรูปทรงเหลี่ยม Extrude Profile ใหเปนรูป
   สี่เหลี่ยมลูกบาศก


2. คลิกที่      (Select Edges) เลือกดานใดดานหนึ่งของรูป > คลิกที่                                                             (Chamfer Edges)
   หลังจากนันกําหนดคา Chamfer กําหนดคา Setback > OK ดังภาพ
            ้




3. ดานที่เลือกจะไดรับการตัดมุม ดังภาพ




_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP                                                                                                                               16
_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________



4. ทําเชนเดียวกันนี้กับดานอีกดานหนึ่ง แตกําหนดคา Chamfer แบบ Unequal setback > OK ดังภาพ




5. ดานที่ถูกเลือกจะไดรับการตัดมุมเชนเดียวกัน ดังภาพ




_______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP                                                                                                                               17
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________




                            แบบฝกที่ 5
             การปรับเปลี่ยนและเจาะวัตถุทรงตัน : Solid



ขั้นตอนการสราง
1. คลิกที่       เพื่อสรางชิ้นงานใหม วาดรูป
   สี่เหลี่ยมผืนผาและสี่เหลี่ยมจัตุรัส (กดปุม Shift ในขณะ
   สรางรูปสี่เหลี่ยม) ใหได ดังภาพ

2. เลือกเสนรอบรูปของสี่เหลี่ยมจัตุรส (จะเปนเสนสีแดงทั้งสี่ดาน) หลังจากนั้นคลิกขวาบนสี่เหลี่ยม
                                     ั
   จัตุรัส เลือกคําสั่ง Transform เลือกคําสั่งยอย Rotate กําหนดมุม เพื่อหมุนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
   (ในที่นกําหนดมุม 45 องศา) เลือก OK รูปสี่เหลี่ยมจัตรัสจะหมุนตามมุมที่กาหนด ดังภาพ
           ี้                                              ุ                  ํ




3. กดปุม Shift เลือกรูปสี่เหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ใชคําสั่ง Extrude Profile กําหนดความหนา
   เลือกแบบ Below Workplane เลือก OK




______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP                                                                                                                               18
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________




4. ใชคําสั่ง Select Faces แลวเลือกดานที่ตองการใหโปรงใส (ในทีนี้เลือกดานบน ดานที่ถูกเลือกจะ
                                                                ่
    ปรากฏสีตางจากดานอื่น) หลังจากนั้นเลือกคําสั่ง Featers > Shell solids       แลวกําหนดความ
    หนาของรูป เลือก OK
5. ภาพที่สรางเสร็จแลว จะปรากฏ ดังนี้




______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP                                                                                                                               19
______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________




                               แบบฝกที่ 6
                    การทํารูปโครงรางใหมีมิติ : Thin



ขั้นตอนการสราง
1. คลิกที่                 เพื่อเปดชิ้นงานใหม ลากเสนโดยใชเครื่องมือ
       ลากเสนโคงอิสระ                        (Spline) ดังภาพ
2. คลิกเสนที่สรางขึ้นให active (ปรากฏเปนเสนสีแดง)

3. คลิกที่       เพื่อเรียกใชคําสั่ง Extrude จะเกิด
   จุดสีเหลืองตรงกลางรูป drag mouse ใหยืดลง
   เพื่อกําหนดคา Distance และความหนา (Thin)
   ตามตองการ ตอมาเลือก Below Workplane
   กําหนดมุมใน taper angle ตามความตองการ
   แลว เลือก Symmetric (ดังภาพ) เสร็จแลวเลือก
   OK
   จะปรากฏภาพดังนี้




นอกจากนี้อาจสราง profiles ที่มีรูปแบบอิสระอื่น ๆ
อีก โดยใชคําสั่ง “Spline และ Thin” ดังภาพ




______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual
Pro desktop80manual

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2Kanon Dhasanon
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสีพื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสีPitchayanida Khumwichai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557Pisit Ausa
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 

What's hot (6)

เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
08
0808
08
 
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสีพื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
พื้นฐานการเลือกสีและรหัสสี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 

Similar to Pro desktop80manual

3บทนำ หน้า ก_ฉ
3บทนำ หน้า ก_ฉ3บทนำ หน้า ก_ฉ
3บทนำ หน้า ก_ฉdechathon
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15Tharathorn Junya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sornnarin Wuthifuey
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Pudlee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Pudlee
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างbbeammaebb
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างbbeammaebb
 
ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11chaiwat vichianchai
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานThank Chiro
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser37a5ed
 
โครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมโครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมVisarut Keatnima
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Toffee Nohcc
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8Superior Painty
 

Similar to Pro desktop80manual (20)

3บทนำ หน้า ก_ฉ
3บทนำ หน้า ก_ฉ3บทนำ หน้า ก_ฉ
3บทนำ หน้า ก_ฉ
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11
 
Nsc2012
Nsc2012Nsc2012
Nsc2012
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
3
33
3
 
3
33
3
 
โครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอมโครงร่าง งานคอม
โครงร่าง งานคอม
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 

Pro desktop80manual

  • 1. ง43102 เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 (การออกแบบผลิตภัณฑ) โรงเรียนทาตูมประชาเสริมวิทย อ.ทาตูม จ.สุรินทร รหัสประจําตัว เลขที่ ชื่อ-สกุล ชั้นมัธยมศึกษาปที่ / อีเมล
  • 2. คํานํา หลักสูตรการศึกษาขั้นพืนฐานพุทธศักราช 2544 มุงพัฒนาผูเรียนใหสมบูรณและ ้ สมดุลทั้งดานจิตใจ รางกาย สติปญญา อารมณและสังคมโดยมุงเนนในการพัฒนาใหเปนผูมีความรู ความสามารถทั้งดานวิชาการวิชางาน และวิชาชีวิต เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมี ความสุข พึ่งตนเองได อยูรวมกับผูอื่นไดอยางสรางสรรค พัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม ความคิด ริเ ริ่มสรางสรรคเป นความสามารถในการมองเห็นความสัมพัน ธของสิ่งตางๆ โดยมีสิ่งเราเปน ตัวกระตุน ทําใหเกิดความคิดใหมตอเนื่องกัน ซึ่งความคิดสรางสรรคประกอบดวย ความคลองใน การคิด ความคิดยืดหยุน และความคิดที่เปนของตนเองโดยเฉพาะหรือเรียกวาความคิดสรางสรรค นั้นเอง ทั้งนี้เทคโนโลยีเปนสิ่งหนึ่งที่ไดนําความรู ทักษะ และทรัพยากรมาสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการ โดยผานกระบวนการเพื่อแกปญหาสนองความตองการหรือเพิ่มความสามารถของ การทํางานของมนุษย โปรแกรม Pro/DESKTOP เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรทางการศึกษาที่ใชเปนสื่อ สอนนักเรียนในเรื่องการออกแบบและสรางงานสามมิติ โดยสามารถนํามาใชในการสรางชิ้นงานที่ เกิดจากความคิดสรางสรรคของผูเรียนเปนสามมิติเสมือนจริง หากนักเรียนไดเรียนอยางมีความรู ความเขาใจและมีทักษะในการใชโปรแกรม Pro/ DESKTOP แลว สามารถที่จะใชเปนแนวทางใน การประกอบอาชีพในอนาคตซึ่งไดแกการสรางชิ้นงานการออกแบบผลิตภัณฑในเชิงธุรกิจ อีกทั้ง ยังชวยสนับสนุนโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ (OTOP) และอาจกาวไกลพัฒนาตนเองเปน วิศวกรนักออกแบบผลิตภัณฑและนักเทคโนโลยีในอนาคตตอไปได สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พิจารณาเห็นวา โปรแกรม Pro/DESKTOP เหมาะสําหรับใชเปนสื่อสอนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย จึงขอขอบคุณบริษัท PTC (Parametric Technology Corporation) วิทยากรที่ใหการอบรม คณะทํางาน และผูที่มีสวนเกี่ยวของทุกทานมา ณ โอกาสนี้ คุณหญิงกษมา วรวรรณ ณ อยุธยา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 3. คําชี้แจง คูมอการฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOPเลมนี้ แบงออกเปน 3 สวน ื สวนที่ 1 บทนํา เปนการชี้แจงทั่ว ๆ ไป เกี่ยวกับโปรแกรมและการนําไปใชในโรงเรียน สวนที่ 2 แบบฝกปฏิบัติการใชงานโปรแกรม เป น แบบฝ ก ปฏิ บั ติ ก ารใช ง านโปรแกรมจากง า ยไปหายาก ซึ่ ง เป น แบบฝ ก ประกอบการฝกอบรม หรือฝกปฏิบัติดวยตนเอง สวนที่ 3 แนวการฝกอบรมขยายผล (ภาคผนวก) เปนขอเสนอแนะในการฝกอบรมขยายผลการใชงานโปรแกรมระดับโรงเรียน หลักสูตรการฝกการอบรม และขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการฝกอบรม ระดับโรงเรียน การนํ าไปใช งาน คณะทํ า งานมีจุ ด ประสงค ที่ จ ะให เ อกสารเล มนี้เ ป น ทั้งคู มือวิท ยากร ฝกอบรม และเปนคูมือการใชงานโปรแกรมไปดวย (สวนที่ 2) สําหรับการนําไปใชจริงหรือเปน คูมือในการสอนของครู จะตองนําไปวางแผนใหเหมาะสมกับรูปแบบที่โรงเรียนนําโปรแกรมนี้เขา ไปในหลักสูตร ในลักษณะตาง ๆ ตามที่ชี้แจงไวในบทนํา และอาจจะตองเลือกแบบฝกปฏิบัติ จากตอนที่ 2 ไปใชงานตามความเหมาะสม หวังวาเอกสารฉบับนี้ จะเกิดประโยชนตอการปฏิบัติงานทุกระดับและสิ่งที่เปนตามความ คาดหวังสุดทาย คือ นักเรียนรุนใหมมีความคิดสรางสรรค จินตนาการ มีทักษะในดานคิดใหม ทํา ใหม และมีทักษะทางดานคอมพิวเตอรอยูในระดับมาตรฐานสากล คณะทํางาน
  • 4. สารบัญ คํานํา หนา คําชี้แจง บทนํา เรื่อง แถบเครื่องมือใน Pro/DESKTOP 2003 แถบเครื่องมือมาตรฐาน 1 แถบเครื่องมือสรางและปรับปรุงรูปทรง 1 แถบเครื่องมือมุมมอง 1 แถบเครื่องมือควบคุม 2 แถบเครื่องมือออกแบบ 2 คียลัดที่ใชใน Pro/DESKTOP 3 แถบเครื่องมือในหนาตาง Engineering Drawing 5 คําสั่งปกติ General Commands 6 เพิ่มเติมการใชเมาสรวมกับโปรแกรม 7 เริ่มตนใชงาน 8 พื้นที่ทํางาน 8 แบบฝกที่ 1 การสรางวัตถุทรงตัน : Solid Objects 12 แบบฝกที่ 2 การตัดมุมที่มลักษณะมนกลม : Round Edges ี 13 แบบฝกที่ 3 การตัดมุมที่มลักษณะมนกลมทั้งสองขาง : Round Edges ี 14 แบบฝกที่ 4 การตัดมุมของรูปสี่เหลี่ยม : Chamfer Edges 15 แบบฝกที่ 5 การปรับเปลี่ยนและเจาะวัตถุทรงตัน : Solid Objects 17 แบบฝกที่ 6 การทํารูปโครงรางใหมีมติ : Thin ิ 19 แบบฝกที่ 7 การสรางภาชนะรูปแกว : Revolve Profile 20 แบบฝกที่ 8 การสรางรูปทรงเกลียว (สปริง) : Alogn Helix 22 แบบฝกที่ 9 การสรางของอและเจาะรู 23 แบบฝกที่ 10 การสรางชิ้นสวนของเครื่องจักร : Machined Part 24 แบบฝกที่ 11 การตัดมุมวัตถุ : Round Edges Variable 27 แบบฝกที่ 12 การประกบชินงาน : Angular “Joining” of Steel/Timber ้ 29 แบบฝกที่ 13 การสรางชิ้นงานลักษณะบานพับ 30
  • 5. เรื่อง หนา แบบฝกที่ 14 การสรางรูปแบบอิฐบลอก 31 แบบฝกที่ 15 การออกแบบลูกกุญแจ 32 แบบฝกที่ 16 การสรางรูปทรงเกียรอยางงาย (Gear Simple) 34 แบบฝกที่ 17 การสรางแกลลอนพรอมที่จับแบบเจาะ 36 แบบฝกที่ 18 การสรางกลองและฝาบานพับ 40 แบบฝกที่ 19 การทํา Lofting Through Profiles 44 แบบฝกที่ 20 การสรางโตะโดยใช Round Edges Variable Radius 47 แบบฝกที่ 21 การสรางรูปแบบการเคลื่อนไหว : Animation 49 ภาคผนวก แนวการฝกอบรมขยายผล ผ-1 ตัวอยาง ตารางการฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP ผ-4 แนวทางการนําไปใชเปนสื่อสําหรับการสอนแบบบูรณาการ ผ-5 คณะทํางานจัดทําคูมือ ผ-7 บรรณาธิการกิจ ผ-8 ที่ปรึกษา ผ-8
  • 6. บทนํา โปรแกรม Pro/DESKTOP คืออะไร Pro/DESKTOP เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรทางการศึกษาที่ใชสอนนักเรียนในเรื่องการออกแบบ และสรางงาน 3 มิติ ซึ่งโปรแกรมคอมพิวเตอร Pro/DESKTOP นี้งายตอการใชงาน และมีความเหมาะสม ตอการเรียนรูของนักเรียน โดยสามารถนําโปรแกรม Pro/DESKTOP มาเปนเครื่องมือในการออกแบบ และสรางชิ้นงานที่เกิดจากความคิดสรางสรรคของนักเรียนเอง ซึ่งการสรางชิ้นงานสามารถมองเห็น ชิ้นงานเปน 3 มิติเสมือนจริง อีกทั้งนักเรียนสามารถเรียนรูและเขาใจการสรางสรรคช้ินงาน และ ออกแบบผลิตภัณฑในเชิงการตลาด หากนักเรียนมีความรู ความเขาใจและทักษะในการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP มากขึ้นจะเปนแนวคิดและมองเห็นชองทางในการประกอบอาชีพในอนาคต เปนวิศวกร นักออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม และนักเทคโนโลยี เปนตน โปรแกรม Pro/DESKTOP นี้เหมาะสําหรับใชสอนนักเรียนระดับมัธยมศึกษา วิทยาลัยและ มหาวิทยาลัย ซึ่งใชเวลาในการศึกษาเรียนรูเพียง 2-3 สัปดาหก็สามารถทําความเขาใจไดเปนอยางดี สําหรับการเรียนการสอนเพื่อใชในการสรางชิ้นงาน/โครงงานของนักเรียน จะใชเวลาเพียง 2-3 ชั่วโมง ก็จัดสรางชิ้นงานขั้นพื้นฐานไดเปนอยางดี อีกทั้งนักเรียนสามารถนําโปรแกรม Pro/DESKTOP นี้ไปใช และฝ ก ปฏิ บั ติ ง านที่ บ า นได ด ว ยตนเอง ซึ่ ง จะทํ า ให นั ก เรี ย นเกิ ด ความชํ า นาญในการใช โ ปรแกรม Pro/DESKTOP เพิ่มขึ้น โปรแกรม Pro/DESKTOP ทําอะไรไดบาง โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถใชฝกทักษะและสรางสรรคผลงานตาง ๆ เชน 1. การออกแบบโครงรางชิ้นงาน 2. การทํารูปทรง 3 มิติ ตาง ๆ 3. การออกแบบทางดานวิศวกรรม สถาปตยกรรม 4. การออกแบบผลิตภัณฑตาง ๆ 5. การออกแบบชิ้นงาน Animation 6. การจัดทําภาพฉาย (Projection) ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 7. ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop 8.0 ข ฯลฯ โปรแกรม Pro/DESKTOP เขามาสูวงการศึกษาประเทศไทยไดอยางไร เมื่อปลายปงบประมาณ 2546 บริษัท PTC U.S.A. ไดติดตอมายังกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อมอบโปรแกรม Pro/DESKTOP พรอมลิขสิทธิ์ใชงานสําหรับนักเรียนไทยในระดับมัธยมศึกษา โดยมี นายพงศศักดิ์ รักตพงษไพศาล (ผูชวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น) เปนผูรับฟงการ นําเสนอศักยภาพของโปรแกรม จากนั้นคณะเขาพบ พณฯนายกรัฐมนตรี เพื่อมอบโปรแกรมดังกลาวไวใช ประโยชนพรอมทั้งมีวิทยากรชาวตางประเทศสาธิตการใชโปรแกรมภายใตการตรวจรับโดยผูเชี่ยวชาญ ดาน IT จากหนวยงานตาง ๆ โปรแกรม Pro/DESKTOP มี 2 ระดับ คือ โปรแกรมที่ใชในระดับมัธยมศึกษา และระดับ มหาวิทยาลัย ซึ่งประเทศไทยไดรับมอบโปรแกรม Pro/DESKTOP เพื่อการใชงานฟรี จํานวน 20 ชุด สําหรับระดับมัธยมศึกษา โดยอนุญาตใหนักเรียนไทยทุกคนใชได โดยไมมีขอจํากัด ยกเวนถานําไปใชใน เชิงธุรกิจ ผูเชี่ยวชาญหลายทานไดใหขอคิดเห็นวา โปรแกรม Pro/DESKTOP มีรูปแบบการใชงานที่งายตอ การเรียนรู เหมาะกับการเรียนในระดับมัธยมศึกษา นาจะขยายผลการใชงานใหครอบคลุมทั้งประเทศ ผนวกกับขณะนี้ ทางโครงการโรงเรียนในฝนกําลังตองการเครื่องมือในการผลิตสื่อใชงาน จึงเห็นพองกัน วาโปรแกรม Pro/DESKTOP นี้ นาจะเปนทางเลือกหนึ่งของโครงการโรงเรียนในฝน จึงไดจัดการ ฝ ก อบรมนํ า ร อ งให กั บ คณะศึ ก ษานิ เ ทศก และครู จํ า นวน 38 คน เพื่ อ ทดลองใช โ ปรแกรม Pro/DESKTOP โดยมีวิทยากรชาวตางประเทศ ใหการฝกอบรม กอนที่จะขยายผลไปยังโรงเรียนอื่น ๆ ทั่วประเทศ ความตองการดาน Hardware ขั้นต่ํา คูมือการใช โปรแกรม Pro/DESKTOP ไดกาหนดคุณสมบัติของ Hardware ขั้นต่ําไวดังนี้ ํ - เพนเทียมอินเทลขั้นต่ํา 166 MHz หรือสูงกวา - หนวยความจําขั้นต่ํา 64 MB - ที่วางของฮารดดิสก 80 MB (สําหรับโปรแกรม) - มีที่วางอิสระในโฟลเดอร TEMP ระหวางการะบวนการติดตั้ง 110 MB ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 8. ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop 8.0 ค - ไมโครซอฟต Windows 98, Me, 2000, XP, NT 4.0 ขอเสนอแนะจากการทดลองใชโปรแกรม 1. Window 98 จากการทดลองใชงาน โปรแกรมนี้จะทํางานไดดี บน RAM ตั้งแต 128 MB และมีความจําการดจอ 16 MB ขึ้นไป หากตองการใชงานโปรแกรมอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ควรใช 32 MB ขึ้นไป 2. Windows XP ควรจะมี RAM ไมนอยกวา 256 MB 3. ในกรณีเครื่องมีขีดความสามารถต่ํา ใหปดหนาตางที่ไมใชงาน ใหคงเหลือหนาตางที่กําลัง ทํางานปจจุบัน จะชวยแกปญหาไดบาง จุดเดนของโปรแกรม Pro/DESKTOP โปรแกรม Pro/DESKTOP งายตอการใชงานพอสมควร และสามารถฝกทักษะดานกระบวนการ คิดสรางสรรคไดเปนอยางดี อีกทั้งผูใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP ไดศึกษาและฝกทักษะใหมีความ ชํานาญและเชี่ยวชาญ ก็จะสามารถนําโปรแกรม Pro/DESKTOP ไปใชในการออกแบบตาง ๆ ใน ชี วิ ต ประจํ า วั น และประกอบอาชี พ ได โดยเฉพาะอย า งยิ่ ง เมื่ อ ออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ หรื อ ชิ้ น งานเสร็ จ เรียบรอยแลว โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถแสดงภาพฉายของชิ้นงานใหดวย ซึ่งผูสรางชิ้นงานไม ตองเขียนภาพฉายอีก นอกจากนี้ ยังสามารถออกแบบ Model ที่แสดงภาพการเคลื่อนไหว หรือลักษณะการใชงานของ Model นั้น ๆ ไดดวย ขอคิดจาก Ivan Chester ( MindustrailEd Newcastle, Director of Studies, Bachelor Of Technology Education, Australia) วิทยากรผูฝกรมรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop Ivan ไดเสนอขอคิดเห็นบางประการตอกระทรวงฯ และครูเกี่ยวกับการฝกอบรมโปรแกรม CAD ในฐานะที่ Ivan เปนผูสนใจในงานวิจัยทางดานการเรียนรู (Cognitive research) เกี่ยวกับการสอน CAD และการแกปญหา ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 9. ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop 8.0 ง ผลการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู (การคิด) แสดงใหเห็นวาการแกปญหาที่ซับซอนเกิดขึ้นไดโดย การสรางภาพความคิด (การคิดในภาพที่สรางขึ้นมาในใจ) ในการแกปญหา ความสามารถในการสราง ภาพความคิดของนักเรียนมีหลายแนวทาง และคาดหวังวาการใชโมเดล 3 มิติ เชน จากโปรแกรม Pro/Desktop เปนตน จะสามารถแกปญหานี้ของนักเรียนได ซึ่งผลการวิจัยปจจุบันยังไมมีในเรื่องนี้ (Ivan ไดทํางานเกี่ยวกับเรื่องนี้มาพอสมควรและเชื่อวายังไมมีการวิจัยในเรื่องนี้ เพราะสวนมากศึกษากับ กลุมเปาหมายที่มีอายุมากกวาวัยนักเรียน และ นักศึกษากับกลุมวิศวกรและสถาปนิกเปนสวนใหญ ซึ่งเปน กลุมที่ตองสรางภาพความคิด ขึ้นมาใชในการทํางานอยูแลว) คุณ Ivan ไดศึกษาเอกสารและงานวิจัย เกี่ยวกับภาพความคิดเพื่อที่จะหาแนวทางที่จะแกปญหานักเรียน โดยการใชการสรางภาพความคิดในการ สอน Pro/Desktop และการแกปญหาที่ซับซอน ตลอดชวง 6 เดือนที่ผานมา และคุณ Ivan พบวา มียุทธวิธี 5 อยาง ที่จะแกปญหาการสรางภาพความคิดไดดังนี้ 1. การสรางรูปแบบกระบวนการคิด เปนสิ่งสําคัญในการสอนเริ่มตนและสําคัญมากขึ้นในการ แกปญหา Ivan ดําเนินการโดยการเลาใหนักเรียนทั้งชั้นฟงถึงยุทธวิธีที่ใชแกปญหาจากนั้น save งาน ตนแบบ แลวสาธิตวิธีการแกปญหาใหนักเรียนดู ซึ่งวิธีการนี้จะทําใหนักเรียนที่เพิ่งเริ่มตนเรียนรูเขาใจ วิธีการแกปญหาที่ครูใช ฝกฝน และกลายเปนผูที่สามารถแกปญหาดวยตนเองไดในที่สุด 2. การสเก็ตช (sketching) การสเก็ตชจะชวยใหนักเรียนสรางภาพจิตนาการขึ้นมาในความทรงจํา และใชภาพ sketch นี้คิดเกี่ยวกับความเปนไปไดที่จะทําตอไป รวมทั้งกอใหเกิดภาพ sketch อื่น ๆ อีก และ ความสามารถในการจัดภาพ sketch ที่ซับซอน (มีภาพ sketch หลาย ๆ ภาพ) อีกดวย Ivan ใชการ sketch โดยใหนักเรียน sketch รูปรางในทิศทางที่แตกตางจากที่ครูสอนในแตละ feature เชน extrude, thin or taper เปนตน จากนั้นใหนักเรียนถายภาพวัตถุของจริง แลวถามนักเรียนให บอกวิธีการที่จะสราง model ตนแบบของวัตถุจริงนั้นขึ้นมา ซึ่งตรงนี้นักเรียนจะสามารถระบุไดวาสวนใด ที่ตอง extrude สวนใดตอง loft สวนใดตอง revolve เปนตน จากนั้นนักเรียนจะทําการ sketch ใน workplane และวาดรูปรางของแตละ sketch ที่นักเรียนตองการสราง กระบวนการนี้เกิดขึ้นเร็วมากในการ สราง model ใน ProDesktop และ ทําใหเกิดการคิดและภาพความคิดขึ้นมาไดดี 3. การเรียนรูแบบรวมมือ ผูเรียนที่มีสวนรวมในการแกปญหาในกลุมสามารถเรียนรูกระบวนการ คิดไดดีกวา โดยการเรียนรูวิธีการแกปญหาของนักเรียนคนอื่น และ เลือกวิธีการแกปญหาการเรียนรูที่ เหมาะสมกับตนเองมากที่สุด 4. การอธิบายวิธีการแกปญหาใหผูอื่นฟง การใหนักเรียนอธิบายใหเพื่อน ๆ ในกลุมฟง ถึง ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 10. ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop 8.0 จ วิธีการใช model ใหไดผลดีมากขึ้นในสถานการณตาง ๆ กระบวนการอธิบายนี้มีประสิทธิภาพโดยตัวของ มันเอง อยูแ ลว การฟงยุทธวิธีของผูอื่นก็เช นเดียวกัน ทั้งการอธิบายและการฟงจะทํ าใหนักเรีย น จินตนาการจาก คําอธิบาย ซึ่งจะชวยแกปญหาความสามารถในการสรางภาพความคิด และ การอธิบาย ยุทธวิธีจะชวยใหเกิดการปรับปรุงใหดีขึ้นในโอกาสตอไป 5. การใหขอมูลยอนกลับในทันที การใหขอมูลยอนกลับในทันทีจะชวยใหนักเรียนปรับความคิด ใหถูกตอง เมื่อนักเรียนอธิบายยุทธวิธีในการสราง model ของรูปภาพอื่น ๆ ครูอาจจะถามนักเรียนคนอื่น เพื่อที่จะชวยเหลือและครูก็คอยแนะนํา ทั้งตอนักเรียนแตละคน หรือตอนักเรียนทั้งชั้น นอกจากนี้ยังเปน การใหโอกาสในการพัฒนาวิธีการที่ดีที่จะระบุความเปนไปไดในการทํา mirror, copy, scale Ivan คิดวาเปนสิ่งสําคัญในการทําเทคนิคเหลานี้เขามาใชในการฝกอบรม Pro/Desktop ใน ประเทศไทย ผลการวิจัย CAD ชี้ใหเห็นวาการใชคําสั่งของ CAD เชน นี่คือวิธีการ extrude เปนตน ไมใช วิธีการที่จะใชซอฟตแวรอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด Ivan เชื่อวามันไมใชวิธีการที่จะสงเสริมความสามารถ ในการสรางภาพความคิด และการแกปญหาที่ซับซอนดวย ดังนั้นเพื่อให การแกปญหาความสามารถใน การสรางภาพความคิดและการแกปญหาที่ซับซอน โดยการใช Pro/Desktop เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ควรใชเทคนิควิธีการที่ Ivan นําเสนอนี้สอดแทรกเขามาใชดวย รวมทั้งวิจัยติดตาม ผลการใชเทคนิค วิธีการนี้ในการฝกอบรม Pro/Desktop ที่มีตอความสามารถทั้ง 2 อยางของนักเรียนดวย แนวทางในการนําโปรแกรม Pro/DESKTOP ใชในโรงเรียน จากขีดความสามารถของโปรแกรม Pro/DESKTOP และลักษณะของโปรแกรมที่เหมาะกับการ ฝกทักษะกระบวนการทางความคิดสรางสรรคของนักเรียน และสามารถใชเปนเครื่องมือของครูในการ สรางสื่อการเรียนการสอนรายวิชาตาง ๆ ที่กลาวมาแลวนั้น หากมีการนําไปเผยแพรในโรงเรียน ควร กําหนดจุดประสงคของการนําไปใช ดังนี้ 1. เพื่อใชเปนเครื่องมือสําหรับฝกความคิดสรางสรรคสําหรับนักเรียนทุกระดับ 2. เพื่อใหนักเรียนมีทางเลือกในการเรียนวิชาประเภทกราฟกสําหรับการออกแบบ ผลิตภัณฑ และนําไปใชในชีวิตประจําวันไดจริง สามารถพัฒนาไปสูทักษะชั้นสูง นําไปสูข้นอาชีพจริงได ั 3. เพื่อใหครูผูสอน ทุกกลุมสาระ นําไปเปนเครื่องมือในการจัดทําสื่อการเรียนการสอน เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรูในสาระวิชานั้น ๆ ไดดีขึ้น ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 11. ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop 8.0 ฉ โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถนําไปไปใชสอนในกลุมสาระการเรียนรูใดบาง โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถจะนําไปใชสอนในกลุมสาระพื้นฐาน สาระเพิ่มเติม และ กิจกรรมการเรียนรู ดังนี้ 1. เปนสวนหนึ่งของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีทุกชวงชั้น 2. เปนสวนหนึ่งของกลุมสาระเพิ่มเติมโดยใหนักเรียนเลือกตามความสนใจ 3. จัดเปนกิจกรรมสนใจของนักเรียน เชน ชมรม ชุมนุมตาง ๆ 4. จัดการเรียนรูแบบบูรณาการเขากับกลุมสาระอื่น ๆ เชน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เขียนแบบ การออกแบบผลิตภัณฑ ฯลฯ โดยระบุอยูในแผนการจัดการเรียนรู และใหใชโปรแกรมนี้เปน สื่อในการออกแบบ รายงาน และนําเสนอ เปนตน อยางไรก็ตามคณะทํางานขอเสนอเปนหลักการวา โปรแกรม Pro/DESKTOP นี้เปน โปรแกรมกราฟฟกชนิดหนึ่ง เชนเดียวกับโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใชเปนเครื่องมือ หรือ สื่อการเรียนการสอน คอมพิ ว เตอร เพื่ อ ฝ ก ทั ก ษะความสามารถทางด า นคอมพิ ว เตอร ทั่ ว ไป ให พิ จ ารณาเลื อ กใช ส ว นที่ ดี ที่เหมาะสม โดยเฉพาะอยางยิ่งการฝกกระบวนการความคิดสรางสรรค สวนทักษะขั้นสูงที่สามารถจะ ออกแบบผลิตภัณฑไดจริง ควรจะเปนทางเลือกใหนักเรียนไดเลือกเรียนในสาระเพิ่มเติม หรือกิจกรรม สนใจ ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 12. ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0 1 ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ แถบเครื่องมือใน Pro/DESKTOP 2001 Update Design แถบเครื่องมือมาตรฐาน (Standard Toolbar) แถบเครื่องมือสรางและปรับแตงรูปทรง (Features Toolbar) Project Sweep Profile Round Profile Shell Draft Faces Along Profile Edges Use Components Extrude Revolve Hole Chamfer แถบเครื่องมือมุมมอง Views Toolbar ViewPoin Autoscale Zoom In Enhance Selection Free Rotate Shaded Previous Views Tumble Wire Transparent Autoscale Isometri Frame Section View View Onto Trimetric Workplane Plan View Onto Face Front Right ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 13. ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0 2 ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ แถบเครื่องมือควบคุม Constraints Toolbar Perpendicular Tangent Toggle Fix Lines Equal Constraints Colinear Concentric Inspector Parallel Equal Radius แถบเครื่องมือออกแบบDesign Toolbar Browser Pane Select Lines Select Constraints Select Edges Select Workplanes Workplane Select Active Sketch Features Select Faces Select Parts Straigh Circle Rectangle Ellipse Arc/Fillet Spline Delete Line Segment Sketch Dimension ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 14. ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0 3 ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ คียลัดที่ใชใน Pro/DESKTOP 2000i2 Menu Command ความหมาย Button Hot Keys เสน Straight ลากเสนตรง S Line Circle สรางวงกลม C Rectangle สรางรูปสี่เหลี่ยม R Ellipse สรางรูปวงรี I Arc สรางเสนโคง T Spline สรางเสนโคงอิสระ B Delete Segment ลบเสน D Toggle Construction Crtl + G Toggle Sketch Filled Ctrl + Shift + F Toggle Sketch Rigid Ctrl + Shift + R ควบคุม Dimension ขนาด Z Constraint Parallel วางขนาน Perpendicular วางตั้งฉาก Collinear วางอยูบนเสนตรงเดียวกัน Tangent สัมผัสที่จุดเดียวกัน Concentric มีจุดศูนยกลางรวมกัน Equal Length ความยาวเทากัน Equal Radius รัศมีเทากัน Toggle Fixed Ctrl + F Toggle Reference Ctrl + R Inspector ขยาย Select Lines เลือกเสน L Constraints เลือกขนาดควบคุม N Design Commands Feature Extrude Profile การสรางความหนางาน โดยการยืด Project Profile การตัดชิ้นงานโดยการยืด Revolve Profile การสรางเนื้องานแบบ หมุนรอบแกน Sweep > Sketch Path การสรางเนื้องานตามแนว เสนนําทาง Insert Holes เจาะรู Round Edges ทําเหลี่ยมใหมน ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 15. ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0 4 ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ Chamfer Edges ทําขอบเหลี่ยม Shell Solids ทําชุดผิวตามตามผนังงาน Draft Faces สรางผิวงานเอียง Hot Menu Command ความหมาย Button Keys Use Component เลือกชิ้นสวนที่ประกอบ Update Design ปรับปรุงการแสดงผล F5 หลังจากแกไข Update & Propagate Ctrl + F5 Tools Components Browser Shift + C Features Browser Shift + E Workplanes Browser Shift + K Workplane New Workplane Ctrl + L New Sketch Ctrl + K Hide Other Sketches Ctrl + H Select Workplanes เลือก Workplanes W Edges เลือกขอบ E Faces เลือกพื้นผิว F Features เลือก Features A Parts เลือกเฉพาะสวน P Add Connected Lines Ctrl + E Synchronize Browser Shift + B ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 16. ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0 5 ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ แถบเครื่องมือในหนาตาง Engineering Drawing Drawing Commands Select Annotations A Features F Views V Add Connected Lines Ctrl + E Synchronize Browser Shift + B Center Line Common Plane Common Axis Mid-Plane Pitch Circle Center Points Phantom Intersection Dimension Linear Angular Diametric Radial Note Geometric Tolerance Datum Feature Design Variables Surface Finish Part Reference Balloon Insert Callout Note Insert Move Callout Arrows L/R/Up/Down Start New Line Enter Shoulder Right Ctrl + Right Arrow Shoulder Left Ctrl + Left Arrow Drawing Update Views F5 New Sketch Ctrl + K Hide Other Sketches Ctrl + H Table Cycle Row Up Shift + Up Arrow Cycle Row Down Shift + Down Arrow Cycle Column Left Shift + Left Arrow Cycle Column Right Shift + Right Arrow ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 17. ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0 6 ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ คําสั่งปกติ General Commands File New Ctrl + N Open Ctrl + O Save Ctrl + S Print Ctrl + P Edit Undo Ctrl + Z Cut Ctrl + X Copy Ctrl + C Paste Ctrl + V Delete Delete Select All Ctrl + A Duplicate Ctrl + D Properties Alt + Enter Pick Up Properties Ctrl + Shift + C Apply Properties Ctrl + Shift + V View Auto Scale Shift + A Auto scale Selection Shift + S Half Scale Shift + H Zoom In Shift + Z Manipulate Space Wire Frame F9 Shaded F10 Transparent F11 Enhanced F12 View>Go To Isometric Shift + I, Home Trimetric Shift + T, End Plan Shift + P Front Elevation Shift + N Right Elevation Shift + R Onto Face Shift + F Onto Work plane Shift + W Previous Alt + Left Arrow Next Alt + Right Arrow View>Rotate Spin Left/Right Left/Right Arrow Tilt Up/Down Up/Down Arrow Turn Counter Clockwise Page Up Turn Clockwise Page Down Tumble Shift + U Tools Variables Alt + 1 Design Rules Alt + 2 Configurations Alt + 3 ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 18. ชุดฝกอบรมการใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP 8.0 7 ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ Tools>Macro Record New Marco Stop Recording Marcos Alt + F8 Resume Marco I> Alt + F9 Visual Basic Editor Alt + F11 Special Control Features Keystroke + Selection = Action Shift Modifying end point of a line Extend or trim a line Shift Straight line being created Parallel to workplane axis Double Click Object not on active plane Activities its sketch Double Click Selected object Open properties dialog box Ctrl + Double Object Select feature & sync browser Click Esc New Object Open selection command Shift Section or projected view View will align to its principal view Shift Add note Note is placed without leader Shift Radial dimension Diameter dimension is placed Shift Angular dimension Major angle is dimensioned Mouse Items - Hold down Left mouse button to Manipulate Rotate in 3 dimensions Scene Spacebar (On/Off) - Shift + Hold down Left mouse button to drag/adjust position on screen - Shift + Ctrl + Hold down Left mouse button to Rotate in one plane Zoom in/out Scroll Wheel on mouse Rotate Scroll Wheel to enlarge or reduce scale เพิ่มเติมการใช เมาสรวมกับโปรแกรม  1. เมาส ปุมซายใชสําหรับคลิกเลือก  2. เมาส ปุมขวาใชเพื่อเลือกใช Pop – Up  3. เมาส ปุมกลางใชในการแทน Enter, และสิ้นสุดคําสั่ง  4. กดปุมกลางคางไวเปนการ Spin ภาพที่หนาจอ 5. กดปุม Ctrl + ปุมกลางที่ เมาสคางไวเทากับ zoom ภาพที่หนาจอ 6. กดปุม Shift + ปุมกลางที่เมาสคางไวเทากับจับภาพที่หนาจอ 7. กดเลื่อน scroll เมาส เปนการ Zoom Out ภาพ ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 19. ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP 8 ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ เริ่มตนใชงาน คําแนะนํา การใช เครื่องหมายสัญลักษณ การใช เครื่องหมายสัญลักษณ จะเขียน สัญลักษณ (Icon) พรอม ชื่อสัญลักษณ กํากับไว เชน Icon นี้ ชื่อ New Design เขียนกํากับไว ในกรณีบางรูปไมชัดเจน หรือรูปขาวดํามีลกษณะ ั เดียวกัน จะไดใช Icon ไดถูกตอง การเปดชินงานใหม : New Design ้ 1. คลิกเมาสที่ (New Design) เปนชื่อเรียก ของ Icon เขียนกํากับเพื่อวา รูปไมชัด หรือรูป ขาวดํามีลักษณะเดียวกัน ) เพื่อเปดชิ้นงานใหม 2. ปรับหนาตางใหใหญที่สุด 3. ตรงสวนนี้สามารถเลือกการทํางานหรือแกไขในงาน พื้นที่ทางาน ํ :Workplanes 4. นักเรียนจะตองมีความรูเบื้องตนในเรื่องของ สิ่งประดิษฐหรืองาน ที่อยูใน Workplanes และ New Sketches 5. คลิก เพื่อแสดงใหเห็น Workplanes ทั้ง 3 ดานที่อยูใน Pro/DESKTOP.  Lateral Workplane จะแสดงใหเห็น ดานขางของงาน Base Workplane จะมีกรอบโครงราง ที่เรียกวา Initial ซึ่งกําหนดใหเปนคา เริ่มตนแสดงใหเห็นดานบนของงาน Frontal Workplane จะแสดงใหเห็น ดานหนาของงาน ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน_
  • 20. ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP 9 ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ 6. ในทุก ๆ Base Workplane จะมี New Sketch อยู การเลือกทํางานใน Workplane อื่น ใหคลิกที่ เสนกรอบของ Workplane โดยเสนกรอบจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองและสีแดง > คลิกขวา ที่เมนู เลือก New Sketch หรือไปที่ Workplane > New Sketch ใหคลิกที่เสนกรอบของ Workplane จะ เปลี่ยนเปนสีเหลืองและ คลิกขวา เลือก New sketch 7. เปลี่ยนชื่อ New Sketch ใหมความหมายสอดคลองการงานที่ทํา ี เปลี่ยนชื่อ New Sketch 8. OK ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน_
  • 21. ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP 10 ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ Base Workplane จะมี Initial เปน Sketch ที่ โปรแกรมกําหนดไว เมื่อเปด Workplane ใหม ชื่อ New Sketch ที่ตั้งใหมจะเปนตัวหนา สามารถสราง Sketch ใหมโดยคลิกขวา การจัดเก็บแฟมขอมูลลงดิสก การจัดเก็บแฟมขอมูลในดิสกอื่น เชนแผนดิสก สามารถทําไดเหมือนปกติ ทุกแฟมขอมูลที่ทํา ใน Pro/DESKTOP ใน Assembly design เปนที่งานประกอบดวย ชิ้นงานหลายชิ้นงาน เมื่อจัดเก็บแฟม หลัก จะจัดเก็บเฉพาะสวนที่เชื่อมโยงกับไฟลยอย ทําใหไฟลที่จัดเก็บเล็ก คลายกับ e-mail  การแกไขและปรับเปลี่ยน Features 1. Features สามารถแกไขและเปลี่ยนขอผิดพลาดจากการกําหนดคาที่ผิดได โดย - ที่เมนู Browser เลือก Features ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน_
  • 22. ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP 11 ________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ - คลิกขวาที่ Feature > เลือก Redefine จากเมนู 2. แกไขแลว > OK 3. คลิก (Update Icon) ทุกครั้งที่มีการแกไข ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน_
  • 23. ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP 12 _______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ แบบฝกที่ 1 การสรางวัตถุทรงตัน : Solid ขั้นตอนการสราง 1. คลิกเมาสที่ (New Design ) เพื่อสรางชิ้นงานใหม วาดรูปสี่เหลี่ยม หรือรูปตาง ๆ ที่มเี สนรอบ รูป (Close Shape ) 2. คลิกที่เครื่องมือ (Extrude) จะเกิดจุดสีเหลืองตรงกลางรูป drag mouse ใหยืดขึน เพื่อกําหนด ้ ความหนาของ object 3. คลิก O.K จะไดรูปสี่เหลี่ยมลูกบาศก หมายเหตุ ถาวาดโดยใชเสนตาง ๆ ตองลากเสนใหจุดเริ่มตน และจุดจบเปนจุดเดียวกัน ( close shape) ซึ่งถาถูกตองจะมีสีระบายเต็มพื้นที่ (Fill) _______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 24. ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP 13 _______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ แบบฝกที่ 2 การตัดมุมที่มลักษณะมนกลม : Round Edges ี ขั้นตอนการสราง 1. คลิกที่ (Newdesign) เพื่อเปดชินงานใหม วาดรูป ้ สี่เหลี่ยมผืนผาสรางรูปทรงเหลี่ยม Extrude Profile ใหเปนรูปสี่เหลี่ยมลูกบาศก 2. คลิกที่ Select Edges เลือกดานใดดาน หนึ่งของรูป > คลิกที่ (Round Edges) หลังจากนันกําหนดคา Round แบบ ้ Constant radius กําหนดคา Radius 3. คลิก OK. _______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 25. ชุดฝึกอบรมการใช้โปรแกรม Pro/DESKTOP 14 _______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ แบบฝึกที่ 3 การตัดมุมที่มีลักษณะมนกลมทั้งสองข้าง : Round Edges ขั้นตอนการสร้าง 1. คลิกที่ (Newdesign) เพื่อเปิดชิ้นงานใหม่ สร้างรูปทรงเหลี่ยม แล้ว Extrude Profile ให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ หลังจาก นั้นเลือกด้านที่ต้องการตัดมุม 2 ด้าน กดปุ่ม Shift ขณะใช้คาสั่ง Select edges เพื่อเลือกด้าน (สังเกตว่าเส้นมีสีแดง) 2. ใช้คาสั่ง Feature แบบ Round Edges หลังจากนั้นกาหนดค่า Round แบบ Constant radius กาหนดค่า Radius > OK ดังภาพ จะได้รูปทรงตามต้องการ _______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 26. ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP 15 _______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ แบบฝกที่ 4 การตัดมุมของรูปเหลี่ยม : Chamfer Edges การใชคําสั่ง Chamfer Edges ในการตัดมุมของรูปเหลี่ยม โดยกําหนดใหดานหนึ่งเปนการตัด มุมแบบ Equal setback สวนอีกดานหนึ่งเปนการตัดมุมแบบ Unequal setback ดังภาพ Equal setback UnEqual setback ขั้นตอนการสราง 1. คลิกที่ (Newdesign) เพื่อเปดชินงานใหม วาดรูป ้ สี่เหลี่ยมผืนผาสรางรูปทรงเหลี่ยม Extrude Profile ใหเปนรูป สี่เหลี่ยมลูกบาศก 2. คลิกที่ (Select Edges) เลือกดานใดดานหนึ่งของรูป > คลิกที่ (Chamfer Edges) หลังจากนันกําหนดคา Chamfer กําหนดคา Setback > OK ดังภาพ ้ 3. ดานที่เลือกจะไดรับการตัดมุม ดังภาพ _______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 27. ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP 16 _______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ 4. ทําเชนเดียวกันนี้กับดานอีกดานหนึ่ง แตกําหนดคา Chamfer แบบ Unequal setback > OK ดังภาพ 5. ดานที่ถูกเลือกจะไดรับการตัดมุมเชนเดียวกัน ดังภาพ _______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 28. ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP 17 ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ แบบฝกที่ 5 การปรับเปลี่ยนและเจาะวัตถุทรงตัน : Solid ขั้นตอนการสราง 1. คลิกที่ เพื่อสรางชิ้นงานใหม วาดรูป สี่เหลี่ยมผืนผาและสี่เหลี่ยมจัตุรัส (กดปุม Shift ในขณะ สรางรูปสี่เหลี่ยม) ใหได ดังภาพ 2. เลือกเสนรอบรูปของสี่เหลี่ยมจัตุรส (จะเปนเสนสีแดงทั้งสี่ดาน) หลังจากนั้นคลิกขวาบนสี่เหลี่ยม ั จัตุรัส เลือกคําสั่ง Transform เลือกคําสั่งยอย Rotate กําหนดมุม เพื่อหมุนรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส (ในที่นกําหนดมุม 45 องศา) เลือก OK รูปสี่เหลี่ยมจัตรัสจะหมุนตามมุมที่กาหนด ดังภาพ ี้ ุ ํ 3. กดปุม Shift เลือกรูปสี่เหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ใชคําสั่ง Extrude Profile กําหนดความหนา เลือกแบบ Below Workplane เลือก OK ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 29. ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP 18 ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ 4. ใชคําสั่ง Select Faces แลวเลือกดานที่ตองการใหโปรงใส (ในทีนี้เลือกดานบน ดานที่ถูกเลือกจะ  ่ ปรากฏสีตางจากดานอื่น) หลังจากนั้นเลือกคําสั่ง Featers > Shell solids แลวกําหนดความ หนาของรูป เลือก OK 5. ภาพที่สรางเสร็จแลว จะปรากฏ ดังนี้ ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 30. ชุดฝกอบรมการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP 19 ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ แบบฝกที่ 6 การทํารูปโครงรางใหมีมิติ : Thin ขั้นตอนการสราง 1. คลิกที่ เพื่อเปดชิ้นงานใหม ลากเสนโดยใชเครื่องมือ ลากเสนโคงอิสระ (Spline) ดังภาพ 2. คลิกเสนที่สรางขึ้นให active (ปรากฏเปนเสนสีแดง) 3. คลิกที่ เพื่อเรียกใชคําสั่ง Extrude จะเกิด จุดสีเหลืองตรงกลางรูป drag mouse ใหยืดลง เพื่อกําหนดคา Distance และความหนา (Thin) ตามตองการ ตอมาเลือก Below Workplane กําหนดมุมใน taper angle ตามความตองการ แลว เลือก Symmetric (ดังภาพ) เสร็จแลวเลือก OK จะปรากฏภาพดังนี้ นอกจากนี้อาจสราง profiles ที่มีรูปแบบอิสระอื่น ๆ อีก โดยใชคําสั่ง “Spline และ Thin” ดังภาพ ______________________________________________________________________________________________________________________________________________________________________ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน