SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
30. ที่อุณหภูมิ 30OC ปฏิกิริยา CO(g) + Cl2(g)
COCl2(g) + 108 KJ มีความสัมพันธ์
       ระหว่างความเข้มข้นระหว่างเวลาเป็นดังกราฟต่อไปนี้




หลังจากระบบเข้าสู่สมดุลที่ 30OC แล้วถ้าเพิ่มอุณหภูมิเป็น 50OC กราฟ
ของปฏิกิริยาควรดำาเนินต่อไปอย่างไร




31.แก๊ส X และ Y ทำาปฏิกิริยาได้แก๊ส Z ดังสมการ
    . X(g) + 3Y (g)                        2Z(g)
     ถ้าให้ X และ Y อย่างละ 0.1 mol ทำาปฏิกิริยากันในกระบอกสูบ
ขนาด 500 cm3 จนเข้าสู่สภาวะสมดุล
     ข้อใดถูกต้อง
    1. เมื่อขยายปริมาตรของกระบอกสูบจะได้ Z น้อยลง
I 2.ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้แปรผันโดยตรงกับความเข้มข้นของ Z
    และแปรผกผันกับ X และ Y
       3. ที่ภาวะสมดุลจะมีแต่แก๊ส X และ Y ในกระบอกสูบ
II 4. ถ้าเพิ่มปริมาณสารตั้งต้น Y เป็น 0.3 mol ที่สภาวะสมดุลใหม่ X
    และ Y จะทำาปฏิกิริยากันหมดพอดี
III
IV ٣٠เฉลยข้อ 4
แนวคิด




                       เมื่อเพิ่มอุณหภูมิรบกวนสมดุล เนื่องจากเป็น
สมดุลของปฏิกิริยาคายความร้อน ปฏิกิริยา
                    เกิดการย้อนกลับมากขึ้น ที่สมดุลใหม่พบว่า
 [ COCL]
      2  ลดลงส่วน [ CO] และ [ CI2]
                    เพิ่มขึ้นจากตัวเลือก ที่เป็นไปได้ข้อเดียวคือข้อ 4

V ٣١เฉลยข้อ 1
  แนวคิด         แก๊ส X และ Y ทำาปฏิกิริยาได้แก๊ส Z ดังสมการ
                             X(g) + 3Y(g)
  2Z(g)
                  เริ่ม    0.1 mol         0.1 mol          0
  ปริมาตร 500 cm       3

               ข้อ 1 ถูก เพราะเมื่อขยายปริมาตรเท่ากับเป็นการลดความ
  ดันของแก๊สเป็นผลทำาให้เปลี่ยน
                   ย้อนกลับมากขึ้นไปด้านจำานวนโมลของแก๊สมากขึ้น
  เพื่อเพิ่มความดันให้มากขึ้น ที่
                    สมดุลใหม่จึง มีจำานวนโมลของ z ลดลง
               ข้อ 2 ผิด เพราะค่า K แปรผันตรงกับ (Z)2 และ K
  แปรผันกับ (X) และ (Y)3

                   ข้อ 3 ผิด เพราะที่ภาวะสมดุลจะมีแก๊ส X,Y และ Z
ทุกชนิดในกระบอกสูบ ซึ่งแต่ละตัว มี
                ข้อ 4 ผิด เพราะจะเพิ่มสารตั้งต้น Y เป็น 0.3 mol ทำา
   ปฏิกิริยากับ X 0.1 mol ถึงแม้ว่าเป็น
                               สัดส่วนกัน แต่ไม่ทำาปฏิกิริยาเคมีได้หมด
   พอดี เนื่องจากระบบเกิดสมดุลได้ระบบ
                              จะปรับตัวมันเอง ดังนั้นสารตั้งต้น Y และ
   ) จะเหลือคงที่ขณะสมดุล
สุชาดา  วงษ์ตา

More Related Content

What's hot

6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
Wijitta DevilTeacher
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
weerabong
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
Nanmoer Tunteng
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
Chuanchen Malila
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
Porna Saow
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
ja1122
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
paknapa
 
พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1
areerd
 

What's hot (17)

6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
Solid Liquid And Gas
Solid   Liquid  And   GasSolid   Liquid  And   Gas
Solid Liquid And Gas
 
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
เนื้อหาปริมาณสารสัมพันธ์
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
บทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมีบทที่ 7 สมดุลเคมี
บทที่ 7 สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Know6
Know6Know6
Know6
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
 
พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1พันธะไอออนิก1
พันธะไอออนิก1
 
Chembond
ChembondChembond
Chembond
 

Viewers also liked (9)

Natal nas asas_do_arco-iris
Natal nas asas_do_arco-irisNatal nas asas_do_arco-iris
Natal nas asas_do_arco-iris
 
Kim nguyen timeline
Kim nguyen timelineKim nguyen timeline
Kim nguyen timeline
 
Developer Training for 23 Video
Developer Training for 23 VideoDeveloper Training for 23 Video
Developer Training for 23 Video
 
Banquete out 2009
Banquete out 2009Banquete out 2009
Banquete out 2009
 
Campanie Olimpiadele Comunicarii 2009
Campanie Olimpiadele Comunicarii 2009Campanie Olimpiadele Comunicarii 2009
Campanie Olimpiadele Comunicarii 2009
 
General Brochure
General BrochureGeneral Brochure
General Brochure
 
Kim nguyen timeline
Kim nguyen timelineKim nguyen timeline
Kim nguyen timeline
 
Kim nguyen timeline.ppt
Kim nguyen timeline.pptKim nguyen timeline.ppt
Kim nguyen timeline.ppt
 
Pollution ppt-090720025050-phpapp02
Pollution ppt-090720025050-phpapp02Pollution ppt-090720025050-phpapp02
Pollution ppt-090720025050-phpapp02
 

สุชาดา วงษ์ตา

  • 1. 30. ที่อุณหภูมิ 30OC ปฏิกิริยา CO(g) + Cl2(g) COCl2(g) + 108 KJ มีความสัมพันธ์ ระหว่างความเข้มข้นระหว่างเวลาเป็นดังกราฟต่อไปนี้ หลังจากระบบเข้าสู่สมดุลที่ 30OC แล้วถ้าเพิ่มอุณหภูมิเป็น 50OC กราฟ ของปฏิกิริยาควรดำาเนินต่อไปอย่างไร 31.แก๊ส X และ Y ทำาปฏิกิริยาได้แก๊ส Z ดังสมการ . X(g) + 3Y (g) 2Z(g) ถ้าให้ X และ Y อย่างละ 0.1 mol ทำาปฏิกิริยากันในกระบอกสูบ ขนาด 500 cm3 จนเข้าสู่สภาวะสมดุล ข้อใดถูกต้อง 1. เมื่อขยายปริมาตรของกระบอกสูบจะได้ Z น้อยลง I 2.ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยานี้แปรผันโดยตรงกับความเข้มข้นของ Z และแปรผกผันกับ X และ Y 3. ที่ภาวะสมดุลจะมีแต่แก๊ส X และ Y ในกระบอกสูบ II 4. ถ้าเพิ่มปริมาณสารตั้งต้น Y เป็น 0.3 mol ที่สภาวะสมดุลใหม่ X และ Y จะทำาปฏิกิริยากันหมดพอดี III IV ٣٠เฉลยข้อ 4
  • 2. แนวคิด เมื่อเพิ่มอุณหภูมิรบกวนสมดุล เนื่องจากเป็น สมดุลของปฏิกิริยาคายความร้อน ปฏิกิริยา เกิดการย้อนกลับมากขึ้น ที่สมดุลใหม่พบว่า [ COCL] 2 ลดลงส่วน [ CO] และ [ CI2] เพิ่มขึ้นจากตัวเลือก ที่เป็นไปได้ข้อเดียวคือข้อ 4 V ٣١เฉลยข้อ 1 แนวคิด แก๊ส X และ Y ทำาปฏิกิริยาได้แก๊ส Z ดังสมการ X(g) + 3Y(g) 2Z(g) เริ่ม 0.1 mol 0.1 mol 0 ปริมาตร 500 cm 3 ข้อ 1 ถูก เพราะเมื่อขยายปริมาตรเท่ากับเป็นการลดความ ดันของแก๊สเป็นผลทำาให้เปลี่ยน ย้อนกลับมากขึ้นไปด้านจำานวนโมลของแก๊สมากขึ้น เพื่อเพิ่มความดันให้มากขึ้น ที่ สมดุลใหม่จึง มีจำานวนโมลของ z ลดลง ข้อ 2 ผิด เพราะค่า K แปรผันตรงกับ (Z)2 และ K แปรผันกับ (X) และ (Y)3 ข้อ 3 ผิด เพราะที่ภาวะสมดุลจะมีแก๊ส X,Y และ Z ทุกชนิดในกระบอกสูบ ซึ่งแต่ละตัว มี ข้อ 4 ผิด เพราะจะเพิ่มสารตั้งต้น Y เป็น 0.3 mol ทำา ปฏิกิริยากับ X 0.1 mol ถึงแม้ว่าเป็น สัดส่วนกัน แต่ไม่ทำาปฏิกิริยาเคมีได้หมด พอดี เนื่องจากระบบเกิดสมดุลได้ระบบ จะปรับตัวมันเอง ดังนั้นสารตั้งต้น Y และ ) จะเหลือคงที่ขณะสมดุล