SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
1 
สารบัญ 
ความต้องการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นตามรายได้ประชาชาติ.............. 2 
ไฟฟ้าความจำเป็นต่อเศรษฐกิจและสังคม.............................. 3 
ประเทศไทยพึ่งพาก๊าซธรรมชาติมากเกินไปหรือเปล่า........... 4 
ก๊าซธรรมชาติในประเทศมีเหลือใช้ถึงปี 2575 
หรืออีก 21 ปี................................................................... 5 
ปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติ และแหล่งที่มา.......................... 6 
การผลิตไฟฟ้าส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม............................. 7 
เราคำนึงถึงอะไรบ้างในการเลือกเชื้อเพลิง 
เพื่อใช้ผลิตไฟฟ้า............................................................... 8 
การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า 
- ก๊าซธรรมชาติ................................................................ 9 
- ถ่านหิน........................................................................ 10 
- น้ำมัน.......................................................................... 11 
- ชีวมวล........................................................................ 12 
- แสงอาทิตย์................................................................. 13 
- น้ำ............................................................................... 14 
- ลม............................................................................... 15 
- ก๊าซชีวภาพ................................................................. 16 
- ขยะ............................................................................. 17 
- นิวเคลียร์..................................................................... 18 
ต้นทุนการผลิตของโรงไฟฟ้าประเภทต่างๆ.......................... 19 
ปริมาณการใช้ไฟฟ้าสูงสุด หรือ Peak Demand................ 20 
ลักษณะการใช้ไฟฟ้าในแต่ละวัน.......................................... 21 
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความต้องการ 
ไฟฟ้าสูงสุด.................................................................... 22 
ประเภทโรงไฟฟ้าที่ใช้แยกตามความต้องการใช้ไฟฟ้า 
ในแต่ละวัน.................................................................... 23 
ประเภทของโรงไฟฟ้าที่ใช้ในแต่ละช่วงเวลา......................... 24 
นโยบายเพื่อความมั่นคงในการจัดหาพลังงานไฟฟ้า............ 27 
แผนการจัดหาไฟฟ้าของประเทศไทย.................................. 28 
จุดเด่นแผน PDP 2010....................................................... 29 
สมมุติฐานในการจัดทำแผน PDP........................................ 30 
สัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าแยกตาม 
ประเภทเชื้อเพลิงตามแผนกำลังผลิตไฟฟ้า.................... 33 
กำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง......................................................... 34 
การคิดค่าไฟฟ้าประเภทต่างๆ............................................. 35 
การขออนุญาตจัดตั้งโรงไฟฟ้าในประเทศไทย...................... 36 
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขออนุญาตจัดตั้งโรงไฟฟ้า........ 37 
กองทุนพัฒนาไฟฟ้า............................................................. 39 
การดำเนินงานของกองทุนรอบโรงไฟฟ้า............................. 43
ความต้องการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นตามรายได้ประชาชาติ
2 
140,000 
120,000 
100,000 
80,000 
60,000 
40,000 
20,000 
0 
4,500 
4,000 
3,500 
3,000 
2,500 
2,000 
1,500 
1,000 
500 
0 
 () 

		 (
) 
2524 
2525 
2526 
2527 
2528 
2529 
2530 
2531 
2532 
2533 
2534 
2535 
2536 
2537 
2538 
2539 
2540 
2541 
2542 
2543 
2544 
2545 
2546 
2547 
2548 
2549 
2550 
2551 
2552 
ที่ผ่านมาประเทศไทยมีอัตราการเติบโตของรายได้ประชาชาติเฉลี่ย 
ปีละประมาณ 4% และมีอัตราการเจริญเติบโตของการใช้ไฟฟ้าเฉลี่ยปีละ 
ประมาณ 4.2% 
การมีไฟฟ้าใช้อย่างทั่วถึงเพียงพอช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ ขณะเดียวกัน 
ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจก็ทำให้ความต้องการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
3 
6,000 
5,000 
4,000 
3,000 
2,000 
1,000 
0 
ไฟฟ้าความจำเป็นต่อเศรษฐกิจและสังคม 
เพื่อสนองความต้องการไฟฟ้าของ 
ทุกภาคเศรษฐกิจให้ได้อย่างมั่นคง 
ทั่วถึงเพียงพอ แล้วประเทศไทย 
ใช้เชื้อเพลิงอะไรมาผลิตไฟฟ้า 
อุตสาหกรรม 52% 
บ้านที่อยู่อาศัย 27% 
ธุรกิจ 18% 
อื่นๆ 2.8% 
เกษตรกรรม 0.2% 
ข้อมูล ปี พ.ศ. 2551-2552 (ต.ค.)
ประเทศไทยพึ่งพาก๊าซธรรมชาติมากเกินไปหรือเปล่า 
4 
เชื้อเพลิงฟอสซิล (ก๊าซธรรมชาติ 
ถ่านหิน น้ำมัน) มีสัดส่วนประมาณ 70% 
ในการผลิตไฟฟ้าทั่วโลกและจะยังคง 
เป็นเชื้อเพลิงหลักต่อไปอีก 
70 
60 
50 
40 
30 
20 
10 
0

 

 
%
ก๊าซธรรมชาติในประเทศมีเหลือใช้ถึงปี 2575 หรืออีก 21 ปี 
5 
Unit: 
MMscfd 
Arthit North FPSO 
Bongkot North 
Arthit CPP 
Bongkot South 
MTJDA B17 Additional 
B8/32 
Pailin 
Unocal gas II 
Unocal 123 
MTJDA B17 
MTJDA A18 
4,000 
3,500 
3,000 
2,500 
2,000 
1,500 
1,000 
500 
0 
2008 
2010 
2012 
2014 
2016 
2018 
2020 
2022 
2024 
2026 
2028 
2030 
2032 
ที่มา : ปตท. 2011, พิจารณาจากปริมาณสำรอง (2P) 22.87 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต
ปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติ และแหล่งที่มา 
2549 2550 2551 2552 2553 
6 
หน่วย:ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน 
5,000 
4,500 
4,000 
3,500 
3,000 
2,500 
2,000 
1,500 
1,000 
0 
2548 
ผลิตในประเทศ นำเข้า 
500 
ที่มา : สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
การผลิตไฟฟ้าส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม 
ปริมาณการปล่อยมลพิษทางอากาศจากการใช้พลังงานจำแนกตามชนิดปี 2551 
7 
1/ อื่นๆ ประกอบด้วย เกษตรกรรม ก่อสร้าง และเหมืองแร่ 
หน่วย : 1,000 ตัน 
สาขา CO2 CO NOx CH4 SO2 
ขนส่ง 52,379 514 237 20 11 
ไฟฟ้า 83,370 68 261 7 353 
อุตสาหกรรมการผลิต 45,023 200 219 5 295 
บ้านและธุรกิจการค้า 6,389 2,484 35 52 0 
อื่นๆ1/ 10,984 105 171 1 4
เราคำนึงถึงอะไรบ้างในการเลือกเชื้อเพลิงเพื่อใช้ผลิตไฟฟ้า 
8 
1. ต้องมีแหล่งสำรองเชื้อเพลิงที่มี 
ปริมาณเพียงพอและแน่นอน เพื่อ 
ความมั่นคงในการจัดหา 
2. ต้องมีการกระจายแหล่งและชนิด 
ของเชื้อเพลิงเพื่อลดความเสี่ยง 
จากการพึ่งพาเชื้อเพลิงจากแหล่ง 
หรือชนิดเดียว 
3. ต้องเป็นเชื้อเพลิงที่มีราคาเหมาะสม 
และมีเสถียรภาพ 
4. ต้องเป็นเชื้อเพลิงที่เมื่อนำมาผลิต 
ไฟฟ้าแล้วสามารถควบคุมมลพิษ 
ให้อยู่ในระดับมาตรฐานคุณภาพที่ 
สะอาดยอมรับได้ 
5. ต้องใช้ทรัพยากรพลังงานภายใน 
ประเทศที่มีอยู่อย่างจำกัด ให้เกิด 
ประโยชน์สูงสุด
การใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า 
ข้อดี 
l เป็นเชื้อเพลิงปิโตรเลียมที่นำมาใช้งานได้อย่างมี 
ประสิทธิภาพสูง มีการเผาไหม้สมบูรณ์ 
l มีความปลอดภัยสูงในการใช้งาน เนื่องจากเบากว่า 
อากาศ จึงลอยขึ้นเมื่อเกิดการรั่ว 
l ก๊าซธรรมชาติส่วนใหญ่ที่ใช้ในประเทศไทยผลิตได้เอง 
จากแหล่งในประเทศ จึงช่วยลดการนำเข้าพลังงาน 
เชื้อเพลิงอื่นๆ และประหยัดเงินตราต่างประเทศได้มาก 
ข้อจำกัด 
l ราคาก๊าซธรรมชาติไม่คงที่ผูกติดกับราคาน้ำมันซึ่ง 
ผันแปรอยู่ตลอดเวลา 
l ประเทศไทยใช้ก๊าซธรรมชาติในสัดส่วนที่สูงมากจนเกิด 
ความเสี่ยงของแหล่งพลังงาน 
l กำลังสำรองก๊าซธรรมชาติในประเทศไทยมีปริมาณ 
จำกัด 
9
การใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า 
ข้อดี 
l ต้นทุนในการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงถ่านหินต่ำกว่า 
เชื้อเพลิงอื่นๆ เช่น ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน และพลังงาน 
หมุนเวียน 
l มีปริมาณสำรองมาก สามารถใช้ได้ไม่ต่ำกว่า 200 ปี 
l ปัจจุบันสามารถใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด ทำให้กำจัด 
มลพิษจากการใช้ถ่านหินหมดไป 
ข้อจำกัด 
l ต้องใช้ระบบควบคุมมลภาวะทางอากาศที่มีราคาแพง 
เนื่องจากการเผาไหม้ถ่านหินเป็นสาเหตุสำคัญของ 
ฝนกรดและภาวะโลกร้อน 
l ประเทศไทยต้องนำเข้าถ่านหินคุณภาพดีจากต่างประเทศ 
l ต้องมีระบบการจัดการขนส่งที่ดี 
l ยังมีภาพลักษณ์ที่น่ากลัวในสายตาประชาชน 
10
การใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า 
11 
ข้อดี 
l ขนส่งง่าย 
l หาซื้อได้ง่าย 
l เป็นเชื้อเพลิงที่ไม่ได้รับการต่อต้าน 
จากชุมชน 
ข้อจำกัด 
l ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ 
l ราคาไม่คงที่ ขึ้นกับราคาน้ำมันของตลาดโลก 
l ทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจกซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน 
l ไฟฟ้าที่ผลิตได้มีต้นทุนต่อหน่วยสูง
การใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า 
ข้อดี 
l ใช้ประโยชน์จากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร จึงเป็น 
แหล่งพลังงานหมุนเวียน 
l เป็นการผลิตกระแสไฟฟ้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 
ไม่ก่อให้เกิดสภาวะเรือนกระจก 
l เสริมความมั่นคงต่อระบบผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 
ข้อจำกัด 
l ชีวมวลเป็นวัสดุที่เหลือใช้จากการแปรรูปทางการเกษตร 
มีปริมาณสำรองที่ไม่แน่นอน 
l การบริหารจัดการเชื้อเพลิงทำได้ยาก 
l ราคาชีวมวลแนวโน้มสูงขึ้น เนื่องจากมีความต้องการใช้ 
เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ 
l ชีวมวลที่มีศักยภาพเหลืออยู่ มักจะอยู่กระจัดกระจาย 
มีความชื้นสูงจึงทำให้ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าสูงขึ้น เช่น 
ใบอ้อยและยอดอ้อย ทะลายปาล์ม เป็นต้น 
12
การใช้แสงอาทิตย์เป็นพลังงานในการผลิตไฟฟ้า 
ข้อดี 
l เป็นแหล่งพลังงานธรรมชาติขนาดใหญ่ที่สุด และสามารถ 
ใช้เป็นพลังงานได้ไม่มีวันหมด 
l ไม่มีค่าใช้จ่ายในเรื่องเชื้อเพลิง 
l สามารถนำไปใช้ในแหล่งที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ และอยู่ห่าง 
ไกลจากระบบสายส่งและสายจำหน่ายไฟฟ้า 
l การใช้ประโยชน์ไม่ยุ่งยาก การดูแลรักษาง่าย 
l เป็นพลังงานสะอาด ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะจากกระบวนการ 
ผลิตไฟฟ้า 
ข้อจำกัด 
l ยังไม่สามารถดำเนินการได้ในเชิงพาณิชย์ เนื่องจาก 
แผงเซลล์และอุปกรณ์ส่วนควบยังมีราคาแพง 
l แบตเตอรี่ซึ่งเป็นตัวกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ไว้ใช้ 
ในเวลากลางคืนมีอายุการใช้งานต่ำ 
l ความเข้มของแสงไม่คงที่และสม่ำเสมอ เนื่องจาก 
สภาพอากาศและฤดูกาล 
13
14 
การใช้น้ำเป็นพลังงานในการผลิตไฟฟ้า 
ข้อดี 
l ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อเชื้อเพลิง นอกจากใช้ 
เงินลงทุนก่อสร้าง 
l ไม่ก่อให้เกิดก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์จากการผลิต 
ไฟฟ้า 
l โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดใหญ่มีขีดความสามารถ 
สูงในการรักษาความมั่นคงให้แก่ระบบไฟฟ้า สำหรับ 
รองรับช่วงเวลาที่มีความต้องการใช้กระแสไฟฟ้า 
สูงสุด 
ข้อจำกัด 
l การเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าขึ้นกับปริมาณน้ำ ในช่วงที่ 
สามารถปล่อยน้ำออกจากเขื่อนได้ 
l การก่อสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ในประเทศไทยมีข้อจำกัด 
เนื่องจากอ่างเก็บน้ำของเขื่อนขนาดใหญ่จะทำให้เกิด 
น้ำท่วมเป็นบริเวณกว้าง ส่งผลกระทบต่อบ้านเรือน 
ประชาชน
การใช้ลมเป็นพลังงานในการผลิตไฟฟ้า 
ข้อดี 
l เป็นแหล่งพลังงานที่ได้จากธรรมชาติ ไม่มีค่าเชื้อเพลิง 
l เป็นแหล่งพลังงานสะอาด ใช้พื้นที่น้อย 
l มีแค่การลงทุนครั้งแรก 
l สามารถใช้ระบบไฮบริดเพ่อืให้เกิดประโยชน์สูงสุด คือ 
กลางคืนใช้พลังงานลม กลางวันใช้พลังงานแสงอาทิตย์ 
ข้อจำกัด 
l ลมในประเทศไทยมีความเร็วค่อนข้างต่ำ 
l พื้นที่ที่เหมาะสมมีจำกัด 
l ขึ้นอยู่กับสภาวะอากาศ บางฤดูอาจไม่มีลม 
l ต้องใช้แบตเตอรี่ราคาแพงเป็นแหล่งเก็บพลังงาน 
l ขาดเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับศักยภาพลมในประเทศ 
และขาดบุคลากรผู้เชี่ยวชาญ 
15
การใช้ก๊าซชีวภาพเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า 
ข้อดี 
l ช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมเรื่องกลิ่น ของเสีย และลด 
ต้นทุนในการบำบัดน้ำเสีย 
l ไม่มีต้นทุนเชื้อเพลิง 
l ลดการปล่อยก๊าซมีเทนออกสู่บรรยากาศ ซึ่งช่วยลด 
ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก 
l ลดค่าใช้จ่ายและสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการ โดย 
ผู้ประกอบการสามารถนำก๊าซชีวภาพใช้ในการผลิต 
ไฟฟ้าเพื่อใช้ในกิจการของตนเอง หรือขายไฟฟ้าให้กับ 
การไฟฟ้า 
ข้อจำกัด 
l ระบบต้องการพื้นที่ค่อนข้างมาก 
l ต้นทุนการติดตั้งระบบสูง 
l ต้องมีระบบกำจัดก๊าซเสีย 
l ต้องมีผู้เชี่ยวชาญดูแล 
16
การใช้ขยะเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า 
ข้อดี 
l เป็นแหล่งพลังงานราคาถูก 
l ลดปัญหาเรื่องการกำจัดขยะ 
l โรงไฟฟ้าขยะจากการฝังกลบช่วยลดภาวะโลกร้อน 
ข้อจำกัด 
l เทคโนโลยีบางชนิดใช้เงินลงทุนสูง ถ้าขนาดเล็กเกินไปจะไม่คุ้มการลงทุน 
l มีค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะให้เหมาะสมก่อนนำไปแปรรูปเป็นพลังงาน 
l ต้องมีเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการกับฝุ่นควันและสารที่เกิดขึ้นจากการเผาขยะ ตัวอย่างเช่น 
ฝุ่นควันที่เกิดจากโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงขยะอาจมีโลหะหนัก เช่น ตะกั่วหรือแคดเมียมปนอยู่ หรือการ 
เผาขยะอาจทำให้เกิดไดอ๊อกซิน ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง 
l โรงไฟฟ้าขยะมักได้รับการต่อต้านจากชุมชนที่อยู่ใกล้เคียง 
l ข้อจำกัดทางด้านการเป็นเจ้าของขยะ เช่น ผู้ลงทุนตั้งโรงไฟฟ้าอาจไม่ใช่เจ้าของขยะ (เทศบาล ฯลฯ) 
ทำให้กระบวนการเจรจาแบ่งสรรผลประโยชน์มีความล่าช้า 
17
การใช้นิวเคลียร์เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า 
ข้อดี 
l เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ โดยมีต้นทุนการผลิตไฟฟ้าที่แข่งขันได้กับโรงไฟฟ้าชนิดอื่นๆ 
l เป็นโรงไฟฟ้าที่สะอาด ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ และก๊าซเรือนกระจก 
l ช่วยเสริมสร้างความมั่นคงให้ระบบผลิตไฟฟ้า เนื่องจากใช้เชื้อเพลิงน้อย ทำให้มีเสถียรภาพในการจัดหา 
เชื้อเพลิง และราคาเชื้อเพลิงมีผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตเล็กน้อย 
l มีแหล่งเชื้อเพลิงมากมาย เช่น แคนาดาและออสเตรเลีย และราคาไม่ผันแปรมากเมื่อเทียบกับเชื้อเพลิง 
ฟอสซิล 
ข้อจำกัด 
l ใช้เงินลงทุนในการก่อสร้างสูง 
l จำเป็นต้องเตรียมโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนา 
บุคลากรเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมี 
ประสิทธิภาพ 
l ต้องการการเตรียมการจัดการกากกัมมันตรังสี และ 
มาตรการควบคุมความปลอดภัยเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ 
l ยังไม่เป็นที่ยอมรับของประชาชน ประชาชนมีข้อ 
กังวลใจในเรื่องความปลอดภัย 
18
ต้นทุนการผลิตของโรงไฟฟ้าประเภทต่างๆ 
19 
ต้นทุน/หน่วยไฟฟ้า บาท/Kwh* 
1. แสงอาทิตย์ 12.50 
2. ลม 5.20 
3. ขยะ 3-5 
4. ชีวมวล 3-3.50 
5. นิวเคลียร์ 2.79 
6. ถ่านหิน 2.94 
7. พลังงานความร้อนร่วม 3.96 
(Gas Existing) 
8. พลังงานร้อนรวม 4.34 
(Marginal Gas) 
9. กังหันแก๊ส 13.65 
ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 2553 
*หมายเหตุ: ไม่รวมค่าดูแลสิ่งแวดล้อม
ปริมาณการใช้ไฟฟ้าสูงสุด หรือ Peak Demand 
24,000 
20,000 
18,000 
16,000 
ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้สูงสุด จะเป็นตัวกำหนดกำลังการผลิตไฟฟ้าและการสร้างโรงไฟฟ้า เพื่อให้มีกำลังไฟฟ้า 
เพียงพอในเวลาที่ต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด 
20 
14,000 
.. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. 
22,000 
10 .. 53 14.00 . 24,630  
 (MW)
52 = 15.3% 
2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553
21 
เมกะวัตต์ 
เวลา 
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 
24,000 
21,000 
18,000 
15,000 
12,000 
9,000 
6,000 
3,000 
0 
ลักษณะการใช้ไฟฟ้าในแต่ละวัน 
ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดจะอยู่ในช่วงเวลา 
ประมาณ 14.00-20.00 น. ซึ่งความต้องการ 
ใช้ไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้าแต่ละกลุ่มจะมีความ 
แตกต่างกันไป
องศาเซลเซียส เมกะวัตต์ 
40 40,000 
ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด อุณหภูมิสูงสุด 
22 
35,000 
30,000 
25,000 
20,000 
15,000 
10,000 
5,000 
0 
35 
30 
25 
20 
15 
10 
5 
2549 
ม.ค. 
ม.ค. 
ม.ค. 
ม.ค. 
ม.ค. 
2550 2551 2552 2553 
อุณหภูมิเฉลี่ย 
ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความต้องการไฟฟ้าสูงสุด 
ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา และสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
ประเภทโรงไฟฟ้าที่ใช้แยกตามความต้องการใช้ไฟฟ้าในแต่ละวัน 
วันที่ 24 เมษายน 2552 ประเภทของโรงไฟฟ้า
 




23 
0 
26,000 
24,000 
22,000 
20,000 
18,000 
16,000 
14,000 
12,000 
10,000 
8,000 
6,000 
4,000 
2,000 
0
6 12 18 24 
 
 () 
File : pc636_06/G:/EGAT DLC (BY PLANT, FUEL) 2007
ที่ใช้ขึ้นอยู่กับความ 
เหมาะสมของความ 
ต้องการใช้ในแต่ละ 
ช่วงเวลา เพื่อความมี 
ประสิทธิภาพของระบบ 
และต้นทุนค่าไฟฟ้าที่ 
เหมาะสมเพราะโรงไฟฟ้า 
แต่ละประเภท มีความ 
เหมาะสมในการผลิต 
ไฟฟ้าตามความต้องการ 
ในแต่ละช่วงเวลาที่ 
ต่างกัน และโรงไฟฟ้า 
แต่ละประเภทก็มีการใช้ 
เชื้อเพลิงที่แตกต่างกัน
ประเภทของโรงไฟฟ้าที่ใช้ในแต่ละช่วงเวลา 
24 
โรงไฟฟ้าที่ผลิตไฟฟ้าตาม 
ความต้องการพื้นฐาน (Base Load 
Plant) 
เป็นโรงไฟฟ้าที่ต้องเดินเครื่องอยู่ 
ตลอดเวลา จึงเป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิง 
ราคาถูกเป็นลำดับแรก ได้แก่ โรงไฟฟ้า 
พลังความร้อน (Thermal) ใช้ถ่านหินเป็น 
เชื้อเพลิง เช่น โรงไฟฟ้าแม่เมาะหรือ 
โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combined 
Cycle) ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง 
เช่น โรงไฟฟ้าวังน้อย เป็นต้น 
โรงไฟฟ้าวังน้อย 
โรงไฟฟ้าแม่เมาะ 
โรงไฟฟ้าพระนครใต้ 
โรงไฟฟ้าจะนะ โรงไฟฟ้าบีแอลซีพี
ประเภทของโรงไฟฟ้าที่ใช้ในแต่ละช่วงเวลา 
โรงไฟฟ้าน้ำพอง 
25 
โรงไฟฟ้าที่ผลิตพลังงาน 
ไฟฟ้าช่วงที่มีความต้องการไฟฟ้า 
ปานกลาง (Intermediate Plant) 
จะใช้โรงไฟฟ้าพลังความร้อน 
ร่วม (Combined Cycle) ซึ่งใช้ก๊าซ 
ธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงและหากก๊าซ 
ธรรมชาติมีไม่เพียงพอหรือขาดแคลน 
จะต้องใช้น้ำมันดีเซลแทน ในกรณีที่ 
เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมจึงทำให้ 
ต้นทุนเชื้อเพลิงสูงขึ้น 
โรงไฟฟ้าราชบุรี 
โรงไฟฟ้าสุราษฎร์ธานี โรงไฟฟ้าขนอม
ประเภทของโรงไฟฟ้าที่ใช้ในแต่ละช่วงเวลา 
26 
โรงไฟฟ้าที่ผลิตพลังงานไฟฟ้า 
ช่วงที่มีความต้องการไฟฟ้าสูงสุด 
(Peaking Plant) 
มีลักษณะของการเดินเครื่อง เป็น 
ช่วงเวลาที่มีความต้องการไฟฟ้าสูงสุด 
เท่านั้น ได้แก่ โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ ซึ่งใช้ 
น้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง เขื่อนและโรงไฟฟ้า 
พลังน้ำแบบสูบกลับ 
โรงไฟฟ้าสูบกลับ 
ลำตะคอง 
โรงไฟฟ้าหนองจอก 
เขื่อนภูมิพล
นโยบายเพื่อความมั่นคงในการจัดหาพลังงานไฟฟ้า 
27 
l พัฒนาพลังงานไฟฟ้าให้ประเทศไทยสามารถ 
พึ่งตนเองได้มากขึ้น 
l มีการกระจายชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช้ในการ 
ผลิตไฟฟ้า 
l ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน 
ในโครงการผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก (SPP) และขนาด 
เล็กมาก (VSPP) 
l เพิ่มบทบาทของภาคเอกชนเพื่อประสทิธภิาพ 
ในการจัดหาพลังงานช่วยลดภาระการลงทุนของ 
ภาครัฐ 
l ส่งเสริมการจัดหาพลังงานเพื่อลดผลกระทบ 
ต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน และลดปริมาณ 
ก๊าซเรือนกระจก
28 
แผนการจัดหาไฟฟ้าของประเทศไทย 
แผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศ 
(Power Development Plan : PDP) 
l เป็นแผนการจัดหาไฟฟ้าในระยะยาว เพื่อ 
ให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ ในการพัฒนา 
คุณภาพชีวิตของประชาชนและเพื่อการพัฒนา 
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ 
l โดยจะมีการทบทวนแผนดังกล่าวเป็นระยะๆ 
เพื่อให้การจัดหาไฟฟ้าสามารถรองรับความ 
ต้องการไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ระดับที่ 
เหมาะสม สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจที่ 
เปลี่ยนแปลง 
l มีการพิจารณาประเภทของโรงไฟฟ้า การ 
กระจายเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า การขยายระบบ 
ส่งไฟฟ้า ประมาณการเงินลงทุน ผลกระทบต่อ 
ค่าไฟฟ้า ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ฯลฯ 
เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายที่กำหนด
สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ 
ปรับแผนการลงทุนไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชน 
29 
จุดเด่นแผน PDP 2010 
แผน PDP 2010 
ส่งเสริมความยั่งยืน 
ทางพลังงาน 
เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมประสิทธิภาพ 
โรงไฟฟ้า และพลังงานหมุนเวียน 
ปริมาณสำรองเพียงพอ 
สอดคล้องกับสถานการณ์ 
ด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศ 
ความมั่นคงของระบบไฟฟ้า 
โดยกระจายแหล่งเชื้อเพลิง 
ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน 
เพื่อปรับลดค่าพยากรณ์ 
ความต้องการใช้ไฟฟ้า 
สร้างความเชื่อมั่นในการลงทุน 
ตามแผน PDP และระบบส่งไฟฟ้า
สมมุติฐานในการจัดทำแผน PDP 
1. สมมุติฐานค่าพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้า โดยใช้ประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) 
เป็นฐานในการพยากรณ์ 
l ปี 2553-2554 ใช้ GDP ที่ประกอบการจัดทำงบประมาณประจำปี 2554 
30 
ของ 3 การไฟฟ้า 
l ปี 2555 เป็นต้นไป ใช้ GDP ระยะยาว จากผลการศึกษาของ 
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ภายใต้การกำกับของสำนักงานนโยบาย 
และแผนพลังงาน และ สำนักงานเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 
6 
5 
4 
3 
2 
1 
0 
-1 
-2 
-3 
-4 
Final NIDA 
PDP 2010
31 
สมมุติฐานในการจัดทำแผน PDP 
2. สมมุติฐานด้านความมั่นคงของระบบไฟฟ้า 
l กำลังผลิตไฟฟ้าสำรองของระบบไฟฟ้า ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 15 โดยพิจารณาความเสี่ยงจากการใช้ 
ก๊าซธรรมชาติประกอบ 
l กระจายเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าที่หลากหลาย เพื่อลดการพึ่งพา 
ก๊าซธรรมชาติ 
l สัดส่วนการรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน โดยซื้อไฟฟ้าจาก 2 ประเทศ ไม่เกิน 25% ของกำลังผลิต 
ทั้งหมด
32 
สมมุติฐานในการจัดทำแผน PDP 
3. สมมุติฐานด้านสิ่งแวดล้อม (Green PDP) 
l การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า (DSM) 
n นำผลการประหยัดพลังงานไฟฟ้าออกจากความต้องการ เพื่อ 
ลดการจัดหา 
l การส่งเสริมพลังงานหมุนเวียน VSPP 
n ภายในปี 2573 ประเทศจะมีการจัดหาไฟฟ้า จากพลังงาน 
หมุนเวียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 5 
l การส่งเสริมระบบ Cogeneration 
n ปี 2558-2564 รับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ระบบ Cogeneration 
ประเภท Firm ประมาณ 2,000 เมกะวัตต์ 
n ปี 2565-2573 กำหนดให้มีปริมาณ SPP ระบบ Cogeneration 
เพิ่มขึ้นปีละ 360 เมกะวัตต์ 
l การลดภาวะโลกร้อน ลด CO2 
n กำหนดเป้าหมายลดปริมาณการปล่อย CO2 ต่อหน่วยพลังงาน 
ไฟฟ้าในปี 2563 ให้อยู่ในระดับ 0.387 kg CO2 / kWh
สัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าแยกตามประเภทเชื้อเพลิงตามแผนกำลังผลิตไฟฟ้า 
PDP2010 : (GDP กรณีฐาน) 
33 
 
360,000 
320,000 
280,000 
240,000 
200,000 
160,000 
120,000 
80,000 
40,000 
0
 
 
	 
 
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573 

  
68% 66% 64% 64% 64% 62% 59% 59% 
59% 
58% 
54% 
49% 
48% 
47% 
46% 
45% 
43% 44% 
39% 
39% 
39% 
8% 9% 10% 10% 11% 12% 11% 11% 10% 11% 12% 
13% 13% 
15% 14% 13% 17% 16% 
19% 20% 
21% 
11% 11% 10% 10% 9% 9% 9% 8% 8% 8% 
7% 
7% 7% 6% 
6% 
5% 4% 4% 
4% 
6% 
6% 
6% 
6% 
6% 
6% 
6% 
6% 
6% 
6% 
6% 
6% 
6% 
6% 
6% 
6% 6% 6% 8% 11% 10% 10% 12% 11% 11% 
14% 
14% 
15% 
16% 
17% 
17% 
17% 
18% 
18% 
18% 
18% 
19% 
19% 
13% 
13% 
7% 
7% 
6% 
8% 
7% 
5% 
5% 
5% 
6% 
3% 2% 
3%
34 
กำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง 
กำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง 
คือ กำลังผลิตไฟฟ้าที่วางแผนการผลิต 
ให้มีมากกว่าปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด 
ในเวลาปกติจำนวนหนึ่ง เนื่องจากการก่อสร้าง 
โรงไฟฟ้าต้องใช้เวลานาน และปริมาณความ 
ต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศคาดการณ์ได้ยาก 
ถ้ามีกำลังผลิตไฟฟ้าสำรองไม่เพียงพอกับ 
ความต้องการอาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ 
ของประเทศได้ 
การทำนายกำลังผลิตไฟฟ้าสำรองนี้ ต้องใช้ 
ข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการไฟฟ้าในอดีต และ 
ปัจจุบัน กำลังการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าต่างๆ 
ที่มีอยู่ในประเทศ การหยุดซ่อมของโรงไฟฟ้าและ 
ระยะเวลาในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ มาใช้ 
คำนวณ เพื่อคาดการณ์ปริมาณไฟฟ้าที่ต้องการ 
ผลิตได้ทั้งหมด
ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม 
35 
การคิดค่าไฟฟ้าประเภทต่างๆ 
ค่าไฟฟ้าปัจจุบัน ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 
1. ค่าไฟฟ้าฐาน กำหนดจากค่าลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้า 
สายส่งไฟฟ้า สถานีจ่ายไฟฟ้า และค่าเชื้อเพลิง ค่าไฟฟ้าฐาน 
มีอัตราแน่นอน โดยแบ่งตามผู้ใช้ไฟฟ้า 7 ประเภท อัตรา 
ค่าไฟฟ้าฐานมีการปรับปรุงครั้งล่าสุดเมื่อปี 2534 และ 
ได้แยกภาษีมูลค่าเพิ่มออกเมื่อเดือนมกราคม 2540 
ปัจจุบันยังไม่มีการปรับ ซึ่งหากมีการปรับอัตราค่าไฟฟ้าฐานต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ 
ค่าไฟฟ้าฐานจะแสดงในรายการค่าไฟฟ้าในใบเสร็จรับเงิน 
2. ค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) คือ ค่าไฟฟ้าที่ปรับเปลี่ยนตามต้นทุนการผลิต ระบบส่ง และระบบจำหน่าย 
เนื่องมาจากปัจจัยที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของการไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละเดือน ปัจจุบันจะทำการ 
ปรับ 4 เดือนต่อครั้ง การปรับค่าไฟฟ้าผันแปรดำเนินการโดยคณะอนุกรรมการกำกับสูตรการปรับอัตรา 
ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการพิจารณานโยบายพลังงาน ทั้งนี้ค่าไฟฟ้าผันแปร 
จะแสดงในช่อง Ft ส่วนเพิ่ม/ส่วนลด ในใบเสร็จค่าไฟฟ้าหรือใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้า 
3. ภาษีมูลค่าเพิ่ม คิดเป็นร้อยละ 7 ของค่าไฟฟ้าฐานรวมกับค่าไฟฟ้าผันแปร

More Related Content

Similar to Power2554

Energy Transition and Climate Change 2024
Energy Transition and Climate Change 2024Energy Transition and Climate Change 2024
Energy Transition and Climate Change 2024noonbcc1301
 
CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand Jack Wong
 
9 จีนก้าวเป็นผู้ผลิตโซลาร์เซลล์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
9 จีนก้าวเป็นผู้ผลิตโซลาร์เซลล์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก9 จีนก้าวเป็นผู้ผลิตโซลาร์เซลล์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
9 จีนก้าวเป็นผู้ผลิตโซลาร์เซลล์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกzeedoui
 
CLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kWCLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kWJack Wong
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plantnuchida suwapaet
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพKobwit Piriyawat
 

Similar to Power2554 (6)

Energy Transition and Climate Change 2024
Energy Transition and Climate Change 2024Energy Transition and Climate Change 2024
Energy Transition and Climate Change 2024
 
CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand CLFR with Garbage 150kW, Thailand
CLFR with Garbage 150kW, Thailand
 
9 จีนก้าวเป็นผู้ผลิตโซลาร์เซลล์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
9 จีนก้าวเป็นผู้ผลิตโซลาร์เซลล์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก9 จีนก้าวเป็นผู้ผลิตโซลาร์เซลล์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
9 จีนก้าวเป็นผู้ผลิตโซลาร์เซลล์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก
 
CLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kWCLFR with Biomass Back up 250 kW
CLFR with Biomass Back up 250 kW
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plant
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ
 

Power2554

  • 1.
  • 2.
  • 3. 1 สารบัญ ความต้องการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นตามรายได้ประชาชาติ.............. 2 ไฟฟ้าความจำเป็นต่อเศรษฐกิจและสังคม.............................. 3 ประเทศไทยพึ่งพาก๊าซธรรมชาติมากเกินไปหรือเปล่า........... 4 ก๊าซธรรมชาติในประเทศมีเหลือใช้ถึงปี 2575 หรืออีก 21 ปี................................................................... 5 ปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติ และแหล่งที่มา.......................... 6 การผลิตไฟฟ้าส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม............................. 7 เราคำนึงถึงอะไรบ้างในการเลือกเชื้อเพลิง เพื่อใช้ผลิตไฟฟ้า............................................................... 8 การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า - ก๊าซธรรมชาติ................................................................ 9 - ถ่านหิน........................................................................ 10 - น้ำมัน.......................................................................... 11 - ชีวมวล........................................................................ 12 - แสงอาทิตย์................................................................. 13 - น้ำ............................................................................... 14 - ลม............................................................................... 15 - ก๊าซชีวภาพ................................................................. 16 - ขยะ............................................................................. 17 - นิวเคลียร์..................................................................... 18 ต้นทุนการผลิตของโรงไฟฟ้าประเภทต่างๆ.......................... 19 ปริมาณการใช้ไฟฟ้าสูงสุด หรือ Peak Demand................ 20 ลักษณะการใช้ไฟฟ้าในแต่ละวัน.......................................... 21 ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความต้องการ ไฟฟ้าสูงสุด.................................................................... 22 ประเภทโรงไฟฟ้าที่ใช้แยกตามความต้องการใช้ไฟฟ้า ในแต่ละวัน.................................................................... 23 ประเภทของโรงไฟฟ้าที่ใช้ในแต่ละช่วงเวลา......................... 24 นโยบายเพื่อความมั่นคงในการจัดหาพลังงานไฟฟ้า............ 27 แผนการจัดหาไฟฟ้าของประเทศไทย.................................. 28 จุดเด่นแผน PDP 2010....................................................... 29 สมมุติฐานในการจัดทำแผน PDP........................................ 30 สัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าแยกตาม ประเภทเชื้อเพลิงตามแผนกำลังผลิตไฟฟ้า.................... 33 กำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง......................................................... 34 การคิดค่าไฟฟ้าประเภทต่างๆ............................................. 35 การขออนุญาตจัดตั้งโรงไฟฟ้าในประเทศไทย...................... 36 หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขออนุญาตจัดตั้งโรงไฟฟ้า........ 37 กองทุนพัฒนาไฟฟ้า............................................................. 39 การดำเนินงานของกองทุนรอบโรงไฟฟ้า............................. 43
  • 5. 2 140,000 120,000 100,000 80,000 60,000 40,000 20,000 0 4,500 4,000 3,500 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 500 0 () (
  • 6. ) 2524 2525 2526 2527 2528 2529 2530 2531 2532 2533 2534 2535 2536 2537 2538 2539 2540 2541 2542 2543 2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 ที่ผ่านมาประเทศไทยมีอัตราการเติบโตของรายได้ประชาชาติเฉลี่ย ปีละประมาณ 4% และมีอัตราการเจริญเติบโตของการใช้ไฟฟ้าเฉลี่ยปีละ ประมาณ 4.2% การมีไฟฟ้าใช้อย่างทั่วถึงเพียงพอช่วยพัฒนาเศรษฐกิจ ขณะเดียวกัน ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจก็ทำให้ความต้องการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
  • 7. 3 6,000 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0 ไฟฟ้าความจำเป็นต่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อสนองความต้องการไฟฟ้าของ ทุกภาคเศรษฐกิจให้ได้อย่างมั่นคง ทั่วถึงเพียงพอ แล้วประเทศไทย ใช้เชื้อเพลิงอะไรมาผลิตไฟฟ้า อุตสาหกรรม 52% บ้านที่อยู่อาศัย 27% ธุรกิจ 18% อื่นๆ 2.8% เกษตรกรรม 0.2% ข้อมูล ปี พ.ศ. 2551-2552 (ต.ค.)
  • 8. ประเทศไทยพึ่งพาก๊าซธรรมชาติมากเกินไปหรือเปล่า 4 เชื้อเพลิงฟอสซิล (ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน น้ำมัน) มีสัดส่วนประมาณ 70% ในการผลิตไฟฟ้าทั่วโลกและจะยังคง เป็นเชื้อเพลิงหลักต่อไปอีก 70 60 50 40 30 20 10 0
  • 10. ก๊าซธรรมชาติในประเทศมีเหลือใช้ถึงปี 2575 หรืออีก 21 ปี 5 Unit: MMscfd Arthit North FPSO Bongkot North Arthit CPP Bongkot South MTJDA B17 Additional B8/32 Pailin Unocal gas II Unocal 123 MTJDA B17 MTJDA A18 4,000 3,500 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 500 0 2008 2010 2012 2014 2016 2018 2020 2022 2024 2026 2028 2030 2032 ที่มา : ปตท. 2011, พิจารณาจากปริมาณสำรอง (2P) 22.87 ล้านล้านลูกบาศก์ฟุต
  • 11. ปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติ และแหล่งที่มา 2549 2550 2551 2552 2553 6 หน่วย:ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน 5,000 4,500 4,000 3,500 3,000 2,500 2,000 1,500 1,000 0 2548 ผลิตในประเทศ นำเข้า 500 ที่มา : สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
  • 12. การผลิตไฟฟ้าส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ปริมาณการปล่อยมลพิษทางอากาศจากการใช้พลังงานจำแนกตามชนิดปี 2551 7 1/ อื่นๆ ประกอบด้วย เกษตรกรรม ก่อสร้าง และเหมืองแร่ หน่วย : 1,000 ตัน สาขา CO2 CO NOx CH4 SO2 ขนส่ง 52,379 514 237 20 11 ไฟฟ้า 83,370 68 261 7 353 อุตสาหกรรมการผลิต 45,023 200 219 5 295 บ้านและธุรกิจการค้า 6,389 2,484 35 52 0 อื่นๆ1/ 10,984 105 171 1 4
  • 13. เราคำนึงถึงอะไรบ้างในการเลือกเชื้อเพลิงเพื่อใช้ผลิตไฟฟ้า 8 1. ต้องมีแหล่งสำรองเชื้อเพลิงที่มี ปริมาณเพียงพอและแน่นอน เพื่อ ความมั่นคงในการจัดหา 2. ต้องมีการกระจายแหล่งและชนิด ของเชื้อเพลิงเพื่อลดความเสี่ยง จากการพึ่งพาเชื้อเพลิงจากแหล่ง หรือชนิดเดียว 3. ต้องเป็นเชื้อเพลิงที่มีราคาเหมาะสม และมีเสถียรภาพ 4. ต้องเป็นเชื้อเพลิงที่เมื่อนำมาผลิต ไฟฟ้าแล้วสามารถควบคุมมลพิษ ให้อยู่ในระดับมาตรฐานคุณภาพที่ สะอาดยอมรับได้ 5. ต้องใช้ทรัพยากรพลังงานภายใน ประเทศที่มีอยู่อย่างจำกัด ให้เกิด ประโยชน์สูงสุด
  • 14. การใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ข้อดี l เป็นเชื้อเพลิงปิโตรเลียมที่นำมาใช้งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพสูง มีการเผาไหม้สมบูรณ์ l มีความปลอดภัยสูงในการใช้งาน เนื่องจากเบากว่า อากาศ จึงลอยขึ้นเมื่อเกิดการรั่ว l ก๊าซธรรมชาติส่วนใหญ่ที่ใช้ในประเทศไทยผลิตได้เอง จากแหล่งในประเทศ จึงช่วยลดการนำเข้าพลังงาน เชื้อเพลิงอื่นๆ และประหยัดเงินตราต่างประเทศได้มาก ข้อจำกัด l ราคาก๊าซธรรมชาติไม่คงที่ผูกติดกับราคาน้ำมันซึ่ง ผันแปรอยู่ตลอดเวลา l ประเทศไทยใช้ก๊าซธรรมชาติในสัดส่วนที่สูงมากจนเกิด ความเสี่ยงของแหล่งพลังงาน l กำลังสำรองก๊าซธรรมชาติในประเทศไทยมีปริมาณ จำกัด 9
  • 15. การใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ข้อดี l ต้นทุนในการผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงถ่านหินต่ำกว่า เชื้อเพลิงอื่นๆ เช่น ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน และพลังงาน หมุนเวียน l มีปริมาณสำรองมาก สามารถใช้ได้ไม่ต่ำกว่า 200 ปี l ปัจจุบันสามารถใช้เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด ทำให้กำจัด มลพิษจากการใช้ถ่านหินหมดไป ข้อจำกัด l ต้องใช้ระบบควบคุมมลภาวะทางอากาศที่มีราคาแพง เนื่องจากการเผาไหม้ถ่านหินเป็นสาเหตุสำคัญของ ฝนกรดและภาวะโลกร้อน l ประเทศไทยต้องนำเข้าถ่านหินคุณภาพดีจากต่างประเทศ l ต้องมีระบบการจัดการขนส่งที่ดี l ยังมีภาพลักษณ์ที่น่ากลัวในสายตาประชาชน 10
  • 16. การใช้น้ำมันเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า 11 ข้อดี l ขนส่งง่าย l หาซื้อได้ง่าย l เป็นเชื้อเพลิงที่ไม่ได้รับการต่อต้าน จากชุมชน ข้อจำกัด l ต้องนำเข้าจากต่างประเทศ l ราคาไม่คงที่ ขึ้นกับราคาน้ำมันของตลาดโลก l ทำให้เกิดก๊าซเรือนกระจกซึ่งเป็นสาเหตุของภาวะโลกร้อน l ไฟฟ้าที่ผลิตได้มีต้นทุนต่อหน่วยสูง
  • 17. การใช้ชีวมวลเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ข้อดี l ใช้ประโยชน์จากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร จึงเป็น แหล่งพลังงานหมุนเวียน l เป็นการผลิตกระแสไฟฟ้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิดสภาวะเรือนกระจก l เสริมความมั่นคงต่อระบบผลิตไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ข้อจำกัด l ชีวมวลเป็นวัสดุที่เหลือใช้จากการแปรรูปทางการเกษตร มีปริมาณสำรองที่ไม่แน่นอน l การบริหารจัดการเชื้อเพลิงทำได้ยาก l ราคาชีวมวลแนวโน้มสูงขึ้น เนื่องจากมีความต้องการใช้ เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ l ชีวมวลที่มีศักยภาพเหลืออยู่ มักจะอยู่กระจัดกระจาย มีความชื้นสูงจึงทำให้ต้นทุนการผลิตไฟฟ้าสูงขึ้น เช่น ใบอ้อยและยอดอ้อย ทะลายปาล์ม เป็นต้น 12
  • 18. การใช้แสงอาทิตย์เป็นพลังงานในการผลิตไฟฟ้า ข้อดี l เป็นแหล่งพลังงานธรรมชาติขนาดใหญ่ที่สุด และสามารถ ใช้เป็นพลังงานได้ไม่มีวันหมด l ไม่มีค่าใช้จ่ายในเรื่องเชื้อเพลิง l สามารถนำไปใช้ในแหล่งที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ และอยู่ห่าง ไกลจากระบบสายส่งและสายจำหน่ายไฟฟ้า l การใช้ประโยชน์ไม่ยุ่งยาก การดูแลรักษาง่าย l เป็นพลังงานสะอาด ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะจากกระบวนการ ผลิตไฟฟ้า ข้อจำกัด l ยังไม่สามารถดำเนินการได้ในเชิงพาณิชย์ เนื่องจาก แผงเซลล์และอุปกรณ์ส่วนควบยังมีราคาแพง l แบตเตอรี่ซึ่งเป็นตัวกักเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ไว้ใช้ ในเวลากลางคืนมีอายุการใช้งานต่ำ l ความเข้มของแสงไม่คงที่และสม่ำเสมอ เนื่องจาก สภาพอากาศและฤดูกาล 13
  • 19. 14 การใช้น้ำเป็นพลังงานในการผลิตไฟฟ้า ข้อดี l ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการซื้อเชื้อเพลิง นอกจากใช้ เงินลงทุนก่อสร้าง l ไม่ก่อให้เกิดก๊าชคาร์บอนไดออกไซด์จากการผลิต ไฟฟ้า l โครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำขนาดใหญ่มีขีดความสามารถ สูงในการรักษาความมั่นคงให้แก่ระบบไฟฟ้า สำหรับ รองรับช่วงเวลาที่มีความต้องการใช้กระแสไฟฟ้า สูงสุด ข้อจำกัด l การเดินเครื่องผลิตไฟฟ้าขึ้นกับปริมาณน้ำ ในช่วงที่ สามารถปล่อยน้ำออกจากเขื่อนได้ l การก่อสร้างเขื่อนขนาดใหญ่ในประเทศไทยมีข้อจำกัด เนื่องจากอ่างเก็บน้ำของเขื่อนขนาดใหญ่จะทำให้เกิด น้ำท่วมเป็นบริเวณกว้าง ส่งผลกระทบต่อบ้านเรือน ประชาชน
  • 20. การใช้ลมเป็นพลังงานในการผลิตไฟฟ้า ข้อดี l เป็นแหล่งพลังงานที่ได้จากธรรมชาติ ไม่มีค่าเชื้อเพลิง l เป็นแหล่งพลังงานสะอาด ใช้พื้นที่น้อย l มีแค่การลงทุนครั้งแรก l สามารถใช้ระบบไฮบริดเพ่อืให้เกิดประโยชน์สูงสุด คือ กลางคืนใช้พลังงานลม กลางวันใช้พลังงานแสงอาทิตย์ ข้อจำกัด l ลมในประเทศไทยมีความเร็วค่อนข้างต่ำ l พื้นที่ที่เหมาะสมมีจำกัด l ขึ้นอยู่กับสภาวะอากาศ บางฤดูอาจไม่มีลม l ต้องใช้แบตเตอรี่ราคาแพงเป็นแหล่งเก็บพลังงาน l ขาดเทคโนโลยีที่เหมาะสมกับศักยภาพลมในประเทศ และขาดบุคลากรผู้เชี่ยวชาญ 15
  • 21. การใช้ก๊าซชีวภาพเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ข้อดี l ช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมเรื่องกลิ่น ของเสีย และลด ต้นทุนในการบำบัดน้ำเสีย l ไม่มีต้นทุนเชื้อเพลิง l ลดการปล่อยก๊าซมีเทนออกสู่บรรยากาศ ซึ่งช่วยลด ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก l ลดค่าใช้จ่ายและสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการ โดย ผู้ประกอบการสามารถนำก๊าซชีวภาพใช้ในการผลิต ไฟฟ้าเพื่อใช้ในกิจการของตนเอง หรือขายไฟฟ้าให้กับ การไฟฟ้า ข้อจำกัด l ระบบต้องการพื้นที่ค่อนข้างมาก l ต้นทุนการติดตั้งระบบสูง l ต้องมีระบบกำจัดก๊าซเสีย l ต้องมีผู้เชี่ยวชาญดูแล 16
  • 22. การใช้ขยะเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ข้อดี l เป็นแหล่งพลังงานราคาถูก l ลดปัญหาเรื่องการกำจัดขยะ l โรงไฟฟ้าขยะจากการฝังกลบช่วยลดภาวะโลกร้อน ข้อจำกัด l เทคโนโลยีบางชนิดใช้เงินลงทุนสูง ถ้าขนาดเล็กเกินไปจะไม่คุ้มการลงทุน l มีค่าใช้จ่ายในการจัดการขยะให้เหมาะสมก่อนนำไปแปรรูปเป็นพลังงาน l ต้องมีเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการจัดการกับฝุ่นควันและสารที่เกิดขึ้นจากการเผาขยะ ตัวอย่างเช่น ฝุ่นควันที่เกิดจากโรงไฟฟ้าเชื้อเพลิงขยะอาจมีโลหะหนัก เช่น ตะกั่วหรือแคดเมียมปนอยู่ หรือการ เผาขยะอาจทำให้เกิดไดอ๊อกซิน ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง l โรงไฟฟ้าขยะมักได้รับการต่อต้านจากชุมชนที่อยู่ใกล้เคียง l ข้อจำกัดทางด้านการเป็นเจ้าของขยะ เช่น ผู้ลงทุนตั้งโรงไฟฟ้าอาจไม่ใช่เจ้าของขยะ (เทศบาล ฯลฯ) ทำให้กระบวนการเจรจาแบ่งสรรผลประโยชน์มีความล่าช้า 17
  • 23. การใช้นิวเคลียร์เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ข้อดี l เป็นแหล่งผลิตไฟฟ้าขนาดใหญ่ โดยมีต้นทุนการผลิตไฟฟ้าที่แข่งขันได้กับโรงไฟฟ้าชนิดอื่นๆ l เป็นโรงไฟฟ้าที่สะอาด ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ และก๊าซเรือนกระจก l ช่วยเสริมสร้างความมั่นคงให้ระบบผลิตไฟฟ้า เนื่องจากใช้เชื้อเพลิงน้อย ทำให้มีเสถียรภาพในการจัดหา เชื้อเพลิง และราคาเชื้อเพลิงมีผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตเล็กน้อย l มีแหล่งเชื้อเพลิงมากมาย เช่น แคนาดาและออสเตรเลีย และราคาไม่ผันแปรมากเมื่อเทียบกับเชื้อเพลิง ฟอสซิล ข้อจำกัด l ใช้เงินลงทุนในการก่อสร้างสูง l จำเป็นต้องเตรียมโครงสร้างพื้นฐานและพัฒนา บุคลากรเพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ l ต้องการการเตรียมการจัดการกากกัมมันตรังสี และ มาตรการควบคุมความปลอดภัยเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ l ยังไม่เป็นที่ยอมรับของประชาชน ประชาชนมีข้อ กังวลใจในเรื่องความปลอดภัย 18
  • 24. ต้นทุนการผลิตของโรงไฟฟ้าประเภทต่างๆ 19 ต้นทุน/หน่วยไฟฟ้า บาท/Kwh* 1. แสงอาทิตย์ 12.50 2. ลม 5.20 3. ขยะ 3-5 4. ชีวมวล 3-3.50 5. นิวเคลียร์ 2.79 6. ถ่านหิน 2.94 7. พลังงานความร้อนร่วม 3.96 (Gas Existing) 8. พลังงานร้อนรวม 4.34 (Marginal Gas) 9. กังหันแก๊ส 13.65 ที่มา : การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย 2553 *หมายเหตุ: ไม่รวมค่าดูแลสิ่งแวดล้อม
  • 25. ปริมาณการใช้ไฟฟ้าสูงสุด หรือ Peak Demand 24,000 20,000 18,000 16,000 ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้สูงสุด จะเป็นตัวกำหนดกำลังการผลิตไฟฟ้าและการสร้างโรงไฟฟ้า เพื่อให้มีกำลังไฟฟ้า เพียงพอในเวลาที่ต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด 20 14,000 .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. .. 22,000 10 .. 53 14.00 . 24,630 (MW)
  • 26. 52 = 15.3% 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553
  • 27. 21 เมกะวัตต์ เวลา 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 24,000 21,000 18,000 15,000 12,000 9,000 6,000 3,000 0 ลักษณะการใช้ไฟฟ้าในแต่ละวัน ความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดจะอยู่ในช่วงเวลา ประมาณ 14.00-20.00 น. ซึ่งความต้องการ ใช้ไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้าแต่ละกลุ่มจะมีความ แตกต่างกันไป
  • 28. องศาเซลเซียส เมกะวัตต์ 40 40,000 ความต้องการไฟฟ้าสูงสุด อุณหภูมิสูงสุด 22 35,000 30,000 25,000 20,000 15,000 10,000 5,000 0 35 30 25 20 15 10 5 2549 ม.ค. ม.ค. ม.ค. ม.ค. ม.ค. 2550 2551 2552 2553 อุณหภูมิเฉลี่ย ความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิและความต้องการไฟฟ้าสูงสุด ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา และสำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน
  • 30.  
  • 32. 
  • 33. 23 0 26,000 24,000 22,000 20,000 18,000 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 0
  • 34. 6 12 18 24 () File : pc636_06/G:/EGAT DLC (BY PLANT, FUEL) 2007
  • 35. ที่ใช้ขึ้นอยู่กับความ เหมาะสมของความ ต้องการใช้ในแต่ละ ช่วงเวลา เพื่อความมี ประสิทธิภาพของระบบ และต้นทุนค่าไฟฟ้าที่ เหมาะสมเพราะโรงไฟฟ้า แต่ละประเภท มีความ เหมาะสมในการผลิต ไฟฟ้าตามความต้องการ ในแต่ละช่วงเวลาที่ ต่างกัน และโรงไฟฟ้า แต่ละประเภทก็มีการใช้ เชื้อเพลิงที่แตกต่างกัน
  • 36. ประเภทของโรงไฟฟ้าที่ใช้ในแต่ละช่วงเวลา 24 โรงไฟฟ้าที่ผลิตไฟฟ้าตาม ความต้องการพื้นฐาน (Base Load Plant) เป็นโรงไฟฟ้าที่ต้องเดินเครื่องอยู่ ตลอดเวลา จึงเป็นโรงไฟฟ้าที่ใช้เชื้อเพลิง ราคาถูกเป็นลำดับแรก ได้แก่ โรงไฟฟ้า พลังความร้อน (Thermal) ใช้ถ่านหินเป็น เชื้อเพลิง เช่น โรงไฟฟ้าแม่เมาะหรือ โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม (Combined Cycle) ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิง เช่น โรงไฟฟ้าวังน้อย เป็นต้น โรงไฟฟ้าวังน้อย โรงไฟฟ้าแม่เมาะ โรงไฟฟ้าพระนครใต้ โรงไฟฟ้าจะนะ โรงไฟฟ้าบีแอลซีพี
  • 37. ประเภทของโรงไฟฟ้าที่ใช้ในแต่ละช่วงเวลา โรงไฟฟ้าน้ำพอง 25 โรงไฟฟ้าที่ผลิตพลังงาน ไฟฟ้าช่วงที่มีความต้องการไฟฟ้า ปานกลาง (Intermediate Plant) จะใช้โรงไฟฟ้าพลังความร้อน ร่วม (Combined Cycle) ซึ่งใช้ก๊าซ ธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงและหากก๊าซ ธรรมชาติมีไม่เพียงพอหรือขาดแคลน จะต้องใช้น้ำมันดีเซลแทน ในกรณีที่ เป็นโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมจึงทำให้ ต้นทุนเชื้อเพลิงสูงขึ้น โรงไฟฟ้าราชบุรี โรงไฟฟ้าสุราษฎร์ธานี โรงไฟฟ้าขนอม
  • 38. ประเภทของโรงไฟฟ้าที่ใช้ในแต่ละช่วงเวลา 26 โรงไฟฟ้าที่ผลิตพลังงานไฟฟ้า ช่วงที่มีความต้องการไฟฟ้าสูงสุด (Peaking Plant) มีลักษณะของการเดินเครื่อง เป็น ช่วงเวลาที่มีความต้องการไฟฟ้าสูงสุด เท่านั้น ได้แก่ โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ ซึ่งใช้ น้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง เขื่อนและโรงไฟฟ้า พลังน้ำแบบสูบกลับ โรงไฟฟ้าสูบกลับ ลำตะคอง โรงไฟฟ้าหนองจอก เขื่อนภูมิพล
  • 39. นโยบายเพื่อความมั่นคงในการจัดหาพลังงานไฟฟ้า 27 l พัฒนาพลังงานไฟฟ้าให้ประเทศไทยสามารถ พึ่งตนเองได้มากขึ้น l มีการกระจายชนิดของเชื้อเพลิงที่ใช้ในการ ผลิตไฟฟ้า l ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ในโครงการผลิตไฟฟ้าขนาดเล็ก (SPP) และขนาด เล็กมาก (VSPP) l เพิ่มบทบาทของภาคเอกชนเพื่อประสทิธภิาพ ในการจัดหาพลังงานช่วยลดภาระการลงทุนของ ภาครัฐ l ส่งเสริมการจัดหาพลังงานเพื่อลดผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชน และลดปริมาณ ก๊าซเรือนกระจก
  • 40. 28 แผนการจัดหาไฟฟ้าของประเทศไทย แผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศ (Power Development Plan : PDP) l เป็นแผนการจัดหาไฟฟ้าในระยะยาว เพื่อ ให้เพียงพอต่อความต้องการใช้ ในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของประชาชนและเพื่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ l โดยจะมีการทบทวนแผนดังกล่าวเป็นระยะๆ เพื่อให้การจัดหาไฟฟ้าสามารถรองรับความ ต้องการไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ระดับที่ เหมาะสม สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจที่ เปลี่ยนแปลง l มีการพิจารณาประเภทของโรงไฟฟ้า การ กระจายเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า การขยายระบบ ส่งไฟฟ้า ประมาณการเงินลงทุน ผลกระทบต่อ ค่าไฟฟ้า ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ฯลฯ เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายที่กำหนด
  • 41. สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ ปรับแผนการลงทุนไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชน 29 จุดเด่นแผน PDP 2010 แผน PDP 2010 ส่งเสริมความยั่งยืน ทางพลังงาน เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมประสิทธิภาพ โรงไฟฟ้า และพลังงานหมุนเวียน ปริมาณสำรองเพียงพอ สอดคล้องกับสถานการณ์ ด้านพลังงานไฟฟ้าของประเทศ ความมั่นคงของระบบไฟฟ้า โดยกระจายแหล่งเชื้อเพลิง ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน เพื่อปรับลดค่าพยากรณ์ ความต้องการใช้ไฟฟ้า สร้างความเชื่อมั่นในการลงทุน ตามแผน PDP และระบบส่งไฟฟ้า
  • 42. สมมุติฐานในการจัดทำแผน PDP 1. สมมุติฐานค่าพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้า โดยใช้ประมาณการอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (GDP) เป็นฐานในการพยากรณ์ l ปี 2553-2554 ใช้ GDP ที่ประกอบการจัดทำงบประมาณประจำปี 2554 30 ของ 3 การไฟฟ้า l ปี 2555 เป็นต้นไป ใช้ GDP ระยะยาว จากผลการศึกษาของ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ภายใต้การกำกับของสำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน และ สำนักงานเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 6 5 4 3 2 1 0 -1 -2 -3 -4 Final NIDA PDP 2010
  • 43. 31 สมมุติฐานในการจัดทำแผน PDP 2. สมมุติฐานด้านความมั่นคงของระบบไฟฟ้า l กำลังผลิตไฟฟ้าสำรองของระบบไฟฟ้า ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 15 โดยพิจารณาความเสี่ยงจากการใช้ ก๊าซธรรมชาติประกอบ l กระจายเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า ใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าที่หลากหลาย เพื่อลดการพึ่งพา ก๊าซธรรมชาติ l สัดส่วนการรับซื้อไฟฟ้าจากประเทศเพื่อนบ้าน โดยซื้อไฟฟ้าจาก 2 ประเทศ ไม่เกิน 25% ของกำลังผลิต ทั้งหมด
  • 44. 32 สมมุติฐานในการจัดทำแผน PDP 3. สมมุติฐานด้านสิ่งแวดล้อม (Green PDP) l การจัดการด้านการใช้ไฟฟ้า (DSM) n นำผลการประหยัดพลังงานไฟฟ้าออกจากความต้องการ เพื่อ ลดการจัดหา l การส่งเสริมพลังงานหมุนเวียน VSPP n ภายในปี 2573 ประเทศจะมีการจัดหาไฟฟ้า จากพลังงาน หมุนเวียนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 5 l การส่งเสริมระบบ Cogeneration n ปี 2558-2564 รับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ระบบ Cogeneration ประเภท Firm ประมาณ 2,000 เมกะวัตต์ n ปี 2565-2573 กำหนดให้มีปริมาณ SPP ระบบ Cogeneration เพิ่มขึ้นปีละ 360 เมกะวัตต์ l การลดภาวะโลกร้อน ลด CO2 n กำหนดเป้าหมายลดปริมาณการปล่อย CO2 ต่อหน่วยพลังงาน ไฟฟ้าในปี 2563 ให้อยู่ในระดับ 0.387 kg CO2 / kWh
  • 46.     2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567 2568 2569 2570 2571 2572 2573   68% 66% 64% 64% 64% 62% 59% 59% 59% 58% 54% 49% 48% 47% 46% 45% 43% 44% 39% 39% 39% 8% 9% 10% 10% 11% 12% 11% 11% 10% 11% 12% 13% 13% 15% 14% 13% 17% 16% 19% 20% 21% 11% 11% 10% 10% 9% 9% 9% 8% 8% 8% 7% 7% 7% 6% 6% 5% 4% 4% 4% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 6% 8% 11% 10% 10% 12% 11% 11% 14% 14% 15% 16% 17% 17% 17% 18% 18% 18% 18% 19% 19% 13% 13% 7% 7% 6% 8% 7% 5% 5% 5% 6% 3% 2% 3%
  • 47. 34 กำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง กำลังผลิตไฟฟ้าสำรอง คือ กำลังผลิตไฟฟ้าที่วางแผนการผลิต ให้มีมากกว่าปริมาณความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุด ในเวลาปกติจำนวนหนึ่ง เนื่องจากการก่อสร้าง โรงไฟฟ้าต้องใช้เวลานาน และปริมาณความ ต้องการใช้ไฟฟ้าของประเทศคาดการณ์ได้ยาก ถ้ามีกำลังผลิตไฟฟ้าสำรองไม่เพียงพอกับ ความต้องการอาจส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ของประเทศได้ การทำนายกำลังผลิตไฟฟ้าสำรองนี้ ต้องใช้ ข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการไฟฟ้าในอดีต และ ปัจจุบัน กำลังการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าต่างๆ ที่มีอยู่ในประเทศ การหยุดซ่อมของโรงไฟฟ้าและ ระยะเวลาในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าใหม่ มาใช้ คำนวณ เพื่อคาดการณ์ปริมาณไฟฟ้าที่ต้องการ ผลิตได้ทั้งหมด
  • 48. ค่าไฟฟ้าฐาน + ค่าไฟฟ้าผันแปร + ภาษีมูลค่าเพิ่ม 35 การคิดค่าไฟฟ้าประเภทต่างๆ ค่าไฟฟ้าปัจจุบัน ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1. ค่าไฟฟ้าฐาน กำหนดจากค่าลงทุนก่อสร้างโรงไฟฟ้า สายส่งไฟฟ้า สถานีจ่ายไฟฟ้า และค่าเชื้อเพลิง ค่าไฟฟ้าฐาน มีอัตราแน่นอน โดยแบ่งตามผู้ใช้ไฟฟ้า 7 ประเภท อัตรา ค่าไฟฟ้าฐานมีการปรับปรุงครั้งล่าสุดเมื่อปี 2534 และ ได้แยกภาษีมูลค่าเพิ่มออกเมื่อเดือนมกราคม 2540 ปัจจุบันยังไม่มีการปรับ ซึ่งหากมีการปรับอัตราค่าไฟฟ้าฐานต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้ ค่าไฟฟ้าฐานจะแสดงในรายการค่าไฟฟ้าในใบเสร็จรับเงิน 2. ค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) คือ ค่าไฟฟ้าที่ปรับเปลี่ยนตามต้นทุนการผลิต ระบบส่ง และระบบจำหน่าย เนื่องมาจากปัจจัยที่อยู่นอกเหนือการควบคุมของการไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงไปในแต่ละเดือน ปัจจุบันจะทำการ ปรับ 4 เดือนต่อครั้ง การปรับค่าไฟฟ้าผันแปรดำเนินการโดยคณะอนุกรรมการกำกับสูตรการปรับอัตรา ค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ ภายใต้การกำกับดูแลของคณะกรรมการพิจารณานโยบายพลังงาน ทั้งนี้ค่าไฟฟ้าผันแปร จะแสดงในช่อง Ft ส่วนเพิ่ม/ส่วนลด ในใบเสร็จค่าไฟฟ้าหรือใบแจ้งหนี้ค่าไฟฟ้า 3. ภาษีมูลค่าเพิ่ม คิดเป็นร้อยละ 7 ของค่าไฟฟ้าฐานรวมกับค่าไฟฟ้าผันแปร
  • 49. การขออนุญาตจัดตั้งโรงไฟฟ้าในประเทศไทย การประกอบกิจการพลังงานประเภทต่างๆ ก่อน ดำเนินการต้องได้รับใบอนุญาตจาก คณะกรรมการกำกับ กิจการพลังงาน (กกพ.) โดยการออกใบอนุญาตคณะกรรมการฯ จะประกาศกำหนดประเภท และอายุใบอนุญาตให้ สอดคล้องกับขนาดและลักษณะของกิจการพลังงาน ประเภทต่างๆ โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อประชาชน ความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจ สังคม และการลงทุน และการ ขอรับใบอนุญาตจะต้องดำเนินการตามมาตรา 48 การขอ ใบอนุญาตประกอบกิจการพลังงาน และมาตรา 50 คุณสมบัติ ของผู้รับใบอนุญาต ซึ่งขั้นตอนการขอใบอนุญาตประกอบ กิจการพลังงาน แยกตามประเภทกิจการ ได้แก่ ระดับ SPP และ ระดับ VSPP 36
  • 50. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขออนุญาตจัดตั้งโรงไฟฟ้า ตารางแสดงการยื่นคำร้อง และการพิจารณาระเบียบ SPP ยื่นหลักค้ำประกันการปฎิบัติ ตาม PPA หลังวัน COD 37 SPP ยื่นคำร้องขอขายไฟฟ้า พร้อมกำหนด COD จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ ยื่นใบอนุญาตตามกฎหมาย ก่อนวัน COD ไม่น้อยกว่า 10 วันทำการ ลงนาม PPA ภายใน 2 ปี จากวันตอบรับซื้อไฟฟ้า รายงานผลอนุมัติ EIA ก่อนลงนาม PPA ไม่น้อยกว่า 5 วันทำการ กฟผ. พิจารณาตอบรับ ซื้อไฟฟ้า ตามเอกสารคำขอ ที่ครบถ้วน กฟผ. แจ้งตอบรับคำร้อง ไม่ผ่าน ภายใน 90 วัน ผ่าน ยื่นหลักค้ำประกันการปฏิบัติ ตาม PPA ก่อนวัน COD ไม่น้อยกว่า 10 วันทำการ ปรับปรุง เอกสาร/หลักฐาน/ข้อมูลการยื่นคำร้อง 1. เอกสารแสดงนิติบุคคล 2. Flow Diagram 3. แผนที่ตั้งโรงไฟฟ้า สถานที่ติดตั้งเครื่อง กำเนิดไฟฟ้า และผังโรงไฟฟ้า 4. Heat Balance Diagram และ/หรือ Pining and Instrument Diagram 5. พลังงานความร้อนที่ใช้ (Input) ต่อ พลังงานที่ผลิตได้ทั้งหมด (Output) 6. Name Plate และ Specification 7. Single Line Diagram/Metering and Relaying Diagram 8. จำนวน MW และ MWh ที่จ่ายเข้าระบบ, แผนการผลิต และการใช้ไฟฟ้าของ SPP และนิติบุคคลอื่นที่ใช้ไฟฟ้าของ SPP 9. Backup Power ที่ขอใช้จากการไฟฟ้า 10. ปริมาณเชื้อเพลิง และ Average Lower Heating Value เชื้อเพลิงหลักและ เชื้อเพลิงเสริม 11. จำนวนคน พร้อมวุฒิการศึกษา และใบ กว. ของผู้ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวข้องกับ Generator 12. กำหนดวัน COD 13. หลักค้ำประกันการยื่นเสนอ (Firm 500 บาท/kW)
  • 51. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการขออนุญาตจัดตั้งโรงไฟฟ้า ตารางแสดงการยื่นคำร้อง และการพิจารณาระเบียบ VSPP กฟภ./กฟน. ตรวจสอบ การเชื่อมโยงระบบ/อุปกรณ์ แล้วเสร็จใน 30 วัน ติดตั้งอุปกรณ์ครบถ้วน และแจ้ง กฟภ./กฟน. ตรวจสอบระบบก่อน COD 38 เอกสาร/หลักฐาน/ข้อมูลการยื่นคำร้อง 1. รายละเอียดทั่วไป 2. ข้อมูลทางเทคนิคของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า และอุปกรณ์ที่ติดตั้ง 3. ข้อมูลเทคนิคทั่วไป 4. รายละเอียดในการติดตั้ง 5. ใบรับรองเครื่องกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ 6. ข้อมูลเบื้องต้นลักษณะกระบวนการผลิต ไฟฟ้า/Heat Balance Diagram/การนำ พลังงานความร้อนไปใช้ประโยชน์ 7. Flow Diagram พร้อมมาตรวัด 8. อัตราส่วน Heat/Power 9. แผนการผลิต และการใช้ไฟฟ้าของ VSPP 10. ปริมาณเชื้อเพลิง และ Average Lower Heating Value เชื้อเพลิงหลักและ เชื้อเพลิงเสริม VSPP ยื่นคำร้องขอขายและ เชื่อมโยงระบบไฟฟ้า จ่ายไฟฟ้าเข้าระบบ ยื่นใบอนุญาตตามกฎหมาย กำหนด ลงนาม PPA ภายใน 60 วันทำการ พิจารณาตอบรับซื้อไฟฟ้า ตามเอกสารคำขอ ที่ครบถ้วน (6MW พิจารณาร่วมกัน) กฟภ./กฟน. แจ้งตอบรับคำร้อง ไม่ผ่าน ภายใน 45 วัน ผ่าน กฟภ./กฟน. แจ้งรายละเอียดค่าใช้จ่าย ภายใน 15 วันทำการ ปรับปรุง
  • 52. 39 กองทุนพัฒนาไฟฟ้า กองทุนพัฒนาไฟฟ้า เป็นกองทุนที่จัดตั้งตามพระราชบัญญัติ การประกอบกิจการพลังงาน พ.ศ. 2550 (มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2550) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นทุนสนับสนุนให้มีการให้บริการไฟฟ้าไปยัง ท้องที่ต่างๆ อย่างทั่วถึง เพื่อกระจายความเจริญไปสู่ท้องถิ่น พัฒนาชุมชน ในท้องถิ่นที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินงานของโรงไฟฟ้า ส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียนและเทคโนโลยี ในการประกอบกิจการไฟฟ้าที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยโดยคำนึงถึงความสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติ และสร้างความเป็นธรรมให้กับผู้ใช้ไฟฟ้า แหล่งที่มาของเงินกองทุนพัฒนาไฟฟ้า (1) เงินที่ได้รับจากผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟ้า ตามระเบียบที่ กกพ. ประกาศกำหนด ภายใต้กรอบนโยบายของ กพช. โดยเงินที่นำส่งเข้ากองทุนเพื่อใช้จ่ายตามมาตรา 97(1) ให้หักจากอัตรา ค่าบริการ (2) เงินค่าปรับจากผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟ้าตาม มาตรา 128 และ มาตรา 140 (ค่าปรับทางปกครอง) (3) เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้บริจาคให้ (4) ดอกผลหรือผลประโยชน์ใดๆ ที่เกิดจากเงินหรือทรัพย์สินของกองทุน โดยเงินและทรัพย์สินที่เป็นของกองทุนไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดินตามกฎหมายว่าด้วย เงินคงคลัง และกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ
  • 53. 40 กองทุนพัฒนาไฟฟ้า l สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงานเป็นผู้รับเงิน จ่ายเงิน เก็บรักษา และบริหารจัดการเงิน กองทุนแยกออกจากงบประมาณของสำนักงาน ทั้งนี้ การรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษา และการบริหาร จัดการเงินกองทุนให้เป็นไปตามระเบียบที่ กกพ. กำหนด l การกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการนำส่งเงินเข้ากองทุน ให้จัดให้มีการแยกบัญชีตาม กิจการที่กำหนดไว้อย่างชัดเจน โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อผู้ใช้ไฟฟ้าที่จะต้องรับภาระในการที่ผู้รับใบอนุญาต ประกอบกิจการไฟฟ้านำส่งเงินเข้ากองทุน
  • 54. 41 กองทุนพัฒนาไฟฟ้า เงินกองทุนให้ใช้จ่ายเพื่อกิจการ ดังต่อไปนี้ (1) เพื่อการชดเชยและอุดหนุนผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟ้าซึ่งได้ให้บริการแก่ผู้ใช้ไฟฟ้าที่ ด้อยโอกาส หรือเพื่อให้มีการให้บริการไฟฟ้าอย่างทั่วถึง หรือเพื่อส่งเสริมนโยบายในการกระจาย ความเจริญไปสู่ภูมิภาค (2) เพื่อการชดเชยผู้ใช้ไฟฟ้าซึ่งต้องจ่ายอัตราค่าไฟฟ้าแพงขึ้นจากการที่ผู้รับใบอนุญาตที่มีศูนย์ควบคุม ระบบไฟฟ้าสั่งให้ผู้รับใบอนุญาตประกอบกิจการไฟฟ้า ดำเนินการผลิตไฟฟ้าอย่างไม่เป็นธรรมหรือมีการ เลือกปฏิบัติ (3) เพื่อการพัฒนาหรือฟื้นฟูท้องถิ่นที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินงานของโรงไฟฟ้า (4) เพื่อการส่งเสริมการใช้พลังงานหมุนเวียน และเทคโนโลยีที่ใช้ในการประกอบกิจการ ไฟฟ้าที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย (5) เพื่อการส่งเสริมสังคมและประชาชนให้มีความรู้ ความตระหนักและมีส่วนร่วม ทางด้านไฟฟ้า (6) เป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารกองทุนพัฒนาไฟฟ้า ทั้งนี้ การใช้จ่ายเงินกองทุนให้เป็นไปตามระเบียบที่ กกพ. กำหนดภายใต้ กรอบนโยบายของคณะกรรมการพลังงานแห่งชาติ (กพช.) และต้องจัดมีการแยกบัญชี ตามกิจการที่ใช้จ่ายอย่างชัดเจน
  • 55. เชื้อเพลิง สตางค์/หน่วยไฟฟ้า ที่ผลิตได้ในแต่ละเดือน 42 กองทุนพัฒนาไฟฟ้า อัตราการเก็บเงินเข้ากองทุนพัฒนาไฟฟ้า เพื่อการพัฒนา หรือฟื้นฟูท้องถิ่นที่ได้รับผลกระทบจากการดำเนินงานของ โรงไฟฟ้า ถ่านหิน, ลิกไนต์ 2.0 พลังงานหมุนเวียนประเภทพลังน้ำ 2.0 น้ำมันเตา, ดีเซล 1.5 ก๊าซธรรมชาติ 1.0 พลังงานหมุนเวียนประเภทลม 1.0 และแสงอาทิตย์ พลังงานหมุนเวียนประเภทอื่น 1.0 เช่น ก๊าซชีวภาพ ชีวมวล กาก และเศษวัสดุเหลือใช้ ขยะชุมชน และอื่นๆ ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการกำกับกิจการพลังงาน
  • 56. การดำเนินงานของกองทุนรอบโรงไฟฟ้า การจัดตั้งกองทุนรอบโรงไฟฟ้า โรงไฟฟ้าที่มีสัญญาซื้อขายไฟฟ้ากับการไฟฟ้า 6 MW การจัดตั้งกองทุนฯ โรงไฟฟ้า 43 (เมษายน 2553) ภาค จังหวัด โรงไฟฟ้า เหนือ 8 10 กลาง 18 65 ตะวันออกเฉียงเหนือ 12 41 ใต้ 7 11 รวมทั้งหมด 45 127 73 กองทุน ใน 37 จังหวัด จัดตั้งกองทุนฯ แล้วเสร็จ 101 ยังไม่จัดตั้งกองทุนฯ 26 ยังไม่มีระเบียบกองทุนฯ 2 จ่ายไฟฟ้าหลัง พรบ.ฯ มีผลบังคับใช้ 24 รวมกองทุนฯ ที่จัดตั้งแล้ว 127
  • 57. หน่วยงาน บทบาท/หน้าที่ สถานที่ติดต่อ/เบอร์โทรศัพท์ 1. สำนักงานนโยบาย - การศึกษาผลกระทบ 60/1 ซอยพิบูลวัฒนา 7 (ซ.พระราม 6 ที่ 32) ถนนพระราม 6 และแผน ทรัพยากร ด้านสิ่งแวดล้อม หรือ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 ธรรมชาติและ การจัดทำ EIA โทรศัพท์ 0 2265 6500 โทรสาร 0 2265 6511 สิ่งแวดล้อม (สผ.) เว็บไซต์ www.onep.go.th 2. คณะกรรมการกำกับ - การขอใบอนุญาต 319 อาคารจัตุรัสจามจุรี ชั้น 19 ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน กิจการพลังงาน (กกพ.) ประกอบกิจการ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 และสำนักงาน พลังงาน โทรศัพท์ 0 2207 3599 โทรสาร 0 2207 3502 คณะกรรมการกำกับ - ความเป็นธรรม เว็บไซต์ www.erc.or.th กิจการพลังงาน (สกพ.) 3. กรมโรงงาน - การขออนุญาต 75/6 ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี อุตสาหกรรม ประกอบกิจการ กรุงเทพฯ 10400 กรณีอยู่นอกนิคม โทรศัพท์ 0 2202 4000-4014 โทรสาร 0 2354 3390 เว็บไซต์ www.diw.go.th 4. การนิคมอุตสาหกรรม - การขออนุญาต 618 ถนนนิคมมักกะสัน แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ แห่งประเทศไทย ประกอบกิจการ โทรศัพท์ 0 2253 0561 โทรสาร 0 2253 4086 (กนอ.) กรณีอยู่ในนิคม เว็บไซต์ www.ieat.go.th 5. องค์การบริหาร - การขออนุญาติตาม ตำบลที่ตั้งของโรงไฟฟ้า ส่วนตำบล (อบต.) อำนาจหน้าที่ของ 44 องค์กรปกครองท้องถิ่น