SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
1
ประเด็นสาคัญ คือ กาหนดให้เดินเรือภายในจังหวัดสงขลา เท่านั้น
ใบสาคัญรับรองการตรวจเรือตามประเด็นปัญหานั้นมีกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้
๑. พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
   ๑.๑ กฎข้อบังคับสาหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ.๒๕๒๘
   ๑.๒ ระเบียบกรมเจ้าท่า ว่าด้วยเขตการเดินเรือของเรือกลเดินทะเลเฉพาะเขตและเรือเดินทะเลที่มิใช่เรือกล
   เดินภายในประเทศ พ.ศ.๒๕๕๕
๒. พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.๒๔๙๐
๓. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
๔. กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
   ราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔
๕. กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๕ ตามพระราชบัญญัติ
   ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔
๖. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
                ---------------------------------------------------------------------------------------------




                                                                                                                2
๑. พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖
        ตามมาตรา ๑๖๓ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ได้กาหนดไว้ว่า
“ให้เจ้าท่าโดยอนุมัติรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมมีอานาจออกกฎข้อบังคับสาหรั บการตรวจเรือ เพื่อกาหนด
หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการออกใบสาคัญดังต่อไปนี้
        (๑) ใบสาคัญรับรองการตรวจเรือเพื่ออนุญาตให้ใช้เรือ
        (๒) ใบสาคัญแสดงการตรวจเรือเพื่อจดทะเบียนเรือไทย
        (๓) ใบสาคัญรับรองเกี่ยวกับความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล
        (๔) ใบสาคัญรับรองแนวน้าบรรทุก
        (๕) ใบสาคัญรับรองการตรวจเรือเพื่อการอื่น ๆ
กฎข้อบังคับนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้”
        ซึ่งได้มีการออกกฎข้อบังคับสาหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ.๒๕๒๘ โดยข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องนั้น
อยู่ในหมวด ข. การแบ่งประเภทเรือ
        ข้อที่ ๘ ข เรือกลประมงทะเล
        ข.๓.๑ มีขนาดไม่เกิน ๑๐ ตันกรอส
        ข.๓.๒ ให้เดินห่างฝั่งหรือเกาะได้ในระยะไม่เกิน ๓ ไมล์สาหรับเรือขนาดไม่เกิน ๕ ตันกรอส ส่วนเรือขนาด
ตั้งแต่ ๑๐ ตันกรอส บังคับให้ต้องมีดาดฟ้าปิด และเดินห่างฝั่งหรือเกาะได้ในระยะไม่เกิน ๑๕ ไมล์ ในขณะทาการ
ประมงให้ออกห่างจากฝั่งได้ไม่เกินแนวเขตทาการตามชนิดของเครื่องมือจับสัตว์น้าชนิดประจาที่ในท้องที่นั้นใน
เวลาคลื่นลมสงบ และอยู่ภายในเขตจังหวัดนั้น ๆ จังหวัดเดียว
        ข.๓.๓ กรณีที่ใช้เครื่องมือจับสัตว์น้าแบบพิเศษ ชนิดอวนลอย ให้ออกห่างจากฝั่งหรือเกาะได้ไม่เกิน ๑๕
ไมล์ ในเวลาที่คลื่นลมสงบ และอยู่ในเขตจังหวัดนั้นๆ จังหวัดเดียว

        และข้อ ๖ เรือกลเดินทะเลเฉพาะเขตต้องมีลักษณะดังนี้
        ๖.๑ มีเครื่องมือเดินเรือสาหรับตรวจหาที่เรือโดยวิชาเดินเรือนาร่องชายฝั่ง
        ๖.๒ มีเครื่องรับวิทยุตามความเหมาะสม
        ๖.๓ มีคนประจาเรือตามกฎข้อบังคับนี้
        ๖.๔ มีอุปกรณ์ประจาเรือและเครื่องชูชีพตามกฎข้อบังคับ

                                                                                                      3
๖.๕ มีเขตการเดินเรือภายในเขตตามแนวชายฝั่งประเทศไทยตามความเหมาะสมแห่งลักษณะทนทะเลที่
กรมเจ้าท่ากาหนด
        โดยข้อ ๖ แห่งกฎข้อบังคับสาหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ.๒๕๒๘ นั้นได้มีการอ้างถึงในระเบียบ
กรมเจ้าท่า ว่าด้วยเขตการเดินเรือของเรือกลเดินทะเลเฉพาะเขตและเรือเดินทะเลที่มิใช่เรือกลเดินภายในประเทศ
พ.ศ.๒๕๕๕
        ประเด็นจึงมีว่า การจากัดเขตการเดินเรือให้อยู่ภายในจังหวัดสงขลาในใบสาคัญรับรองการตรวจเรือนั้น ใช้
ข้อกฎหมายใด เป็นการใช้อานาจตาม
         ข้อ ๘ ข.๓.๓ แห่งกฎข้อบังคับสาหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ.๒๕๒๘ เนื่องจากเรือประมง
            ดังกล่าวใช้เครื่องมือจับสัตว์น้าแบบพิเศษ ชนิดอวนลอย หรือ
         ระเบียบกรมเจ้าท่า ว่าด้วยเขตการเดินเรือของเรือกลเดินทะเลเฉพาะเขตและเรือเดินทะเลที่มิใช่เรือ
            กลเดินภายในประเทศ พ.ศ.๒๕๕๕ ซึ่งอาศัยอานาจตามข้อ ๖.๕ “มีเขตการเดินเรือภายในเขตตาม
            แนวชายฝั่งประเทศไทยตามความเหมาะสมแห่งลักษณะทนทะเลที่กรมเจ้าท่ากาหนด”

๒. พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.๒๔๙๐
        และเมื่อวิเคราะห์ตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.๒๔๙๐ จะพบข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้
        มาตรา ๖ บรรดาที่จับสัตว์น้าทั้งปวงให้กาหนดเป็น ๔ ประเภท คือ
        (๑) ที่รักษาพืชพันธุ์
        (๒) ที่ว่าประมูล
        (๓) ที่อนุญาต
        (๔) ที่สาธารณประโยชน์

        มาตรา ๗ ให้คณะกรมการจังหวัดโดยอนุมัติของรัฐมนตรี มีอานาจประกาศกาหนดประเภทที่จับสัตว์น้า
ภายในเขตท้องที่ของตนว่า เข้าอยู่ในประเภทที่รักษาพืชพันธุ์ ที่ว่าประมูล หรือที่อนุญาตที่จับ สัตว์น้า ซึ่ง มิได้มี
ประกาศ ตามความ ใน วรรคหนึ่งให้ถือเป็นที่สาธารณประโยชน์

        มาตรา ๑๖ ที่สาธารณประโยชน์ คือที่จับสัตว์น้าซึ่งบุคคลทุกคนมีสิทธิทาการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
ได้

                                                                                                              4
บุคคลใดซึ่งทาการประมงหรือเพาะเลี้ยงสัตว์น้าในที่สาธารณประโยชน์ต้องปฏิบัติ ตามเงื่อนไขที่รัฐมนตรี
กาหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา

         มาตรา ๒๑ ห้ามมิให้บุคคลใดทาการแก้ไขเปลี่ยนแปลงที่จับสัตว์น้าซึ่งมิได้อยู่ในที่ดินอันบุคคลถือ
กรรมสิทธิ์ให้ผิดไปจากสภาพที่เป็นอยู่ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่
         ผู้รับอนุญาตต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่พนักงานเจ้าหน้าที่กาหนดให้

         มาตรา ๒๘ บุคคลใดจะใช้เครื่องมือในพิกัดทาการประมงได้ ต่อเมื่อได้รับ อาชญาบัตรระบุชื่อบุคคลนั้น
และเสียเงินอากรตามพระราชบัญญัตินี้แล้ว

         มาตรา ๒๙ เครื่องมือในพิกัดซึ่งได้รับอาชญาบัตรในท้องที่จังหวัดใดแล้ว ถ้าบุคคลใดประสงค์จะนาไปใช้
ทาการประมงในท้องที่จังหวัดอื่น ซึ่งจะต้องเสียเงินอากรสูงกว่าจะต้องเสียอากรเพิ่มเติมให้ครบตามอัตราในท้องที่
นั้นเสียก่อนจึงจะใช้เครื่องมือนั้นได้

         มาตรา ๓๒ รัฐมนตรีหรือข้าหลวงประจาจังหวัดโดยอนุมัติรัฐมนตรีเฉพาะ ภายในเขตท้องที่ของตน มี
อานาจประกาศกาหนดได้ดังต่อไปนี้
         (๑) กาหนดขนาดตาและระยะช่องเครื่องมือทาการประมงทุกชนิด กาหนดขนาด ชนิด จานวนและ
ส่วนประกอบของเครื่องมือทาการประมงที่อนุญาตให้ใช้ในที่จับสัตว์น้า
         (๒) กาหนดมิให้ใช้เครื่องมือทาการประมงอย่างหนึ่งอย่างใดในที่จับสัตว์น้าโดยเด็ดขาด
         (๓) กาหนดระยะที่ตงเครื่องมือประจาที่ให้ห่างกันเพียงใด
                          ั้
         (๔) กาหนดวิธีใช้เครื่องมือทาการประมงต่าง ๆ
         (๕) กาหนดฤดูปลาที่มีไข่และวางไข่เลี้ยงลูก กาหนดเครื่องมือที่ให้ใช้และกาหนด วิธีทาการประมงในที่จับ
สัตว์น้าใด ๆ ในฤดูดังกล่าว
         (๖) กาหนดชนิด ขนาด และจานวนอย่างสูงของสัตว์น้าที่อนุญาตให้ทาการประมง
         (๗) กาหนดมิให้ทาการประมงสัตว์น้าชนิดหนึ่งชนิดใดโดยเด็ดขาด

         มาตรา ๓๔ ห้ามมิให้บุคคลใดทาการประมงหรือทาการใด ๆ ในเครื่องมือ ประจาที่ของผู้รับอนุญาต หรือ
ในบริเวณที่ตั้งเครื่องมือเช่นว่านั้น ตามที่คณะกรมการจังหวัดจะได้ ประกาศกาหนดเขตโดยอนุมัติรัฐมนตรี


                                                                                                        5
มาตรา ๕๒ โดยอนุมัติรัฐมนตรี ให้คณะกรมการจังหวัดมีอานาจประกาศห้ามมิให้บุคคลอื่นนอกจากผู้รับ
อนุญาต เข้าไปในที่จับสัตว์น้าแห่งหนึ่งแห่งใด เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้รับอนุญาต หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อน
        จาก พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.๒๔๙๐ มีการกาหนดพื้นที่ การประมงอย่างชัดเจน ทั้งหมด ๔
ประเภท ซึ่งประเภทที่ ๔ จะเป็นพื้นที่สาธารณประโยชน์ โดยใน มาตรา ๑๖ ที่สาธารณประโยชน์ คือที่จับสัตว์น้า
ซึ่งบุ คคลทุกคนมีสิทธิทาการประมงและเพาะเลี้ ยงสั ตว์น้าได้      ซึ่งเท่ากับว่าทุกคนที่เป็นคนไทยจะมีสิทธิใช้ที่
สาธารณประโยชน์ได้เท่าเทียบกันทุกคน
        แต่พื้นที่อื่นๆ จะขึ้นอยู่กับแต่ละจังหวัดว่ามีกฎระเบียบ หรือสิทธิในการใช้ประโยชน์พื้นที่ไว้อย่างไรซึ่ง
มาตรา ๗ ให้คณะกรมการจังหวัดโดยอนุมัติของรัฐมนตรี มีอานาจประกาศกาหนดประเภทที่จับสัตว์น้าภายในเขต
ท้องที่ของตนว่า เข้าอยู่ในประเภทที่รักษาพืชพันธุ์ ที่ว่าประมูล หรือที่อนุญาต รวมทั้ง มาตรา ๓๔ ห้ามมิให้บุคคล
ใดทาการประมงหรือทาการใด ๆ ในเครื่องมือประจาที่ของผู้รับอนุญาต หรือในบริเวณที่ตั้งเครื่องมือเช่นว่านั้น
ตามที่คณะกรมการจังหวัดจะได้ ประกาศกาหนดเขตโดยอนุมัติรัฐมนตรี ได้มีการประกาศเกี่ยวกับข้อกาหนดไว้
อย่างชัดเจน
        แต่อย่างไรก็ตามหากมีความจาเป็นที่ต้องประกอบอาชีพประมงในเขตพื้นที่อื่น ก็สามารถดาเนินการได้แต่
ต้องเป็นไปตาม มาตรา ๒๙ เครื่องมือในพิกัดซึ่งได้รับอาชญาบัตรในท้องที่จังหวัดใดแล้ว ถ้าบุคคลใดประสงค์จะ
นาไปใช้ทาการประมงในท้องที่จังหวัดอื่น ซึ่งจะต้องเสียเงินอากรสูงกว่าจะต้องเสียอากรเพิ่มเติมให้ ครบตามอัตรา
ในท้องที่นั้นเสียก่อนจึงจะใช้เครื่องมือนั้นได้ และตามมาตรา ๕๒ โดยอนุมัติรัฐมนตรี ให้คณะกรมการจังหวัดมี
อานาจประกาศห้ามมิให้บุคคลอื่นนอกจากผู้รับอนุญาต เข้าไปในที่จับสัตว์น้าแห่งหนึ่งแห่งใด เว้นแต่ได้รับอนุญาต
จากผู้รับอนุญาต หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อน แสดงให้เห็นว่าการกาหนดพื้นที่ของเรือประมงให้เดินเรือได้ภายใน
จังหวัดนั้น ไม่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.๒๔๙๐

๓. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙
        ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ การออกใบสาคัญรับรองการตรวจเรือเป็น
“คาสั่งทางปกครอง” อย่างหนึ่ง ซึ่งมาตรา ๑๒ ได้บัญญัติไว้ว่า “คาสั่งทางปกครองจะต้องกระทาโดยเจ้าหน้าที่ซึ่งมี
อานาจหน้าที่ในเรื่องนั้น”




                                                                                                             6
จึงมีประเด็นในการพิจารณาว่า กรมเจ้าท่ามีอานาจหน้าที่ในการจากัดเขตการเดินเรือได้หรือไม่ ซึงตาม
                                                                                                 ่
๔. กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔
        ได้ให้กรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม มีภารกิจเกี่ยวกับการกากับดูแล การส่งเสริม การพัฒนาระบบการ
ขนส่งทางน้าและการพาณิชยนาวี ให้มีการเชื่อมต่อกับระบบการขนส่งอื่น ๆ ทั้งการขนส่งผู้โดยสารและสินค้า
ท่าเรือ อู่เรือ กองเรือไทย และกิจการเกี่ยวเนื่อง เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกรวดเร็ว ทั่วถึง และปลอดภัย
ตลอดจนการสนับสนุนภาคการส่งออกให้มีความเข้มแข็ง

        โดยข้อ ๒๒ แห่งกฎกระทรวงดังกล่าว กาหนดให้สานักมาตรฐานทะเบียนเรือ มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้
        (๑) ดาเนินการเกี่ยวกับทะเบียนเรือตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทยและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
        (๒) ดาเนินการเกี่ยวกับใบอนุญาตใช้เรือตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้าไทย
        (๓) ดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจสภาพเรือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องใช้ประจาเรือ เพื่อออกใบสาคัญ
รับรองการตรวจเรือตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้าไทย กฎหมายว่าด้วยเรือไทย และกฎหมายว่าด้วย
การป้องกันเรือโดนกัน เพื่อประกอบการออกและต่ออายุใบอนุญาตใช้เรือตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือใน
น่านน้าไทย และการออกใบทะเบียนเรือตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทย
        (๔) ศึกษา เพื่อเสนอแนะนโยบายและแนวทางในการพัฒนาระบบทะเบียนเรือไทย
        (๕) กากับดูแลและประเมินผลการปฏิบัติงานทะเบียนเรือให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน
        (๖) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

        และ ข้อ ๒๓ สานักมาตรฐานเรือ มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
        (๑) ดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจสภาพเรือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องใช้ประจาเรือ เพื่อออกใบสาคัญ
รับรองตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ
        (๒) ดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจอนุมัติแบบแปลนเรือให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้นหรืออนุสัญญา
ระหว่างประเทศ ตลอดจนติดตามการปรับปรุงแก้ไขอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง
        (๓) ดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจเรือ สาหรับเรือต่างประเทศที่เดินเรือเข้ามาในน่านน้าไทยตามกฎหมาย
ว่าด้วยการนั้น หรืออนุสัญญาหรือความตกลงระหว่างประเทศ


                                                                                                         7
(๔) ดาเนินการเกี่ยวกับการกาหนดมาตรฐานเรือ อุปกรณ์ประจาเรือ และการตรวจรับรองวัสดุ เครื่องมือ
เครื่องใช้ และอุปกรณ์ประจาเรือ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล
         (๕) ดาเนินการเกี่ยวกับการกาหนดหลักเกณฑ์และกากับดูแลองค์กรที่ได้รับมอบอานาจให้ทาการตรวจเรือ
และออกใบสาคัญรับรองตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ
         (๖) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย
ขณะที่

๕. กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๕ ตามพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔
         ให้กรมประมงมีภารกิจเกี่ยวกับการศึกษา วิจัยและพัฒนาด้านการประมงเพื่อการจัดการทรัพยากรประมง
 ควบคุมการทาประมง และการผลิตสัตว์น้า และผลิตภัณฑ์ประมงที่มีมาตรฐานถูกสุขอนามัยให้มีปริมาณเพียงพอ
 ต่อการบริโภคภายในประเทศ และสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ ตลอดจนใช้ทรัพยากรประมงและทรัพยากรที่
 เกี่ยวเนื่องอย่างยั่งยืน ซึ่งในข้อ ๑(๔) ได้ให้กรมประมงมีอานาจหน้าที่กาหนดมาตรการในการทาการประมงและ
 การใช้ประโยชน์จากสัตว์น้า ควบคุม ป้องกัน และปราบปรามการทาการประมงในแหล่งน้าจืดและทะเล การค้า
 สัตว์น้าให้เป็นไปตามกฎหมาย
         ดังนั้น ข้อ ๘ ข.๓.๓ แห่งกฎข้อบังคับสาหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ.๒๕๒๘ ที่กาหนดให้เรือกล
ประมงทะล กรณีที่ใช้เครื่องมือจับสัตว์น้าแบบพิเศษ ชนิดอวนลอย ให้ออกห่างจากฝั่งหรือเกาะได้ไม่เกิน ๑๕ ไมล์
ในเวลาที่คลื่นลมสงบ และอยู่ในเขตจังหวัดนั้นๆ จังหวัดเดียวนั้น จึงไม่อาจใช้บังคับได้ เนื่องจาก กรมเจ้าท่ามี
อานาจหน้าที่ในการตรวจสภาพเรือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องใช้ประจาเรือ เพื่อออกใบสาคัญรับรองการ
ตรวจเรือตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้าไทยเท่านั้น ไม่มีอานาจล่วงล้าไปถึงการตรวจเครื่องมือประมง
ซึ่งเป็นอานาจหน้าที่ของกรมประมง
         และถ้ากรมเจ้าท่าใช้อานาจหน้าที่ตามระเบียบกรมเจ้าท่า ว่าด้วยเขตการเดินเรือของเรือกลเดินทะเล
เฉพาะเขตและเรือเดินทะเลที่มิใช่เรือกลเดินภายในประเทศ พ.ศ.๒๕๕๕ ซึ่งอาศัยอานาจตามข้อ ๖.๕ แห่งกฎ
ข้อบังคับสาหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ.๒๕๒๘ ว่าให้เรือกลเดินทะเลเฉพาะเขต “มีเขตการเดินเรือภายใน
เขตตามแนวชายฝั่งประเทศไทยตามความเหมาะสมแห่งลักษณะทนทะเลที่กรมเจ้าท่ากาหนด” ก็ไม่ปรากฎว่าการ
เดินทางข้ามจังหวัดจะขัดต่อความเหมาะสมแห่งลักษณะทนทะเลอย่างไร

                                                                                                        8
โดยสรุป เมื่อวิเคราะห์จากกฎหมายต่างๆ ข้างต้น จึงไม่ใช่อานาจหน้าที่ของกรมเจ้าท่าในการกาหนด
เครื่องมือประมงในขั้นตอนการตรวจเรือด้วย และไม่ปรากฎว่ากรมเจ้าท่าใช้ดุลพินิจใดเป็นพื้นฐานในการห้ามการ
เดินเรือข้ามจังหวัด จึงเป็นการใช้อานาจหน้าที่โดยมิชอบ

๖. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
           มาตรา ๒๖ การใช้อานาจโดยองค์กรของรัฐทุกองค์กร ต้องคานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์สิ ทธิและ
เสรีภาพ ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้

           มาตรา ๒๙ การจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้ จะกระทามิได้เว้นแต่โดยอาศัย
อ านาจตามบทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง กฎหมาย เฉพาะเพื่ อ การที่ รั ฐ ธรร มนู ญ นี้ ก าหนดไว้ แ ละเท่ า ที่ จ าเป็ น และจะ
กระทบกระเทือนสาระสาคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้
           กฎหมายตามวรรคหนึ่งต้องมีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไป และไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึ่ง
หรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง ทั้งต้องระบุบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่ ให้อานาจในการตรากฎหมาย
นั้นด้วย
           บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสองให้นามาใช้บังคับกับกฎที่ออกโดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่ง
กฎหมายด้วยโดยอนุโลม

           มาตรา ๓๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการเดินทางและมีเสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยู่ภายในราชอาณาจักร
           การจากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง จะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
เฉพาะเพื่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน การผังเมือง หรือเพื่อสวัสดิภาพ
ของผู้เยาว์
           การเนรเทศบุคคลผู้มีสัญชาติไทยออกนอกราชอาณาจักร หรือห้ามมิให้บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเข้ามาใน
 ราชอาณาจักร จะกระทามิได้

           มาตรา ๔๓ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแข่งขันโดยเสรีอย่าง
เป็นธรรม
           การจากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
เฉพาะเพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ การคุ้มครองประชาชนในด้าน

                                                                                                              9
สาธารณูปโภค การรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การจัดระเบียบการประกอบอาชีพ
การคุ้มครองผู้บริโภค การผังเมือง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม สวัสดิภาพของประชาชน หรือ
เพื่อป้องกันการผูกขาดหรือขจัดความไม่เป็นธรรมในการแข่งขัน

        ดังนั้น การที่กรมเจ้าท่าออกใบสาคัญรับรองการตรวจเรือ โดยกาหนดให้เรือกลประมงทะเลชั้น ๓ ที่มี
ขนาดไม่เกิน ๕ ตันกรอส เดินเรือได้เพียงเฉพาะภายในจังหวัดสงขลาเท่านั้น จึงขัดกับสิทธิเสรีภาพในการเดินทาง
และการประกอบอาชีพตามมาตรา ๓๔ และมาตรา ๔๓ ด้วย




                                                                                                     10
รายชื่อผู้จัดทา

1. อาจารย์ประภาพร    แสงกาญจนวนิช       อาจารย์ประจาคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม
2. นายณัฏฐาทัศน์     เจ้ยเปี้ยว         นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม
3. นายเอกลักษณ์      ระกา               นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม
4. นายธนภัทร         หลักเพชร           นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม
5. นายประสิทธิ์      สถิรวณิชย์         นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม
6. นางสาวนริศรา      แก้วชุติมา         นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม
7. นางสาวสิฐินันท์   พรหมมณี            นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม

                             มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์




                                                                                   11

More Related Content

Viewers also liked

Presentacion aerosmith
Presentacion aerosmithPresentacion aerosmith
Presentacion aerosmith
Aerosmiith
 
Wedding album
Wedding albumWedding album
Wedding album
thaonpy
 
экскурсия по Златоусту
экскурсия по Златоустуэкскурсия по Златоусту
экскурсия по Златоусту
AndreyZhmaev
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
Khwankamon Changwiriya
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
dnavaroj
 

Viewers also liked (12)

Niña bonita
Niña bonitaNiña bonita
Niña bonita
 
Presentacion aerosmith
Presentacion aerosmithPresentacion aerosmith
Presentacion aerosmith
 
Wedding album
Wedding albumWedding album
Wedding album
 
Resina
ResinaResina
Resina
 
Refundable credits2
Refundable credits2Refundable credits2
Refundable credits2
 
Vinoth radha. curriculum vitae
Vinoth radha.  curriculum vitaeVinoth radha.  curriculum vitae
Vinoth radha. curriculum vitae
 
экскурсия по Златоусту
экскурсия по Златоустуэкскурсия по Златоусту
экскурсия по Златоусту
 
Laporan kasus
Laporan kasusLaporan kasus
Laporan kasus
 
Sap sd ppt
Sap sd pptSap sd ppt
Sap sd ppt
 
Aspek perpajakan yayasan pendidikan
Aspek perpajakan yayasan pendidikanAspek perpajakan yayasan pendidikan
Aspek perpajakan yayasan pendidikan
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 

การจำกัดเขตการเดินเรือประมงขนาดเล็ก

  • 1. 1
  • 2. ประเด็นสาคัญ คือ กาหนดให้เดินเรือภายในจังหวัดสงขลา เท่านั้น ใบสาคัญรับรองการตรวจเรือตามประเด็นปัญหานั้นมีกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ ๑. พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ๑.๑ กฎข้อบังคับสาหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ.๒๕๒๘ ๑.๒ ระเบียบกรมเจ้าท่า ว่าด้วยเขตการเดินเรือของเรือกลเดินทะเลเฉพาะเขตและเรือเดินทะเลที่มิใช่เรือกล เดินภายในประเทศ พ.ศ.๒๕๕๕ ๒. พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.๒๔๙๐ ๓. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ๔. กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ ๕. กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๕ ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ ๖. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย --------------------------------------------------------------------------------------------- 2
  • 3. ๑. พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ตามมาตรา ๑๖๓ แห่งพระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้าไทย พระพุทธศักราช ๒๔๕๖ ได้กาหนดไว้ว่า “ให้เจ้าท่าโดยอนุมัติรัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคมมีอานาจออกกฎข้อบังคับสาหรั บการตรวจเรือ เพื่อกาหนด หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการออกใบสาคัญดังต่อไปนี้ (๑) ใบสาคัญรับรองการตรวจเรือเพื่ออนุญาตให้ใช้เรือ (๒) ใบสาคัญแสดงการตรวจเรือเพื่อจดทะเบียนเรือไทย (๓) ใบสาคัญรับรองเกี่ยวกับความปลอดภัยแห่งชีวิตในทะเล (๔) ใบสาคัญรับรองแนวน้าบรรทุก (๕) ใบสาคัญรับรองการตรวจเรือเพื่อการอื่น ๆ กฎข้อบังคับนั้น เมื่อได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้” ซึ่งได้มีการออกกฎข้อบังคับสาหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ.๒๕๒๘ โดยข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องนั้น อยู่ในหมวด ข. การแบ่งประเภทเรือ ข้อที่ ๘ ข เรือกลประมงทะเล ข.๓.๑ มีขนาดไม่เกิน ๑๐ ตันกรอส ข.๓.๒ ให้เดินห่างฝั่งหรือเกาะได้ในระยะไม่เกิน ๓ ไมล์สาหรับเรือขนาดไม่เกิน ๕ ตันกรอส ส่วนเรือขนาด ตั้งแต่ ๑๐ ตันกรอส บังคับให้ต้องมีดาดฟ้าปิด และเดินห่างฝั่งหรือเกาะได้ในระยะไม่เกิน ๑๕ ไมล์ ในขณะทาการ ประมงให้ออกห่างจากฝั่งได้ไม่เกินแนวเขตทาการตามชนิดของเครื่องมือจับสัตว์น้าชนิดประจาที่ในท้องที่นั้นใน เวลาคลื่นลมสงบ และอยู่ภายในเขตจังหวัดนั้น ๆ จังหวัดเดียว ข.๓.๓ กรณีที่ใช้เครื่องมือจับสัตว์น้าแบบพิเศษ ชนิดอวนลอย ให้ออกห่างจากฝั่งหรือเกาะได้ไม่เกิน ๑๕ ไมล์ ในเวลาที่คลื่นลมสงบ และอยู่ในเขตจังหวัดนั้นๆ จังหวัดเดียว และข้อ ๖ เรือกลเดินทะเลเฉพาะเขตต้องมีลักษณะดังนี้ ๖.๑ มีเครื่องมือเดินเรือสาหรับตรวจหาที่เรือโดยวิชาเดินเรือนาร่องชายฝั่ง ๖.๒ มีเครื่องรับวิทยุตามความเหมาะสม ๖.๓ มีคนประจาเรือตามกฎข้อบังคับนี้ ๖.๔ มีอุปกรณ์ประจาเรือและเครื่องชูชีพตามกฎข้อบังคับ 3
  • 4. ๖.๕ มีเขตการเดินเรือภายในเขตตามแนวชายฝั่งประเทศไทยตามความเหมาะสมแห่งลักษณะทนทะเลที่ กรมเจ้าท่ากาหนด โดยข้อ ๖ แห่งกฎข้อบังคับสาหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ.๒๕๒๘ นั้นได้มีการอ้างถึงในระเบียบ กรมเจ้าท่า ว่าด้วยเขตการเดินเรือของเรือกลเดินทะเลเฉพาะเขตและเรือเดินทะเลที่มิใช่เรือกลเดินภายในประเทศ พ.ศ.๒๕๕๕ ประเด็นจึงมีว่า การจากัดเขตการเดินเรือให้อยู่ภายในจังหวัดสงขลาในใบสาคัญรับรองการตรวจเรือนั้น ใช้ ข้อกฎหมายใด เป็นการใช้อานาจตาม  ข้อ ๘ ข.๓.๓ แห่งกฎข้อบังคับสาหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ.๒๕๒๘ เนื่องจากเรือประมง ดังกล่าวใช้เครื่องมือจับสัตว์น้าแบบพิเศษ ชนิดอวนลอย หรือ  ระเบียบกรมเจ้าท่า ว่าด้วยเขตการเดินเรือของเรือกลเดินทะเลเฉพาะเขตและเรือเดินทะเลที่มิใช่เรือ กลเดินภายในประเทศ พ.ศ.๒๕๕๕ ซึ่งอาศัยอานาจตามข้อ ๖.๕ “มีเขตการเดินเรือภายในเขตตาม แนวชายฝั่งประเทศไทยตามความเหมาะสมแห่งลักษณะทนทะเลที่กรมเจ้าท่ากาหนด” ๒. พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.๒๔๙๐ และเมื่อวิเคราะห์ตามพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.๒๔๙๐ จะพบข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ มาตรา ๖ บรรดาที่จับสัตว์น้าทั้งปวงให้กาหนดเป็น ๔ ประเภท คือ (๑) ที่รักษาพืชพันธุ์ (๒) ที่ว่าประมูล (๓) ที่อนุญาต (๔) ที่สาธารณประโยชน์ มาตรา ๗ ให้คณะกรมการจังหวัดโดยอนุมัติของรัฐมนตรี มีอานาจประกาศกาหนดประเภทที่จับสัตว์น้า ภายในเขตท้องที่ของตนว่า เข้าอยู่ในประเภทที่รักษาพืชพันธุ์ ที่ว่าประมูล หรือที่อนุญาตที่จับ สัตว์น้า ซึ่ง มิได้มี ประกาศ ตามความ ใน วรรคหนึ่งให้ถือเป็นที่สาธารณประโยชน์ มาตรา ๑๖ ที่สาธารณประโยชน์ คือที่จับสัตว์น้าซึ่งบุคคลทุกคนมีสิทธิทาการประมงและเพาะเลี้ยงสัตว์น้า ได้ 4
  • 5. บุคคลใดซึ่งทาการประมงหรือเพาะเลี้ยงสัตว์น้าในที่สาธารณประโยชน์ต้องปฏิบัติ ตามเงื่อนไขที่รัฐมนตรี กาหนด โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๒๑ ห้ามมิให้บุคคลใดทาการแก้ไขเปลี่ยนแปลงที่จับสัตว์น้าซึ่งมิได้อยู่ในที่ดินอันบุคคลถือ กรรมสิทธิ์ให้ผิดไปจากสภาพที่เป็นอยู่ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้รับอนุญาตต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่พนักงานเจ้าหน้าที่กาหนดให้ มาตรา ๒๘ บุคคลใดจะใช้เครื่องมือในพิกัดทาการประมงได้ ต่อเมื่อได้รับ อาชญาบัตรระบุชื่อบุคคลนั้น และเสียเงินอากรตามพระราชบัญญัตินี้แล้ว มาตรา ๒๙ เครื่องมือในพิกัดซึ่งได้รับอาชญาบัตรในท้องที่จังหวัดใดแล้ว ถ้าบุคคลใดประสงค์จะนาไปใช้ ทาการประมงในท้องที่จังหวัดอื่น ซึ่งจะต้องเสียเงินอากรสูงกว่าจะต้องเสียอากรเพิ่มเติมให้ครบตามอัตราในท้องที่ นั้นเสียก่อนจึงจะใช้เครื่องมือนั้นได้ มาตรา ๓๒ รัฐมนตรีหรือข้าหลวงประจาจังหวัดโดยอนุมัติรัฐมนตรีเฉพาะ ภายในเขตท้องที่ของตน มี อานาจประกาศกาหนดได้ดังต่อไปนี้ (๑) กาหนดขนาดตาและระยะช่องเครื่องมือทาการประมงทุกชนิด กาหนดขนาด ชนิด จานวนและ ส่วนประกอบของเครื่องมือทาการประมงที่อนุญาตให้ใช้ในที่จับสัตว์น้า (๒) กาหนดมิให้ใช้เครื่องมือทาการประมงอย่างหนึ่งอย่างใดในที่จับสัตว์น้าโดยเด็ดขาด (๓) กาหนดระยะที่ตงเครื่องมือประจาที่ให้ห่างกันเพียงใด ั้ (๔) กาหนดวิธีใช้เครื่องมือทาการประมงต่าง ๆ (๕) กาหนดฤดูปลาที่มีไข่และวางไข่เลี้ยงลูก กาหนดเครื่องมือที่ให้ใช้และกาหนด วิธีทาการประมงในที่จับ สัตว์น้าใด ๆ ในฤดูดังกล่าว (๖) กาหนดชนิด ขนาด และจานวนอย่างสูงของสัตว์น้าที่อนุญาตให้ทาการประมง (๗) กาหนดมิให้ทาการประมงสัตว์น้าชนิดหนึ่งชนิดใดโดยเด็ดขาด มาตรา ๓๔ ห้ามมิให้บุคคลใดทาการประมงหรือทาการใด ๆ ในเครื่องมือ ประจาที่ของผู้รับอนุญาต หรือ ในบริเวณที่ตั้งเครื่องมือเช่นว่านั้น ตามที่คณะกรมการจังหวัดจะได้ ประกาศกาหนดเขตโดยอนุมัติรัฐมนตรี 5
  • 6. มาตรา ๕๒ โดยอนุมัติรัฐมนตรี ให้คณะกรมการจังหวัดมีอานาจประกาศห้ามมิให้บุคคลอื่นนอกจากผู้รับ อนุญาต เข้าไปในที่จับสัตว์น้าแห่งหนึ่งแห่งใด เว้นแต่ได้รับอนุญาตจากผู้รับอนุญาต หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อน จาก พระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.๒๔๙๐ มีการกาหนดพื้นที่ การประมงอย่างชัดเจน ทั้งหมด ๔ ประเภท ซึ่งประเภทที่ ๔ จะเป็นพื้นที่สาธารณประโยชน์ โดยใน มาตรา ๑๖ ที่สาธารณประโยชน์ คือที่จับสัตว์น้า ซึ่งบุ คคลทุกคนมีสิทธิทาการประมงและเพาะเลี้ ยงสั ตว์น้าได้ ซึ่งเท่ากับว่าทุกคนที่เป็นคนไทยจะมีสิทธิใช้ที่ สาธารณประโยชน์ได้เท่าเทียบกันทุกคน แต่พื้นที่อื่นๆ จะขึ้นอยู่กับแต่ละจังหวัดว่ามีกฎระเบียบ หรือสิทธิในการใช้ประโยชน์พื้นที่ไว้อย่างไรซึ่ง มาตรา ๗ ให้คณะกรมการจังหวัดโดยอนุมัติของรัฐมนตรี มีอานาจประกาศกาหนดประเภทที่จับสัตว์น้าภายในเขต ท้องที่ของตนว่า เข้าอยู่ในประเภทที่รักษาพืชพันธุ์ ที่ว่าประมูล หรือที่อนุญาต รวมทั้ง มาตรา ๓๔ ห้ามมิให้บุคคล ใดทาการประมงหรือทาการใด ๆ ในเครื่องมือประจาที่ของผู้รับอนุญาต หรือในบริเวณที่ตั้งเครื่องมือเช่นว่านั้น ตามที่คณะกรมการจังหวัดจะได้ ประกาศกาหนดเขตโดยอนุมัติรัฐมนตรี ได้มีการประกาศเกี่ยวกับข้อกาหนดไว้ อย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ตามหากมีความจาเป็นที่ต้องประกอบอาชีพประมงในเขตพื้นที่อื่น ก็สามารถดาเนินการได้แต่ ต้องเป็นไปตาม มาตรา ๒๙ เครื่องมือในพิกัดซึ่งได้รับอาชญาบัตรในท้องที่จังหวัดใดแล้ว ถ้าบุคคลใดประสงค์จะ นาไปใช้ทาการประมงในท้องที่จังหวัดอื่น ซึ่งจะต้องเสียเงินอากรสูงกว่าจะต้องเสียอากรเพิ่มเติมให้ ครบตามอัตรา ในท้องที่นั้นเสียก่อนจึงจะใช้เครื่องมือนั้นได้ และตามมาตรา ๕๒ โดยอนุมัติรัฐมนตรี ให้คณะกรมการจังหวัดมี อานาจประกาศห้ามมิให้บุคคลอื่นนอกจากผู้รับอนุญาต เข้าไปในที่จับสัตว์น้าแห่งหนึ่งแห่งใด เว้นแต่ได้รับอนุญาต จากผู้รับอนุญาต หรือพนักงานเจ้าหน้าที่ก่อน แสดงให้เห็นว่าการกาหนดพื้นที่ของเรือประมงให้เดินเรือได้ภายใน จังหวัดนั้น ไม่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการประมง พ.ศ.๒๔๙๐ ๓. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.๒๕๓๙ การออกใบสาคัญรับรองการตรวจเรือเป็น “คาสั่งทางปกครอง” อย่างหนึ่ง ซึ่งมาตรา ๑๒ ได้บัญญัติไว้ว่า “คาสั่งทางปกครองจะต้องกระทาโดยเจ้าหน้าที่ซึ่งมี อานาจหน้าที่ในเรื่องนั้น” 6
  • 7. จึงมีประเด็นในการพิจารณาว่า กรมเจ้าท่ามีอานาจหน้าที่ในการจากัดเขตการเดินเรือได้หรือไม่ ซึงตาม ่ ๔. กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ตามพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ ได้ให้กรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม มีภารกิจเกี่ยวกับการกากับดูแล การส่งเสริม การพัฒนาระบบการ ขนส่งทางน้าและการพาณิชยนาวี ให้มีการเชื่อมต่อกับระบบการขนส่งอื่น ๆ ทั้งการขนส่งผู้โดยสารและสินค้า ท่าเรือ อู่เรือ กองเรือไทย และกิจการเกี่ยวเนื่อง เพื่อให้ประชาชนได้รับความสะดวกรวดเร็ว ทั่วถึง และปลอดภัย ตลอดจนการสนับสนุนภาคการส่งออกให้มีความเข้มแข็ง โดยข้อ ๒๒ แห่งกฎกระทรวงดังกล่าว กาหนดให้สานักมาตรฐานทะเบียนเรือ มีอานาจหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (๑) ดาเนินการเกี่ยวกับทะเบียนเรือตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทยและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง (๒) ดาเนินการเกี่ยวกับใบอนุญาตใช้เรือตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้าไทย (๓) ดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจสภาพเรือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องใช้ประจาเรือ เพื่อออกใบสาคัญ รับรองการตรวจเรือตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้าไทย กฎหมายว่าด้วยเรือไทย และกฎหมายว่าด้วย การป้องกันเรือโดนกัน เพื่อประกอบการออกและต่ออายุใบอนุญาตใช้เรือตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือใน น่านน้าไทย และการออกใบทะเบียนเรือตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทย (๔) ศึกษา เพื่อเสนอแนะนโยบายและแนวทางในการพัฒนาระบบทะเบียนเรือไทย (๕) กากับดูแลและประเมินผลการปฏิบัติงานทะเบียนเรือให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน (๖) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย และ ข้อ ๒๓ สานักมาตรฐานเรือ มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ (๑) ดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจสภาพเรือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องใช้ประจาเรือ เพื่อออกใบสาคัญ รับรองตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ (๒) ดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจอนุมัติแบบแปลนเรือให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้นหรืออนุสัญญา ระหว่างประเทศ ตลอดจนติดตามการปรับปรุงแก้ไขอนุสัญญาระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง (๓) ดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจเรือ สาหรับเรือต่างประเทศที่เดินเรือเข้ามาในน่านน้าไทยตามกฎหมาย ว่าด้วยการนั้น หรืออนุสัญญาหรือความตกลงระหว่างประเทศ 7
  • 8. (๔) ดาเนินการเกี่ยวกับการกาหนดมาตรฐานเรือ อุปกรณ์ประจาเรือ และการตรวจรับรองวัสดุ เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ประจาเรือ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล (๕) ดาเนินการเกี่ยวกับการกาหนดหลักเกณฑ์และกากับดูแลองค์กรที่ได้รับมอบอานาจให้ทาการตรวจเรือ และออกใบสาคัญรับรองตามอนุสัญญาระหว่างประเทศ (๖) ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย ขณะที่ ๕. กฎกระทรวง แบ่งส่วนราชการกรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ.๒๕๔๕ ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ ให้กรมประมงมีภารกิจเกี่ยวกับการศึกษา วิจัยและพัฒนาด้านการประมงเพื่อการจัดการทรัพยากรประมง ควบคุมการทาประมง และการผลิตสัตว์น้า และผลิตภัณฑ์ประมงที่มีมาตรฐานถูกสุขอนามัยให้มีปริมาณเพียงพอ ต่อการบริโภคภายในประเทศ และสามารถแข่งขันในตลาดโลกได้ ตลอดจนใช้ทรัพยากรประมงและทรัพยากรที่ เกี่ยวเนื่องอย่างยั่งยืน ซึ่งในข้อ ๑(๔) ได้ให้กรมประมงมีอานาจหน้าที่กาหนดมาตรการในการทาการประมงและ การใช้ประโยชน์จากสัตว์น้า ควบคุม ป้องกัน และปราบปรามการทาการประมงในแหล่งน้าจืดและทะเล การค้า สัตว์น้าให้เป็นไปตามกฎหมาย ดังนั้น ข้อ ๘ ข.๓.๓ แห่งกฎข้อบังคับสาหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ.๒๕๒๘ ที่กาหนดให้เรือกล ประมงทะล กรณีที่ใช้เครื่องมือจับสัตว์น้าแบบพิเศษ ชนิดอวนลอย ให้ออกห่างจากฝั่งหรือเกาะได้ไม่เกิน ๑๕ ไมล์ ในเวลาที่คลื่นลมสงบ และอยู่ในเขตจังหวัดนั้นๆ จังหวัดเดียวนั้น จึงไม่อาจใช้บังคับได้ เนื่องจาก กรมเจ้าท่ามี อานาจหน้าที่ในการตรวจสภาพเรือ เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องใช้ประจาเรือ เพื่อออกใบสาคัญรับรองการ ตรวจเรือตามกฎหมายว่าด้วยการเดินเรือในน่านน้าไทยเท่านั้น ไม่มีอานาจล่วงล้าไปถึงการตรวจเครื่องมือประมง ซึ่งเป็นอานาจหน้าที่ของกรมประมง และถ้ากรมเจ้าท่าใช้อานาจหน้าที่ตามระเบียบกรมเจ้าท่า ว่าด้วยเขตการเดินเรือของเรือกลเดินทะเล เฉพาะเขตและเรือเดินทะเลที่มิใช่เรือกลเดินภายในประเทศ พ.ศ.๒๕๕๕ ซึ่งอาศัยอานาจตามข้อ ๖.๕ แห่งกฎ ข้อบังคับสาหรับการตรวจเรือ (ฉบับที่ ๑๕) พ.ศ.๒๕๒๘ ว่าให้เรือกลเดินทะเลเฉพาะเขต “มีเขตการเดินเรือภายใน เขตตามแนวชายฝั่งประเทศไทยตามความเหมาะสมแห่งลักษณะทนทะเลที่กรมเจ้าท่ากาหนด” ก็ไม่ปรากฎว่าการ เดินทางข้ามจังหวัดจะขัดต่อความเหมาะสมแห่งลักษณะทนทะเลอย่างไร 8
  • 9. โดยสรุป เมื่อวิเคราะห์จากกฎหมายต่างๆ ข้างต้น จึงไม่ใช่อานาจหน้าที่ของกรมเจ้าท่าในการกาหนด เครื่องมือประมงในขั้นตอนการตรวจเรือด้วย และไม่ปรากฎว่ากรมเจ้าท่าใช้ดุลพินิจใดเป็นพื้นฐานในการห้ามการ เดินเรือข้ามจังหวัด จึงเป็นการใช้อานาจหน้าที่โดยมิชอบ ๖. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๒๖ การใช้อานาจโดยองค์กรของรัฐทุกองค์กร ต้องคานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์สิ ทธิและ เสรีภาพ ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้ มาตรา ๒๙ การจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้ จะกระทามิได้เว้นแต่โดยอาศัย อ านาจตามบทบั ญ ญั ติ แ ห่ ง กฎหมาย เฉพาะเพื่ อ การที่ รั ฐ ธรร มนู ญ นี้ ก าหนดไว้ แ ละเท่ า ที่ จ าเป็ น และจะ กระทบกระเทือนสาระสาคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้ กฎหมายตามวรรคหนึ่งต้องมีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไป และไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใดกรณีหนึ่ง หรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง ทั้งต้องระบุบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่ ให้อานาจในการตรากฎหมาย นั้นด้วย บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสองให้นามาใช้บังคับกับกฎที่ออกโดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่ง กฎหมายด้วยโดยอนุโลม มาตรา ๓๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการเดินทางและมีเสรีภาพในการเลือกถิ่นที่อยู่ภายในราชอาณาจักร การจากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่ง จะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อยหรือสวัสดิภาพของประชาชน การผังเมือง หรือเพื่อสวัสดิภาพ ของผู้เยาว์ การเนรเทศบุคคลผู้มีสัญชาติไทยออกนอกราชอาณาจักร หรือห้ามมิให้บุคคลผู้มีสัญชาติไทยเข้ามาใน ราชอาณาจักร จะกระทามิได้ มาตรา ๔๓ บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแข่งขันโดยเสรีอย่าง เป็นธรรม การจากัดเสรีภาพตามวรรคหนึ่งจะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เฉพาะเพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของรัฐหรือเศรษฐกิจของประเทศ การคุ้มครองประชาชนในด้าน 9
  • 10. สาธารณูปโภค การรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การจัดระเบียบการประกอบอาชีพ การคุ้มครองผู้บริโภค การผังเมือง การรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อม สวัสดิภาพของประชาชน หรือ เพื่อป้องกันการผูกขาดหรือขจัดความไม่เป็นธรรมในการแข่งขัน ดังนั้น การที่กรมเจ้าท่าออกใบสาคัญรับรองการตรวจเรือ โดยกาหนดให้เรือกลประมงทะเลชั้น ๓ ที่มี ขนาดไม่เกิน ๕ ตันกรอส เดินเรือได้เพียงเฉพาะภายในจังหวัดสงขลาเท่านั้น จึงขัดกับสิทธิเสรีภาพในการเดินทาง และการประกอบอาชีพตามมาตรา ๓๔ และมาตรา ๔๓ ด้วย 10
  • 11. รายชื่อผู้จัดทา 1. อาจารย์ประภาพร แสงกาญจนวนิช อาจารย์ประจาคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 2. นายณัฏฐาทัศน์ เจ้ยเปี้ยว นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 3. นายเอกลักษณ์ ระกา นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 4. นายธนภัทร หลักเพชร นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 5. นายประสิทธิ์ สถิรวณิชย์ นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 6. นางสาวนริศรา แก้วชุติมา นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม 7. นางสาวสิฐินันท์ พรหมมณี นักศึกษาปริญญาโท คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 11