SlideShare a Scribd company logo
1 of 159
Download to read offline
สารบัญ
เรื่อง หนา
บทที่ 1 การจัดและการปรับปรุงโครงสรางและอัตรากําลัง 1
บทที่ 2 การพัฒนาระบบราชการและการพัฒนาระบบงาน 6
บทที่ 3 การวางแผนกําลังคน 12
บทที่ 4 การกําหนดตําแหนง มาตรฐานการกําหนดตําแหนง ระบบจําแนกตําแหนง 18
บทที่ 5 การวิเคราะหงานและการประเมินคุณภาพงานของตําแหนง 21
บทที่ 6 การใหไดรับเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง 24
บทที่ 7 หลักการและแนวทางในการสรรหาและเลือกสรรบุคคล 25
บทที่ 8 การบรรจุและแตงตั้ง 30
บทที่ 9 การฝกอบรมและการพัฒนาบุคคล 36
บทที่ 10 การเสริมสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการ 38
บทที่ 11 สิทธิประโยชนและสวัสดิการ 41
บทที่ 12 จรรยาบรรณขาราชการกรุงเทพมหานคร 42
บทที่ 13 การออกจากราชการ 52
บทที่ 14 การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Managament) 55
บทที่ 15 การพัฒนาองคการ (OD) 57
บทที่ 16 การวิเคราะหขอมูลเชิงสถิติเบื้องตน 63
แนวขอสอบ ชุดที่ 1 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 68
แนวขอสอบ ชุดที่ 2 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 82
แนวขอสอบ ชุดที่ 3 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 108
แนวขอสอบ ชุดที่ 4 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 123
แนวขอสอบ ชุดที่ 5 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 129
แนวขอสอบ ชุดที่ 6 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 135
แนวขอสอบ ชุดที่ 7 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 141
แนวขอสอบ ชุดที่ 8 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 149
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 1
บทที่ 1
การจัดและการปรับปรุงโครงสรางและอัตรากําลัง
ทิศทางการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร จากการวิเคราะหปจจัยตางๆ เพื่อตอบสนอง
ตอยุทธศาสตร “การเสริมสรางให บุคลากรของกรุงเทพมหานครมีความพรอมทั้งดานศักยภาพ คุณภาพชีวิต
และความภาคภูมิใจ เพื่อ รวมพัฒนามหานครใหนาอยูอยางยั่งยืน” จึงกําหนดทิศทาง ดังนี้
1. บริหารจัดการกําลังคนโดยยึดหลักธรรมาภิบาล
2. มุงสรางภาวะผูนําทั่วทั้งองคกร
3. เพิ่มกําลังคนคุณภาพ
4. จัดอัตรากําลังที่เหมาะสมกับภารกิจ
5. มีระบบการจางงานที่ยืดหยุน หลากหลาย สอดคลองกับลักษณะงาน
6. สงเสริมคุณภาพชีวิต และความภาคภูมิใจในการทํางาน
7. สรางวัฒนธรรมการทํางานที่มุงเนนผลลัพธการปฏิบัติงาน
เปาประสงคการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร เปาประสงคหรือผลลัพธสุดทายที่พึง
ประสงคของการบริหารทรัพยากรบุคคลของ กรุงเทพมหานคร จําแนกเปน 3 ประเด็นหลัก คือ
1. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล
2. ทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครมีศักยภาพสูง คุณภาพชีวิตที่ดี และความ ภาคภูมิใจใน
องคกร
3. ทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครมีคุณธรรม จริยธรรม
ยุทธศาสตรการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐)
แผนยุทธศาสตรการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๖๐) ประกอบดวย
ยุทธศาสตร 5 ดาน ดังนี้
ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลระบบการบริหารทรัพยากร บุคคล
ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาขีดสมรรถนะทรัพยากรบุคคลสูความเปนเลิศ
ยุทธศาสตรที่ 3 การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางาน (Quality of Work Life)
ยุทธศาสตรที่ 5 การสรางความเขมแข็งดานการบริหารทรัพยากรบุคคล
1. การบริหารทรัพยากรมนุษย HUMAN RESOURCE MANAGEMENT
ทรัพยากรมนุษยเปนผูสรางสรรพสิ่งทุกอยางจนกระทั่งกลายเปนผลผลิต หรือการบริการตามแตละ
ประเภทขององคการ ซึ่งนําไปสูความสําเร็จและการสรางภาพลักษณที่ดีแกองคการ โดยทั่วไปมนุษยแตละคนมี
ลักษณะหลากหลายแตกตางกันในดาน ความรู ทักษะ ทัศนคติ ซึ่งจะเปนองคประกอบที่ทําหนาที่ในการปฏิบัติ
ภารกิจตางๆ ใหองคการบรรลุเปาหมาย การดําเนินการใหมนุษยสามารถสรางสรรคงานอยางมีประสิทธิภาพนั้น
ตองอาศัยคุณภาพทางการบริหารทรัพยากรมนุษยในองคการ (พะยอม วงศสารศรี. 2538 : 2) ดังนั้นผูบริหาร
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 2
องคการทุกคนสมควรตองมีความรูและความเขาใจอยางลึกซึ้งถึงหลักการบริหารทรัพยากรมนุษย เพื่อใหสามารถ
บริหารทรัพยากรมนุษยใหเกิดประโยชนไดอยางมีประสิทธิภาพกอใหเกิดประสิทธิผลแกองคการ
ภาพรวมการบริหารทรัพยากรมนุษย
“การบริหารงานบุคคล” ซึ่งเปนคําเดิมที่เคยใชมาในอดีตนั้น เปนคําที่สื่อถึงการดําเนินกิจกรรม
พื้นฐานดั้งเดิม กลาวคือ การสรรหา บรรจุ แตงตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน การดําเนินการทางวินัย ฯลฯ
ในปจจุบันความหมายของ “คน” ในองคกรไปไกลกวานั้นมาก ดวยถือวาคนเปน “ทรัพยากร” ที่มี
คาจึงเกิดคําวา “การบริหารทรัพยากรมนุษย” ขึ้น หรือในบางองคกรมองไกลกวานั้นอีก กลาวคือมองเห็น
วาคนเปน “ตนทุน” ที่สําคัญขององคกร จึงเกิดคําใหมขึ้นมาวา “การบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนตนทุน”
หรือ “การบริหารทุนมนุษย” หรือ “Human Capital Management” ขึ้นอีกหนึ่งคํา
ดังนั้น คําวา “การบริหารทุนมนุษย” หรือ “การบริหารทรัพยากรมนุษย” จึงมีความหมาย
ใกลเคียงกันเนื่องจากมองคนเปน “ตนทุน” หรือเปน “ทรัพยากร” ที่สําคัญขององคกร
หากตนทุนมีนอย ก็ตองเติมใหเต็มหรือทําใหมีมากเพียงพอ
หากตนทุนมีจุดบกพรอง ก็ตองพัฒนา แกไข หรือเพิ่มคุณคาเพื่อใหเปนพลังขับเคลื่อนอยางแทจริง
หากตนทุนมีลักษณะที่เขาขายที่เรียกวา “เสื่อม” หรือพัฒนาไมขึ้นไมวาจะดวยวิธีการใด ก็ตอง
หาทางปรับเปลี่ยน โยกยาย หรือแมกระทั่งตองดําเนินการผองถายออกไป
ความหมายและความสําคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย
การบริหารทรัพยากรมนุษย หมายถึง กระบวนการที่ผูบริหารใชดําเนินงานดานบุคลากร ตั้งแตการ
สรรหา คัดเลือก และบรรจุบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมใหปฏิบัติงานในองคการ พรอมทั้งการพัฒนา ธํารง
รักษาใหสมาชิกที่ปฏิบัติงานในองคการไดเพิ่มพูนความรู ความสามารถ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีใน
การทํางาน และยังรวมไปถึงการแสวงหาวิธีการที่ทําใหสมาชิกในองคการ ที่ตองพนจากการทํางานดวยเหตุ
ทุพพลภาพ เกษียณอายุหรือเหตุอื่นใดในงาน ใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข
ความสําคัญของการบริการทรัพยากรมนุษยนั้น มีอยูมากมายหลายประการแตโดยสวนจะเขาใจกัน
เฉพาะในดานขององคกรผูไดรับผลประโยชนโดยตรงจากการบริหารงานทรัพยากรมนุษยที่มีประสิทธิภาพ
อยางไรก็ตาม ธัญญา ผลอนันต (2546:17) ไดกลาวถึงความสําคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย ที่
นอกเหนือจากดานองคกรแลว ยังมีผลตอดานบุคลากรตลอดจนสังคมสวนรวมดวย ซึ่งไดอธิบายถึงสําคัญไว
ในแตละ 3 ดาน ดังตอไปนี้
(1) ดานบุคลากร ชวยใหพนักงานในองคการไดคนพบศักยภาพของตนเอง และไดพัฒนาตนเอง
ใหมีความสามารถเชิงสมรรถนะในการปฏิบัติงานไดอยางเต็มที่ มีความผาสุกและความพึงพอใจในงาน เกิด
ความกาวหนา สามารถทํางานที่ใหผลการดําเนินการที่ดีมีประสิทธิผล
(2) ดานองคกร ชวยพัฒนาองคกร พนักงานที่มีคุณภาพก็จะดําเนินการตามแผนปฏิบัติการ ตาม
แนวทางที่ผูนําระดับสูงวางไวอยางมีประสิทธิผล ทําใหเกิดผลการดําเนินงานที่เปนเลิศทั้งดานบริการและการ
ผลิตสินคา องคกรก็ยอมจะเจริญกาวหนา มีความมั่นคงและขยายงานออกไปไดดวยดี
(3) ดานสังคม ชวยเสริมสรางความมั่นคงใหแกสังคมและประเทศชาติ เมื่อองคกรซึ่งเปนหนวย
หนึ่งของสังคมเจริญกาวหนาและมั่นคงดี ก็สงผลไปถึงสังคมโดยรวมดวยเมื่อพนักงานไดพัฒนาตนจนมี
ความสามารถหารายไดมาชวยใหครอบครัวมั่นคงก็สงผลดีตอชุมชน
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 3
ปรัชญาการบริหารทรัพยากรมนุษย
โดยปกติมนุษยจะตัดสินใจทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้นตามความคิด ความเชื่อ และคานิยมที่อยูในตัวของเขา
โดยมีแนวความคิดที่เปนพื้นฐานวาสิ่งที่เลือกทําเปนสิ่งที่มีคามากที่สุด ซึ่งสิ่งที่เปนพื้นฐานของความคิดก็คือ
ปรัชญาประจําตัวนั้นเอง การบริหารทรัพยากรมนุษยก็เชนกัน ผูบริหารหรือผูจัดการก็จะตองมีปรัชญาการ
บริหารทรัพยากรมนุษยเปนแนวทางในการปฏิบัติ
ปรัชญาการบริหารทรัพยากรมนุษยประกอบดวย
1) หลักคุณธรรม (Merit - Based)
2) หลักสมรรถนะ (Competency - Based)
3) หลักผลงาน (Performance - Based)
4) หลักการกระจายอํานาจและความรับผิดชอบ (HR Decentralization)
5) หลักคุณภาพชีวิตในการทํางาน (Quality of Work Life)
1) หลักคุณธรรม (Merit - Based) : หลักคุณธรรมหรือระบบคุณธรรมใชในการบริหารทรัพยากร
บุคคลทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจ หลักคุณธรรมประกอบดวย 4 หลักใหญ คือ
(1) หลักความเสมอภาค คือ เสมอภาค ไมเลือกปฏิบัติ ไมคํานึงถึงผิวพรรณ เชื้อชาติ เพศ
ฯลฯ
(2) หลักความสามารถ การบริหารคนหมูมากตองมีวิธีวัดความสามารถ ซึ่งปจจุบันเปลี่ยนมา
เปนหลักผลงาน และหลักสมรรถนะ
(3) หลักความเปนกลาง หมายถึง การปฏิบัติหนาที่โดยไมคํานึงถึงฝายใด ขาราชการเปน
กลไกรัฐ ตองทํางานตามนโยบายของรัฐบาล แตบางครั้งถูกมองวารับใชหรือเขาขางฝายใดฝายหนึ่ง ซึ่งอาจมี
ผลกระทบกับความมั่นคงในอาชีพราชการ
(4) หลักความมั่นคง หมายถึง การรับรองการเปนอาชีพ มีทางกาวหนา มีคาตอบแทน
และสวัสดิการที่เหมาะสม ที่เกียรติและศักดิ์ศรี
2) หลักสมรรถนะ (Competency - Based) : หมายถึง ใชคนใหตรงกับความรูความสามารถ (Put
the Right Man on the Right Job) โดยการศึกษา และกําหนดความรูความสามารถที่ตองการสําหรับ
ตําแหนงตางๆ แลวนําไปสรรหาพัฒนาใหไดบุคคลที่เหมาะสมมาดํารงตําแหนง
3) หลักผลงาน (Performance - Based) : คือ การบริหารโดยยึดผลงานเปนหลัก หมายความวา
จะใหคุณใหโทษใครใหดูที่ผลงาน ตรงนี้มาจากภาคธุรกิจ ถามวาราชการยึดผลงานอยางเดียวไดไหม คําตอบ
คือคงไมได จะตองมีปจจัยอื่นๆ หรือแมแตทางธุรกิจเหมือนกันตองมองทั้ง Input ที่ใสเขาไปในการทํางาน
Output ที่เกิดขึ้น รวมทั้งทัศนคติ (Attitude) และวิธีการทํางานของเขา ตองโปรงใส แตอยางไรก็ตาม ก็ให
เนนผลงาน ใหยึดผลงานเปนหลัก
4) หลักการกระจายอํานาจและความรับผิดชอบ (HR Decentralization) : คือใหรวมกัน
รับผิดชอบ เวลาถามวาใครเปน HR Manager ใครเปน Personnel Manager ถาเปนยุคกอนคําตอบคือ
หัวหนาการเจาหนาที่ แตคําตอบยุคนี้คือผูบริหารนั้นเอง หรือ Line Manager นั้นเอง ที่เปน HR Manager
ในตัวเอง ตองรูหลักตองบริหารได
5) หลักคุณภาพชีวิตในการทํางาน (Quality of Work Life) : คือ ในการทํางานมี Work Life กับ
Home Life ทําอยางไรใหสมดุลกัน (Balance)
เปาหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษย
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 4
เปาหมายหรือวัตถุประสงคของการบริหารทรัพยากรมนุษย มี 4 วัตถุประสงคหลัก คือ สรรหา พัฒนา
รักษาไว ใชประโยชน
สรรหา คือ หาคนดีคนเกงเขามาทํางาน การสรรหาประกอบดวยการสรรหาแบบตั้งรับหรือ
แบบดั้งเดิม และการสรรหาเชิงรุก
พัฒนา คือ รับเขามาแลวพัฒนาใหเปนคนดี คนเกงยิ่งๆ ขึ้นไปอีก การที่จะพัฒนาใหเกงขึ้นไป
อีกตองรูวาเขาเปนใคร เขามีความถนัด มีจุดแข็งจุดออนอยางไร ก็ตองไปทําสิ่งที่
เรียกวา Career Planning ทํา IDP หรือ Individual Development Plan ระบบ
พัฒนาเปนเรื่องที่จําเปนในการสรางคน ตองพัฒนาอยางทั่วถึงทั้งองคกร พัฒนาอยาง
ตอเนื่อง เปนตน
รักษาไว คือ รักษาไวใหอยูกับเราเปนเรื่องการจัดการทางกาวหนาในอาชีพ การมีคาตอบแทน
ที่เหมาะสม การสรางความพึงพอใจและเปนผูรักองคกร
ใชประโยชน คือ การใชคนใหตรงกับงาน ใหความเปนอิสระและมีสวนรวม ใหทํางานไดอยางเต็ม
ศักยภาพ
ภารกิจ 10 ประการของการบริหารทรัพยากรมนุษย
หลักวิชาหรือศาสตรในเรื่องการบริหารทรัพยากรมนุษย อาจจําแนกไดเปน 10 กลุมภารกิจ ดังนี้
1. โครงสรางองคกร (Organization Structure) จะเกี่ยวกับการออกแบบองคกรและการจัด
ระบบงานในองคกรซึ่งในราชการไทยปจจุบัน มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คือ กพร. จะชวยดูแล
เกี่ยวกับการจัดตั้งปรับปรุงองคกร
โครงสรางองคกร คือ แผนภูมิแสดงตําแหนงทั้งหมดในองคกร แสดงความสัมพันธของอํานาจหนาที่
ของแตละหนวยงาน หรือแสดงความเชื่อมโยงทั้งแนวตั้งและแนวนอนของตําแหนงทั้งหมด รูปแบบของการจัด
องคกรรวมและของฝายบริหารทรัพยากรบุคคลเองก็ขึ้นกับปจจัยภายในและภายนอกหลายอยาง และ ไม
จําเปนตองเหมือนกันในทุกองคกร นอกจากนี้การจัดทําโครงสรางองคกร จะสามารถระบุไดวาตําแหนงใดใน
องคกรมีหนาที่อะไรตอไป ซึ่งจะเปนขอมูลพื้นฐานที่สําคัญในการออกแบบกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล
ขององคกรใหสอดคลองตอโครงสรางองคกรไมวาจะเปนโครงสรางอํานาจหนาที่ โครงสรางการบังคับบัญชา
และโครงสรางอัตรากําลัง เพื่อใหการกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลขององคกรเปนไปในทิศทางเดียวกัน
และไมเปนอุปสรรคในการการปฏิบัติหนาที่ในแตละบทบาทภารกิจของทรัพยากรบุคคล
2. การวางแผนกําลังคนและการสรรหาบุคลากร (Workforce Planning and Recruitment)
เกี่ยวของกับ
(1) Redeployment of resource เกลี่ยทรัพยากร อาจใชวิธีเกลี่ยตําแหนง หรือเกลี่ย
คนไปทํางานที่เหมาะสม
(2) Retirement Bubble คือ การรักษาผูอยูในชวงวัยกําลังจะเกษียณอายุไวในองคกร จะ
ถายทอดอยางไรหรือจะรักษาเขาไวไดอยางไร
(3) Organization Size เปนการพิจารณาวาขนาดขององคกรควรจะมีขนาดเล็กหรือขนาด
ใหญ หรืออาจวาจางจากภายนอก
(4) War for Talent การรักษากําลังคนในสาขาที่ขาดแคลนหรือหายากไวในองคกร
จะตองมีการสรรหาในเชิงรุก และการเพิ่มพูนแรงจูงใจ
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 5
3. การฝกอบรม การพัฒนา และการจัดการความรู(HRM–Training and Development
/Knowledge Management) กลุมนี้สอดคลองกับการบริหารทรัพยากรบุคคล คือ สรรหา พัฒนา รักษาไว
ใชประโยชน และเพิ่มเรื่อง Knowledge Management – KM เขาไป ยุคปจจุบันพูดถึงการบริหารองค
ความรู การจัดการความรู เนื่องจากความรูทุกดานไมใชเฉพาะดาน HR เทานั้น ความรูในแตละดานมีการ
เคลื่อนตัวไปเร็วมาก บางเรื่องเคลื่อนตัวไปจนกระทั่งความรูเดิมที่มีอยูใชไมไดเลย จึงตองสรางบรรยากาศ
แหงการเรียนรูและการแลกเปลี่ยนความรูเพื่อเปนคุณคาหลักในการทํางาน
4. การวางแผนทดแทนตําแหนง/การหมุนเวียนงาน (Succession Plan/Staff Rotation) การ
บริหารทรัพยากรบุคคลในองคกรควรมีการวางแผนทดแทนตําแหนง หรือพูกงายๆ คือ มีแผนสืบทอดตําแหนง
หรือการสรางตัวตายตัวแทนนั่นเอง โดยจะตองมีการพิจารณาผูที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับตําแหนวนั้นๆ
เครื่องมือที่ชวยในการวางแผนทดแทนตําแหนง ก็คือฐานขอมูลกําลังคน (Talent Inventory HR Database)
มีการบริหารจัดการผูที่มีความรูความสามารถ (Talent Management)
5. การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) หรือ PM เปนการบริหาร
ทรัพยากรบุคคลโดยยึดผลงานเปนหลัก มีการกําหนดเปาหมายและตัวชี้วัด ถือเปนกลไกสําคัญในการ
ขับเคลื่อนองคกรใหทํางานบรรลุเปาหมาย
6. การกําหนดภารกิจอยางมีเปาหมายและการวัดผลงานบุคคล (Individual KPI) หลักเบื้องตนของ
การบริหารผลการปฏิบัติงานนั้นใชกับองคกร กลาวคือ องคกรตองมีเปาหมายวาตองทําอะไรใหเสร็จ ใน
ระดับไหน มีคุณภาพอยางไร จากนั้นก็นํามาใชกับบุคคล มีตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานรายบุคคล (Individual
KPI) และนําผลไปใชในการใหคุณใหโทษ ตลอดจนการพัฒนาบุคคล
7. การบริหารคาตอบแทนและสวัสดิการ (Pay Administration) ตองคํานึงถึงความเสมอภาค
ภายนอก (Ex-ternal Equity) และความเสมอภาคภายใน (Internal Equity) รวมถึงตองใชกลไกตลาด
(Market Mechanism) เขามาพิจารณาดวย
8. การสื่อสารความรูความเขาใจทั่วทั้งองคกร ถือเปนหนาที่ของผูบริหารดานทรัพยากรบุคคล (HR
Manager) ที่ตองสื่อสารเรื่องราวตางๆ ทั้งหลายที่เกี่ยวของกับบุคคลในองคกรใหทั่วถึง โดยเฉพาะเรื่องสิทธิ
ประโยชน ทางกาวหนาหรือเงื่อนไขในการทํางาน
9. คุณภาพใหบริการ ถือเปนหนาที่ของ HR Manager ดวยที่ตองใหความสําคัญตอลูกคาหรือ
ผูรับบริการและเนนย้ําหลักการเรื่องนี้ตอผูปฏิบัติงานทั่วทั้งองคกร
10. การพัฒนาและใชขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหองคกรทันสมัยและใชขอมูลบนฐานเดียวกัน
ในการบริหารงาน
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 6
บทที่ 2
การพัฒนาระบบราชการและการพัฒนาระบบงาน
การปฏิรูประบบราชการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของระบบราชการตั้งแตบทบาทหนาที่
ภาครัฐ โครงสรางอํานาจในระดับตางๆ รูปแบบองคกร ระบบบริหารและวิธีการทํางาน ระบบบริหารงาน
บุคคล กฎหมาย กฎ ระเบียบ วัฒนธรรมและคานิยม เพื่อใหระบบราชการมีสมรรถนะสูง เปนกลไกการบริหาร
จัดการประเทศใหสามารถแขงขันในระดับโลกได
ความเปนมาของการปฎิรูประบบราชการ วิวัฒนาการของระบบราชการไทย มีการเปลี่ยนแปลง
เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ดังนี้
- สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1991 – 2072) มีการจัดแบง
โครงสราง ในรูปของจตุสดมภ
- สมัย ร.5 มีการปรับปรุงทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถิ่น จัดตั้งกระทรวงและกรม
ตางๆ ใหมีบทบาทเฉพาะดานเพื่อพัฒนาประเทศ ใหบริการสาธารณะตางๆ รองรับการเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง และเพื่อความอยูรอดจาการลาอาณานิคม
- สมัย ร.7 เนนระบบคุณธรรม และสรางอาชีพราชการเปนอาชีพของคนไทย รองรับการ
เปลี่ยนแปลง การปกครองสูระบอบประชาธิปไตย และแกปญหาวิกฤตขาราชการพลเรือน
รัฐบาลปรับปรุงระบบอยางตอเนื่อง รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มุงเนนให
มีการปฏิรูปการเมือง การศึกษา และการปฏิรูประบบราชการ ดังนี้
 มาตรา 70 บุคคลที่เปนราชการ ฯลฯ มีหนาที่ดําเนินการเพื่อใหเปนไปตามกฎหมาย เพื่อ
รักษาประโยชนสวนรวม อํานวยความสะดวกและใหบริการประชาชน
 มาตรา 75 รัฐตองจัดระบบงานราชการและงานของรัฐอยางอื่นใหมีประสิทธิภาพ เพื่อ
ตอบสนองความตองการของประชาชน
- พ.ศ.2540 รัฐบาลไดจัดทําแผนแมบทการปฏิรูประบบราชการ พ.ศ.2540-2544 เพื่อ
เปนกรอบทิศทางการปฏิรูประบบ และไดออกมาตรการปรับภาคราชการในภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ
- พ.ศ.2541 รัฐบาลไดออมาตรการควบคุมคาใชจายดานบุคคลภาครัฐใหเปนไปอยาง
ประหยัด
- พ.ศ.2542 รัฐบาลไดแปลงแผนแมบทการปฏิรูประบบ เปนแผนการปฏิบัติการ คือ แผน
ปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ มี 5 แผนสําคัญ
- พ.ศ.2545 เปนจุดเริ่มตน การพัฒนาระบบราชการ โดยนําหลักการตามแผนปฏิรูประบบ
บริหารภาครัฐ ไปสูการปรับปรุงระเบียบบริหารราชการแผนดิน ปรับโครงสรางกระทวง ทบวง กรม
เหตุผลความจําเปนในการปฏิรูประบบราชการไทย จากสถานการณและสภาพปญหาตางๆ ไดแก
เกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจและการเงิน เกิดปญหาสังคมออนแอ แรงกดดันจากระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม
โลก (เสรีภาพ การมีสวนรวมของประชาชนในการตรวจสอบอํานาจรัฐและปกครองประเทศ) ประชาชนมอง
ระบบราชการเปนระบบที่ลาหลัง ไมสามารถตอบสนองความตองไดอยางมีประสิทธิภาพ ภาคราชการมีขนาด
ใหญเกินไป ทํางานในลักษณะศูนยรวมอํานาจ ทํางานโดยยึดติดกับวิธีการมากกวาผลลัพธของงาน
การปฏิรูปราชการ พ.ศ.2540 เปนแรงผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลง กระแสการปฏิรูประบบราชการ
และแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมในหลายประเทศทั่วโลก
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 7
วัตถุประสงคของการปฏิรูประบบราชการ
1. เพื่อใหราชการเปนกลไกและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพของรัฐบาล
2. เพื่อเสริมสรางสมรรถนะของประเทศในการแขงขันระดับเวทีโลก
3. เพื่อสรางและฟนฟูความเชื่อมั่นของประชาชน และสังคมตอระบบราชการ
4. เพื่อสรางวัฒนธรรมและคุณคาใหมในวงราชการ
5. เพื่อใหมีการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ
โดยสรุป จุดมุงหมายสูงสุด คือ เพื่อใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความเปนอยูดี มีความสุข สังคมไทยมี
เสถียรภาพ ประเทศชาติมีเกียรติภูมิ มีความสามารถสูงในการแขงขันกับเวทีโลก
กรอบการปฏิรูประบบราชการ มีการจัดทําแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ เปนไปในลักษณะองครวม เพื่อ
เปลี่ยนไปสู รูปแบบการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม เนนการทํางานโดยยึดผลลัพธ มีการวัดผลลัพธ และ
คาใชจายอยางเปนรูปธรรม คือการทํางานเพื่อประชาชน วัดผลได มีความโปรงใสวิธีการทํางานรวดเร็วและคลองตัว
แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ ใน 5 ดาน
1. แผนการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและวิธีการบริหารงานของภาครัฐ
2. แผนการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณเปนระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานและผลลัพธ
3. แผนการปรับเปลี่ยนระบบบริหารบุคคล
4. แผนการปรับเปลี่ยนกฎหมาย
5. แผนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและคานิยม
เนื่องจากเปนระบบใหญ จําเปนตองเรงรีบดําเนินการปฏิรูปในทุกๆ ดานพรอมๆ กัน ไดมีการทบทวน
และปรับปรุงแกไขออกแบบใหมใหดียิ่งขึ้น ไดดําเนินการพรอมกันทั้ง 5 ดาน และปรับปรุงใหเหมาะสมตาม
สถานการณ
ราชการไดอะไร
1. เปนราชการที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุมคาภาษีของประชาชน ซื่อตรง และโปรงใสมี
ความรับผิดชอบมีความแนนอน คงเสนคงวามองการณไกล ทันสมัย ทันโลก ทันตอเหตุการณมีความมั่นคง
กลาหาญ ที่พรอมจะยืนหยัดเคียงขางประชาชน ไมยอมใหอธรรมลวงล้ําได
2. ไดรับความไววางใจ เชื่อถือ ศรัทธาจากประชาชนวาเปนระบบที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพและ
คุณธรรม เขาใจงายและเปนเพื่อนประชาชน
สรุป การปฏิรูประบบราชการ เปนการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจ และระบบบริหารราชการแผนดินใน
ระดับมหภาค เพื่อนําไปสูการพัฒนาโครงสราง ระบบและกลไกของภาคราชการ ใหสนองตอความเปลี่ยนแปลง
ทางเศรษฐกิจ สังคม ความตองการของประชาชน และเอื้อตอการพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนา เพียงพอตอ
การแขงขันในเวทีโลกได
กาวแรกของการดําเนินการ
คือ การปรับปรุงแกไขและประกาศใชกฎหมายที่เกี่ยวของ 2 ฉบับ ไดแก กฎหมายวาดวยการ
บริหารราชการแนวใหมและเรื่องการจัดกระทรวง ทบวง กรมใหม โดยไดประกาศบังคับใช กฎหมาย ในวันที่ 3
ตุลาคม 2545 ถือเปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาระบบราชการ
1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 มีการกําหนด
นโยบาย เปาหมาย ผลสัมฤทธิ์และแผนปฏิบัติงานเพื่อใหประเมินผลการปฏิบัติราชการในแตละระดับไดอยาง
ชัดเจน โดยยึดประโยชนสุขของประชาชนเปนเปาหมาย วางกรอบการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีเปนแนวทาง
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 8
กําหนดรูปแบบการบริหารใหมของสวนราชการใหมีกลุมภารกิจและการใชงบประมาณระหวางสวนราชการได
อยางมีประสิทธิภาพ ประหยัด ลดความสิ้นเปลือง ความซ้ําซอนและกําหนดกรอบการบริหารราชการใน
ตางประเทศ
2. พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 เปนของระบบราชการให
สอดคลองกับสภาพความเปนไปของสังคมและเจตนารมณแหงรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มุงใหภาครัฐมี
ประสิทธิภาพ ตอบสนองความตองการของประชาชน โดยปรับสวนราชการ ลดความซ้ําซอน ปรับระบบงานให
เปนกลุมภารกิจ
ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการ
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการไดกําหนดวิสัยทัศนของการพัฒนาระบบราชการในชวง ป
2546-2550 ไววา พัฒนาระบบราชการไทยใหมีความเปนเลิศ สามารถรองรับการพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิ
วัตน โดยยึดหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี และประโยชนสุขของประชาชน ไดกําหนดเปาประสงคหลัก
หรือผลลัพธสุดทายของการพัฒนาระบบราชไทย ไว 4 ประการ คือ
1. พัฒนาคุณภาพการใหบริการประชาชนที่ดีขึ้น มุงปรับกระบวนการใหบริการสาธารณะ มี
ประสิทธิภาพ มีคุณภาพและอํานวยความสะดวกตอประชาชนใหมากขึ้น
2. ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดใหมีความเหมาะสม ปรับราชการใหมีขนาดที่เหมาะสม
เพื่อประหยัดเงินภาษีอากรของประชาชน เพื่อประชาชนจะไดรับประโยชนสูงสุด
3. ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทํางานใหอยูในระดับสูงและเทียบเทาเกณฑ
สากล โดยเพิ่มขีดความสามารถของสวนราชการทั้งในสวนกลางและระดับภูมิภาค
4. ตอบสนองตอการบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยพัฒนาใหเปนระบบราชการ
ที่เปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม
ภายใตเปาประสงคหลัก รัฐบาลไดเห็นชอบแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย
(พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561) สามารถแบงออกไดเปน 3 หัวขอ รวม 7 ประเด็นยุทธศาสตร ดังนี้
การยกระดับองคกรสูความเปนเลิศ
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 การสรางความเปนเลิศในการใหบริการประชาชน
พัฒนา งานบริการของสวนราชการและหนวยงานของรัฐสูความเปนเลิศ เพื่อใหประชาชนมีความพึง
พอใจตอคุณภาพการใหบริการ โดยออกแบบการบริการที่ยึดประชาชนเปนศูนยกลาง มี การนําเทคโนโลยี
สารสนเทศที่เหมาะสมมาใชเพื่อใหประชาชนสามารถใชบริการได งายและหลากหลายรูปแบบ เนนการ
บริการเชิงรุกที่มีปฏิสัมพันธโดยตรงระหวางภาครัฐและประชาชน การใหบริการแบบเบ็ดเสร็จอยาง
แทจริง พัฒนาระบบการจัดการขอรองเรียนใหมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเสริมสรางวัฒนธรรมการบริการที่เปน
เลิศ
กลยุทธ
● พัฒนาระบบการใหบริการประชาชน
● เสริมสรางวัฒนธรรมการใหบริการที่เปนเลิศ
● พัฒนาระบบการจัดการขอรองเรียนและแกไขปญหาความเดือนรอนของประชาชน
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 9
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาองคการใหมีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย บุคลากรมีความเปนมือ
อาชีพ
พัฒนา สวนราชการและหนวยงานของรัฐสูองคการแหงความเปนเลิศ โดยเนนการจัดโครงสราง
องคการที่มีความทันสมัย กะทัดรัด มีรูปแบบเรียบงาย (Simplicity) มีระบบการทํางานที่คลองตัว รวดเร็ว
ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการทํางาน เนนการคิดริเริ่มสรางสรรค (Creativity) พัฒนา ขีดสมรรถนะของ
บุคลากรในองคการ เนนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ สรางคุณคาในการปฏิบัติภารกิจของรัฐ ประหยัด
คาใชจายในการดําเนินงานตาง ๆ และสรางความรับผิดชอบตอสังคม อนุรักษสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน
กลยุทธ
● พัฒนาหนวยงานของรัฐใหมีขีดสมรรถนะสูง
● พัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนและพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบราชการ
● เพิ่มผลิตภาพในการปฏิบัติราชการ โดยการลดตนทุน และสงเสริมนวัตกรรม
● สรางความรับผิดชอบตอสังคมและอนุรักษสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินทรัพยของภาครัฐใหเกิดประโยชนสูงสุด
วางระบบการบริหารจัดการสินทรัพยของราชการอยางครบวงจร โดยคํานึงถึงคาใชจายที่ผูกมัด/ผูกพัน
ติดตามมา (Ownership Cost) เพื่อ ใหเกิดประโยชนสูงสุดหรือสรางมูลคาเพิ่ม สรางโอกาส และสรางความ
มั่นคงตามฐานะเศรษฐกิจของประเทศ ลดความสูญเสียสิ้นเปลืองและเปลาประโยชน รวมทั้งวางระบบและ
มาตรการที่จะมุงเนนการบริหารสินทรัพยเพื่อใหเกิดผลตอบ แทนคุมคา สามารถลดตนทุนคาใชจายโดยรวม
มีตนทุนที่ต่ําลงและลดความตองการของสินทรัพยใหมที่ไมจําเปน
กลยุทธ
● บริหารสินทรัพยของภาครัฐอยางครบวงจรเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ คุมคา และสะทอนตนทุนที่
แทจริงของภาครัฐ
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 การวางระบบการบริหารงานราชการแบบบูรณาการ
สง เสริมการทํางานรวมกันภายในระบบราชการดวยกันเองเพื่อแกปญหาการแยกสวนใน การ
ปฏิบัติงานระหวางหนวยงาน รวมถึงการวางระบบความสัมพันธและประสานความรวมมือระหวางราชการ
บริหารสวน กลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น ในรูปแบบของการประสานความรวมมือที่หลากหลาย
ภายใตวัตถุประสงคเดียวกัน คือ นําศักยภาพเฉพาะของแตละหนวยงานมาสรางคุณคาใหกับงานตาม
เปาหมายที่กําหนด เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย/ยุทธศาสตรของประเทศและการใชประโยชนทรัพยากรอยาง
คุมคา
กลยุทธ
● ออกแบบและพัฒนาระบบการบริหารงานแบบบูรณาการ
● ปรับปรุงความสัมพันธและประสานความรวมมือระหวางราชการบริหารสวนกลาง สวนภูมิภาคและ
สวนทองถิ่น
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 10
การพัฒนาอยางยั่งยืน
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5 การสงเสริมระบบการบริหารกิจการบานเมืองแบบรวมมือกันระหวางภาครัฐ
ภาคเอกชนและภาคประชาชน
สง เสริมใหหนวยงานราชการทบทวนบทบาทและภารกิจของตนใหมีความเหมาะสม โดยให
ความสําคัญตอการมีสวนรวมของประชาชน มุงเนนการพัฒนารูปแบบความสัมพันธระหวางภาครัฐกับภาค
สวนอื่น การถายโอนภารกิจบางอยางที่ภาครัฐไมจําเปนตองดําเนินงานเองใหภาคสวนอื่น รวมทั้งการสราง
ความรวมมือหรือความเปนภาคีหุนสวน(Partnership) ระหวางภาครัฐและภาคสวนอื่น
กลยุทธ
● ทบทวนบทบาทภารกิจและอํานาจหนาที่ของหนวยงานของรัฐใหเหมาะสม ถายโอนภารกิจงานและ
กิจกรรมที่ภาครัฐไมจําเปนตองปฏิบัติเองใหภาคสวนตาง ๆ
● สงเสริมการบริหารราชการระบบเปดและการสรางเครือขาย
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 6 การยกระดับความโปรงใสและสรางความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการ
แผนดิน
สง เสริมและวางกลไกใหสวนราชการและหนวยงานของรัฐเปดเผยขอมูลขาวสารและ สรางความโปรงใส
ในการปฏิบัติราชการ รวมทั้งสงเสริมใหภาคประชาชนเขามามีสวนรวมในการตรวจสอบการทํางานของทาง
ราชการ ตลอดจนการขับเคลื่อนยุทธศาสตรและมาตรการในการตอตานการทุจริตคอรรัปชั่น ใหบรรลุ
ผลสัมฤทธิ์อยางเปนรูปธรรม
กลยุทธ
● สงเสริมและวางกลไกสรางความโปรงใสในการปฏิบัติราชการ
● ขับเคลื่อนยุทธศาสตรและมาตรการในการตอตานคอรรัปชั่น
กาวสูสากล
ประเด็นยุทธศาสตรที่ 7 การสรางความพรอมของระบบราชการไทยเพื่อเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน
เตรียม ความพรอมของระบบราชการไทยเพื่อรองรับการกาวเขาสูประชาคมอาเซียน รวมทั้งประสาน
พัฒนาเครือขายความรวมมือกันในการสงเสริมและยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐของ ประเทศสมาชิก
อาเซียน อันจะนําไปสูความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางการเมือง และความเจริญผาสุกของสังคม
รวมกัน
กลยุทธ
● พัฒนาระบบบริหารงานของหนวยงานที่มีความสําคัญเชิงยุทธศาตรเพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน
● เสริมสรางเครือขายความรวมมือเพื่อยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐของประเทศสมาชิกอาเซียน
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 11
การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมในการพัฒนาระบบราชการ
ความหมายและความเปนมาของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม
(New Public Management – NPM)
ความหมาย การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม คือ รูปแบบการบริหารที่นํามาเพื่อปรับใชกับภาครัฐ เพื่อ
ลดปญหาตาง ๆ ในการบริหารจัดการ โดยเนนการทํางานที่ยึดผลลัพธเปนหลัก มีการวัดผลลัพธ และคาใชจาย
อยางเปนรูปธรรม เพื่อเปาหมายสุดทาย คือระบบราชการที่มีระบบการทํางานที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูง
เทียบเทามาตรฐานสากล มีเจาหนาที่ที่มีประสิทธิภาพ ศักยภาพสูง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรของภาครัฐ
อยางประหยัด คุมคา เหมาะสม ทําใหระบบราชการมีความคลองตัว ยืดหยุน สามารถปรับตัวไดทันตอการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและประชาคมโลกสามารถตอบความตองการและนําบริการที่ดี มีคุณภาพไปสูประชาชนได
NPM หมายรวมถึง “การบริหารจัดการ” และ “การจัดการภาครัฐ”
หลักของ NPM ทั้ง 17 ขอนี้ จะทําใหเขาใจ หลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมอยางดี และ
สามารถนําไปปฏิบัติใหเกิดผลไดอยางมีประสิทธิภาพ
การประยุกตการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมกับการพัฒนาระบบราชการไทย ยึดหลัก 3 S คือ
- S = Struture (โครงสราง) คือโครงสรางองคกร
- S = Service (บริการ) คือการบริการหรือวิธีปฏิบัติราชการของขาราชการ
- S = Size (ขนาด) คือ การกําหนดขนาดและกําลังคนใหมีความเหมาะสม
จุดเนนของการประยุกตใช NPM ในการพัฒนาระบบราชการ รัฐบาลไดประยุกตแนวคิด NPM เรื่องสําคัญ
ดังนี้
- ภาครัฐจะตองลดบทบาทภารกิจลง มาเปนฝายสนับสนุนและเสริมสรางพลังใหภาคเอกชน
และภาคประชาชนเปนผูดําเนินการ ซึ่งจะนําไปสูการมีสวนรวมของประชาชน
- เนนการปรับเปลี่ยนวิธีการทํางาน เปนการใหความสําคัญที่ผลสัมฤทธิ์ หรือผลผลิตและ
ผลลัพธของการทํางาน
- เนนเปาหมายสุดทาย คือผูรับบริการหรือประชาชน ซึ่งการกินดีอยูดีและความสงบสุข
- ในมิติของการบริหารทรัพยากรบุคคล คือ จํานวนกําลังคนภาครัฐจะตองมีไมมากนักตอง
เปนกําลังคนที่มีคุณภาพและสามารถใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 12
บทที่ 3
การวางแผนกําลังคน
เหตุผลความจําเปนในการกําหนดมาตรการ
1.1 มาตรา 35 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ.
2542 กําหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีคาใชจาย ดานบุคคลไมเกินรอยละ 40 ของงบประมาณรายจาย
ประจําป โดยในปงบประมาณ พ.ศ.2547-2551 กรุงเทพมหานครมีคาใชจายดานบุคคล คิดเปนรอยละ
28.36,31.45,30.38,34.89 และ 34.91 ของงบประมาณรายจายประจําป และในปงบประมาณ พ.ศ.2552 มี
ประมาณการคาใชจาย ดานบุคคลที่จะเบิกจายคิดเปนรอยละ 41.10 ของงบประมาณรายจายประจําป
1.2 สภาพกําลังคนของกรุงเทพมหานครยอนหลัง 5 ป (พ.ศ.2547-2551) โดยในสวนของ
ขาราชการมีจํานวนกรอบอัตรา กําลังขาราชการกรุงเทพมหานครสามัญเพิ่มขึ้นทุกปเปนจํานวน 21,758
21,998 22,717 23,382 และ 23,647 ตําแหนง ตามลําดับ สําหรับกรอบ อัตรากําลังลูกจางมีจํานวนสูงมาก
โดยนับตั้งแตป พ.ศ.2547 มีจํานวนกรอบอัตรากําลังลูกจาง 55,239 61,644 57,763 และ 61,178 ตําแหนง
ตามลําดับ
คณะกรรมการจัดสรรกําลังคนฯ ไดพิจารณาจํานวนกําลังคนของกรุงเทพมหานครที่มีการ
เพิ่มขึ้นโดยตลอดแลวเห็นวา กรุงเทพมหานครจะมีคาใชจายดานบุคคลเกินกวาที่กําหนดไวตามมาตรา 35 แหง
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 จึงมีความจําเปนจะตองมีการปรับขนาด
กําลังคนโดยดวนเพื่อไมใหมีคาใชจายดานบุคคลเกิดกวาที่กฎหมายกําหนดและเพื่อใหกําลังคนของ
กรุงเทพมหานครมีขนาดและคุณภาพที่เหมาะสม สอดคลองกับภารกิจของกรุงเทพมหานคร
แนวทางการปรับขนาดกําลังคน
การปรับขนาดกําลังคนของกรุงเทพมหานครใหไดผลในทางปฏิบัติที่เปนรูปธรรม จําเปนตอง
มีแนวทาง ดําเนินการที่หลากหลายและเปนระบบ ตั้งแตการปรับลดบทบาทภารกิจ การปรับเปลี่ยน
กระบวนการและวิธีการทํางาน การสงเสริมกลไก การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลตาง ๆ โดยการผลักดันให
หนวยงานเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานดวยการพัฒนาบุคลากรใหเปนผูปฏิบัติ งานที่ทรงความรู ตลอดจนการ
เสริมสรางแรงจูงใจและคุณภาพซึ่งเปนการทํางานที่มีผลเชื่อมโยงตอการใชทรัพยากรบุคคลใหคุมคาเต็ม
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 13
ศักยภาพ และเกิดประโยชนสูงสุดควบคูกันไป จึงไดกําหนดมาตรการเพื่อใชในการปรับขนาดกําลังคนของ
กรุงเทพมหานคร ประกอบดวย มาตรการหลัก และมาตรการสนับสนุน ดังนี้
1. มาตรการหลัก เปนมาตรการที่กําหนดใหทุกหนวยงานปฏิบัติ แบงการดําเนินการเปน 2 ระยะ คือ
มาตรการ ระยะสั้น เปนมาตรการที่ใหใชทันทีเมื่อผูบริหารใหความเห็นชอบ (ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร
เห็นชอบ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2552) และมาตรการระยะยาว เปนมาตรการที่ใหหนวยงานดําเนินการตาม
ระยะเวลาที่กําหนดไวในแตละมาตรการ
แนวทางการดําเนินการมาตรการหลัก ระยะสั้น
มาตรการ
1. ตําแหนงขาราชการกรุงเทพมหานครสามัญ
1.1 โดยหลักการไมเพิ่มกรอบอัตรากําลังในภาพรวมทุกหนวยงาน ยกเวนกรณีจําเปนอันมิ
อาจหลีกเลี่ยงได เนื่องจากมีการจัดตั้งหนวยงานหรือสวนราชการขึ้นใหมหรือเปนหนวยงานที่จัดตั้งไวอยูกอน
แลวที่มีความจําเปนตองเพิ่ม อัตรากําลังโดยหนวยงานหรือสวนราชการที่จะเพิ่มกรอบอัตรากําลังไดตองมี
ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังนี้
1.1.1 เปนหนวยงานหรือสวนราชการที่ทําหนาที่ใหบริการประชาชนโดยตรง (งาน
บริการประชาชนโดยตรง หมายถึง งานบริการที่หนวยงานหรือสวนราชการรับคําขอจากประชาชนโดยตรง
เชน ประชาชนยื่นคําขอทําบัตร ประชาชนหรือประชาชนมาขอรับการตรวจรักษาที่ศูนยบริการสาธารณสุขหรือ
โรงพยาบาล เปนตน)
1.1.2 เปนหนวยงานหรือสวนราชการที่จะตองดําเนินการตามนโยบายผูวา ราชการ
กรุงเทพมหานครหรือไดรับการถายโอนภารกิจมาจากราชการสวนกลางหรือตามที่กฎหมายกําหนด หากไม
ดําเนินการจะทําใหเกิดผลเสีย แกกรุงเทพมหานคร
โดยมีแนวทางดําเนินการ ดังนี้
(1) ในเบื้องตนใหเกลี่ยอัตรากําลังจากตําแหนง ภายในสวนราชการหรือหนวยงานกอน
(2) หากยังมีอัตรากําลังไมเพียงพอ ใหหนวยงาน ปรับเปลี่ยนวิธีการทํางานหรือใชการจางงาน
ที่หลากหลาย เชน การจางลูกจางชั่วคราว ลูกจางที่ปฏิบัติตามโครงการจางอาสา หรือจางเหมาเอกชนแลวแต
กรณี
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 14
(3) หากดําเนินการแลวยังมีอัตรากําลังไมเพียงพอ อีกใหเสนอเหตุผลความจําเปนให
คณะกรรมการจัดสรรกําลังคนของกรุงเทพมหานครพิจารณาจัดสรรอัตราวางจากหนวยงานอื่นมาให
(4) หากคณะกรรมการฯ ไมสามารถจัดสรรอัตราใหไดหรือ จัดสรรแลวยังมีอัตรากําลังไม
เพียงพอจึงจะสามารถนําเสนอขอเพิ่มกรอบอัตรากําลังได โดยการเพิ่มกรอบอัตรากําลังจะมีเงื่อนไข ดังนี้
- หนวยงานจะไดรับกรอบอัตรากําลังไมเกินรอยละ 50 ของกรอบอัตรากําลังที่
สํานักงาน ก.ก. วิเคราะหได สําหรับกรอบอัตรากําลังที่ยังขาดอยูอีกรอยละ 50 ใหหนวยงานแกไขปญหาดวย
วิธีการอื่น เชน การสรางเครือขายในการทํางาน Project Management ไปกอนจนกวาจะมีการประกาศ
ยกเลิกมาตรการ
- สํานักงาน ก.ก. จะดําเนินการวิเคราะหอัตรากําลัง ใหหนวยงานอีกครั้งเมื่อยกเลิก
มาตรการ หากวิเคราะหแลวปรากฏวาหนวยงานยังมีความจําเปนตองใชอัตรากําลังจึงจะกําหนดอัตรากําลัง
เพิ่ม ใหมให
- กรณีที่เปนตําแหนงในสายงานสนับสนุนเมื่อวิเคราะห แลวจะไมกําหนดกรอบ
อัตรากําลังเปนตําแหนงขาราชการ โดยสํานักงาน ก.ก. จะกําหนดจํานวนผูปฏิบัติงานให และใหหนวยงานใช
วิธีการ จางเหมาเอกชนดําเนินการ
1.2 ใหนําอัตราวางจากการเกษียณอายุราชการ เสนอใหคณะกรรมการจัดสรรกําลังคนของ
กรุงเทพมหานคร พิจารณาจัดสรรใหในภาพรวมตามความจําเปนเรงดวน
1.3 ใหนําตําแหนงเจาหนาที่บันทึกขอมูลที่วางจากการเกษียณอายุราชการและในระหวางป
มารวมไวที่ สวนกลาง (สํานักงาน ก.ก.) เพื่อนําเสนอคณะกรรมการจัดสรรกําลังคนของกรุงเทพมหานคร
พิจารณาจัดสรรใหหนวยงานที่มีความจําเปนในการ ใชอัตรากําลังหรือหนวยงานที่จัดตั้งใหม
หมายเหตุ สํานักงาน ก.ก. จะมีหนังสือแจงแนวทางปฏิบัติใหกับหนวยงานอีกครั้งหนึ่ง
2. ตําแหนงลูกจางประจํา
2.1 ไมใหเพิ่มอัตรากําลังลูกจางประจําที่มีชื่อหรือลักษณะงานซ้ําซอนกับขาราชการ
2.2 กําหนดใหหนวยงานสามารถเพิ่มกรอบอัตราลูกจางประจําได ดังนี้
- ปงบประมาณ 2553 ใหเพิ่มไดไมเกินรอยละ 5 ของกรอบอัตรากําลังลูกจาง ชั่วคราว
ของหนวยงาน
- ปงบประมาณ 2554 ใหเพิ่มไดไมเกินรอยละ 3 ของกรอบอัตรากําลังลูกจาง ชั่วคราว
ของหนวยงาน
- ปงบประมาณ 2555 ใหเพิ่มไดไมเกินรอยละ 2 ของกรอบอัตรากําลังลูกจาง ชั่วคราว
ของหนวยงาน
2.3 ใหยุบเลิกกรอบอัตราลูกจางประจําที่วางจากการเกษียณอายุและวางระหวางป (ตาย
ลาออก ออก ดวยเหตุวินัย) กรณีที่หนวยงานมีความจําเปนตองใชตําแหนงที่วางใหนําตําแหนงลูกจางประจํา
อื่นมาเปลี่ยนเพื่อทดแทนได
2.4 เปลี่ยนแปลงและเกลี่ยอัตรากําลังลูกจางประจําที่มีเงื่อนไขตามขอบังคับ
กรุงเทพมหานครวาดวย การกําหนดอัตราจางขั้นต่ําสูดและสูงสุดของลูกจาง ไปรองรับการจางและแตงตั้ง
ลูกจางชั่วคราวเปนลูกจางประจําแทนการขอ พิจารณากําหนัดอัตราลูกจางประจําเพิ่มในแตละปงบประมาณ
รวมทั้งการนําอัตรากําลังลูกจางที่เกษียณอายุราชการประจําป มาดําเนิน การรวมดวยอีกทางหนึ่ง
คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 15
หมายเหตุ ขอ 2.4 ปลัดกรุงเทพมหานครไดสั่งการใหหนวยงานดําเนินการตาม หนังสือที่
กท0404/435 ลงวันที่ 28 เมษายน 2552
3. ตําแหนงลูกจางชั่วคราว
3.1 การคัดเลือกลูกจางชั่วคราวเปนลูกจางประจํา ผูที่จะไดรับการคัดเลือกตองอยูในตําแหนง
ที่คัดเลือกติดตอกันมาไมนอยกวา 3 ป (นับถึงวันสิ้นปงบประมาณ) สําหรับหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขใน
การคัดเลือกอื่น ๆ ใหเปนไปตามคณะกรรมการพิจารณาผลการคัดเลือกลูกจางชั่วคราวเปนลูกจางประจํา
กําหนด
3.2 ชะลอการกําหนดอัตรากําลังลูกจางชั่วคราวเพิ่มทุกกรณี ยกเวนกรณีที่ผูบริหาร
กรุงเทพมหานครเห็นวา มีเหตุพิเศษหรือมีความจําเปนเรงดวน ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไปหรือจนกวา
สถานการณดานงบประมาณจะผอนคลายภายใตบทบัญญัติ กฎหมายที่เกี่ยวของ
3.3 นํารูปแบบการจางเหมาเอกชนมาดําเนินการแทนการจางโดยพิจารณาจากความจําเปน
เหมาะสมตามสภาพงาน เชน การจางเหมาทําความสะอาดภายในอาคาร การทําความสะอาดทางสาธารณะทั้ง
ทางบกและทางน้ํา การรักษาความปลอดภัย เปนตน ทั้งนี้ คาดหมายวาภายในปงบประมาณ
พ.ศ. 2555 กรุงเทพมหานครจะดําเนินการจางเอกชนหรือมีเครือขายมาดําเนินการแทนการจางลูกจางเอง
ประมาณรอยละ 40
หมายเหตุ ขอ 3.2 และ 3.3 ปลัดกรุงเทพมหานครไดสั่งการใหหนวยงานดําเนินการ แลวตาม
หนังสือที่ กท 0404/435 ลงวันที่ 28 เมษายน 2552
แนวทางการดําเนินการมาตรการหลัก ระยะยาว
มาตรการ
1. ใหสํานักงาน ก.ก. และหนวยงานรวมกันตรวจสอบตําแหนงที่ปฏิบัติภารกิจรองและ
ภารกิจสนับสนุนของหนวยงาน และจัดทําบัญชี แสดงตําแหนงที่ปฏิบัติภารกิจสนับสนุน
กรณีที่หนวยงานใดมีตําแหนงที่ปฏิบัติภารกิจสนับสนุนเกินกวา 20% ของจํานวน ตําแหนง
ทั้งหมด ใหหนวยงานและสํานักงาน ก.ก. รวมกันพิจารณาและลดจํานวนตําแหนงไมใหเกินกวาที่กําหนด
หมายเหตุ สํานักงาน ก.ก. จะมีหนังสือแจงแนวทางปฏิบัติใหหนวยงานทราบอีกครั้งหนึ่ง
2. ใหหนวยงานปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการทํางาน เชน นําเทคโนโลยีมาทดแทนการใช
กําลังคนหรือใชวิธีการจางงานที่หลากหลาย รูปแบบ เพื่อใหมีผูปฏิบัติงานทดแทนในภารกิจสนับสนุน
3. ใหกองการเจาหนาที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร และสวนราชการที่ปฏิบัติงานการ
เจาหนาที่หนวยงาน สํารวจตําแหนงที่ไมสามารถ แตงตั้งขาราชการไปดํารงตําแหนงได และเปนตําแหนงที่วาง
เกินกวา 1 ป เพื่อแจงใหสํานักงาน ก.ก. ตรวจสอบ และหากพบวาปญหาที่ไมสามารถแตงตั้งขาราชการเกิด
จาก การกําหนดตําแหนงไมเหมาะสมใหดําเนินการปรับปรุงตําแหนงใหมเพื่อใหสามารถแตงตั้งบรรจุราชการ
ไปดํารงตําแหนงได และหากเปนตําแหนงวางที่เกิดจากปญหาอื่น ๆ เชน ยังไมเปดสอบใหแจงหนวยงานที่มี
หนาที่รับผิดชอบเรงดําเนินการ ทั้งนี้เพื่อมิใหการขาดอัตรากําลังสงผลกระทบตอการปฏิบัติงานในภาพรวมของ
กทม. ได
4. ใหกรุงเทพมหานครกําหนดระยะเวลาการแตงตั้ง (ยาย) ขาราชการในแตละตําแหนงใหมี
กําหนดเวลาที่ชัดเจนและดําเนินการปละ 2 ครั้ง (วันที่ 1 เม.ย. และ 1 ต.ค. ของทุกป) ยกเวนกรณีมีความ
จําเปนเรงดวนมิอาจเลี่ยงได
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์
แนวข้อสอบนักทรัพย์

More Related Content

What's hot

บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงDevelopment Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
ตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบ
ตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบ
ตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผนแนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผนประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาPuripat Piriyasatit
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........ประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (20)

แนวข้อสอบตำแหน่งบุคลากร ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เคยออก
แนวข้อสอบตำแหน่งบุคลากร ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เคยออกแนวข้อสอบตำแหน่งบุคลากร ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เคยออก
แนวข้อสอบตำแหน่งบุคลากร ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่เคยออก
 
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารแนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
แนวข้อสอบ พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร
 
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคลแนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบ ตำแหน่งบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 (1)
 
แนวข้อสอบบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบบุคลากร นักทรัพยากรบุคคลแนวข้อสอบบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
แนวข้อสอบบุคลากร นักทรัพยากรบุคคล
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
 
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
 
ตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบ
ตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบ
ตารางการอ่านหนังสือเตรียมสอบท้องถิ่น ความรู้ความสามารถทั่วไป ทุกตำแหน่งต้องสอบ
 
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผนแนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน
แนวข้อสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
 
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
แนวข้อสอบเตรียมสอบนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ..เก็ง....... ดัก.......-เดา.........
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
 
การบริหารงานบุคคล กทม.
การบริหารงานบุคคล กทม.การบริหารงานบุคคล กทม.
การบริหารงานบุคคล กทม.
 
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539
 

Viewers also liked

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)ประพันธ์ เวารัมย์
 
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม...
 Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม... Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม...
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม...nawaporn khamseanwong
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564ประพันธ์ เวารัมย์
 
Slide 3 (12.08 t) instrumento de mat adit. e mult. modificado
Slide 3 (12.08 t) instrumento de mat adit. e mult. modificadoSlide 3 (12.08 t) instrumento de mat adit. e mult. modificado
Slide 3 (12.08 t) instrumento de mat adit. e mult. modificadoANA PAULA LOPES
 
UFOGNOSE work shop1
UFOGNOSE work shop1UFOGNOSE work shop1
UFOGNOSE work shop1UFOGNOSE
 
WT Softball Game Notes (3-9-17)
WT Softball Game Notes (3-9-17)WT Softball Game Notes (3-9-17)
WT Softball Game Notes (3-9-17)West Texas A&M
 
A narrativa da montagem do funk
A narrativa da montagem do funkA narrativa da montagem do funk
A narrativa da montagem do funkTamiris Marques
 

Viewers also liked (20)

600ข้อสอบ
600ข้อสอบ600ข้อสอบ
600ข้อสอบ
 
สิทธิประโยชน์ว่าด้วยการลา กทม.
สิทธิประโยชน์ว่าด้วยการลา กทม.สิทธิประโยชน์ว่าด้วยการลา กทม.
สิทธิประโยชน์ว่าด้วยการลา กทม.
 
แนวทางนักทรัพย์ตาม พรบ.กทม.
แนวทางนักทรัพย์ตาม พรบ.กทม.แนวทางนักทรัพย์ตาม พรบ.กทม.
แนวทางนักทรัพย์ตาม พรบ.กทม.
 
นักพัฒนาสังคม
นักพัฒนาสังคมนักพัฒนาสังคม
นักพัฒนาสังคม
 
P 05 toeic-unit_5_tense.docx
P 05 toeic-unit_5_tense.docxP 05 toeic-unit_5_tense.docx
P 05 toeic-unit_5_tense.docx
 
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบนักทรัพย์ฯ
แนวข้อสอบนักทรัพย์ฯแนวข้อสอบนักทรัพย์ฯ
แนวข้อสอบนักทรัพย์ฯ
 
งานทะเบียนและบัตร กทม
งานทะเบียนและบัตร กทมงานทะเบียนและบัตร กทม
งานทะเบียนและบัตร กทม
 
สรุป พ.ร.บ.พลเรือน51
สรุป พ.ร.บ.พลเรือน51สรุป พ.ร.บ.พลเรือน51
สรุป พ.ร.บ.พลเรือน51
 
P 01 toeic-unit_1_part_of_speech
P 01 toeic-unit_1_part_of_speechP 01 toeic-unit_1_part_of_speech
P 01 toeic-unit_1_part_of_speech
 
ถอดรหัสท้องถิ่น 2
ถอดรหัสท้องถิ่น 2ถอดรหัสท้องถิ่น 2
ถอดรหัสท้องถิ่น 2
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
 
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม...
 Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม... Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม...
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพม...
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 
แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป
แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไปแนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป
แนวข้อสอบนักจัดการงานทั่วไป
 
ร่างรัฐธรรมนูญ 2559
ร่างรัฐธรรมนูญ 2559ร่างรัฐธรรมนูญ 2559
ร่างรัฐธรรมนูญ 2559
 
Slide 3 (12.08 t) instrumento de mat adit. e mult. modificado
Slide 3 (12.08 t) instrumento de mat adit. e mult. modificadoSlide 3 (12.08 t) instrumento de mat adit. e mult. modificado
Slide 3 (12.08 t) instrumento de mat adit. e mult. modificado
 
UFOGNOSE work shop1
UFOGNOSE work shop1UFOGNOSE work shop1
UFOGNOSE work shop1
 
WT Softball Game Notes (3-9-17)
WT Softball Game Notes (3-9-17)WT Softball Game Notes (3-9-17)
WT Softball Game Notes (3-9-17)
 
A narrativa da montagem do funk
A narrativa da montagem do funkA narrativa da montagem do funk
A narrativa da montagem do funk
 

Similar to แนวข้อสอบนักทรัพย์

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบกการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบกLink Standalone
 
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยOppo Optioniez
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarber
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarberตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarber
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarberNattakorn Sunkdon
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50Makin Puttaisong
 
Organization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงาน
Organization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงานOrganization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงาน
Organization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงานTK Tof
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานtumetr
 
เอกสารประกอบการบรรยาย อาจารย์ศรีปัญญา วัชนาค 13 กค. 59
เอกสารประกอบการบรรยาย อาจารย์ศรีปัญญา วัชนาค 13 กค. 59 เอกสารประกอบการบรรยาย อาจารย์ศรีปัญญา วัชนาค 13 กค. 59
เอกสารประกอบการบรรยาย อาจารย์ศรีปัญญา วัชนาค 13 กค. 59 Pratt Ratwan
 

Similar to แนวข้อสอบนักทรัพย์ (15)

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบกการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 8กค53-กรมการเงินทหารบก
 
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
 
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคลวุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
วุฒิสมัครนักทรัพยากรบุคคล
 
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักทรัพยากรบุคคล(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
Competency
CompetencyCompetency
Competency
 
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทยแนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
แนวข้อสอบวิชา ระบบราชการไทย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarber
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarberตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarber
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarber
 
2. สมรรถนะ (Competency Model) มีอะไรบ้าง.pptx
2. สมรรถนะ (Competency Model) มีอะไรบ้าง.pptx2. สมรรถนะ (Competency Model) มีอะไรบ้าง.pptx
2. สมรรถนะ (Competency Model) มีอะไรบ้าง.pptx
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
Organization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงาน
Organization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงานOrganization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงาน
Organization and Management: การจัดบุคคลเข้าทำงาน
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
Hrd kan57
Hrd kan57Hrd kan57
Hrd kan57
 
เอกสารประกอบการบรรยาย อาจารย์ศรีปัญญา วัชนาค 13 กค. 59
เอกสารประกอบการบรรยาย อาจารย์ศรีปัญญา วัชนาค 13 กค. 59 เอกสารประกอบการบรรยาย อาจารย์ศรีปัญญา วัชนาค 13 กค. 59
เอกสารประกอบการบรรยาย อาจารย์ศรีปัญญา วัชนาค 13 กค. 59
 
20180110104912
2018011010491220180110104912
20180110104912
 
20180110104912
2018011010491220180110104912
20180110104912
 

More from ประพันธ์ เวารัมย์

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นประพันธ์ เวารัมย์
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนสรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนประพันธ์ เวารัมย์
 
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประพันธ์ เวารัมย์
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประพันธ์ เวารัมย์
 
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...ประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)ประพันธ์ เวารัมย์
 

More from ประพันธ์ เวารัมย์ (20)

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
 
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนสรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อแนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่นแนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่น
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
 
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
 

แนวข้อสอบนักทรัพย์

  • 1.
  • 2. สารบัญ เรื่อง หนา บทที่ 1 การจัดและการปรับปรุงโครงสรางและอัตรากําลัง 1 บทที่ 2 การพัฒนาระบบราชการและการพัฒนาระบบงาน 6 บทที่ 3 การวางแผนกําลังคน 12 บทที่ 4 การกําหนดตําแหนง มาตรฐานการกําหนดตําแหนง ระบบจําแนกตําแหนง 18 บทที่ 5 การวิเคราะหงานและการประเมินคุณภาพงานของตําแหนง 21 บทที่ 6 การใหไดรับเงินเดือนและเงินประจําตําแหนง 24 บทที่ 7 หลักการและแนวทางในการสรรหาและเลือกสรรบุคคล 25 บทที่ 8 การบรรจุและแตงตั้ง 30 บทที่ 9 การฝกอบรมและการพัฒนาบุคคล 36 บทที่ 10 การเสริมสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติราชการ 38 บทที่ 11 สิทธิประโยชนและสวัสดิการ 41 บทที่ 12 จรรยาบรรณขาราชการกรุงเทพมหานคร 42 บทที่ 13 การออกจากราชการ 52 บทที่ 14 การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Managament) 55 บทที่ 15 การพัฒนาองคการ (OD) 57 บทที่ 16 การวิเคราะหขอมูลเชิงสถิติเบื้องตน 63 แนวขอสอบ ชุดที่ 1 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 68 แนวขอสอบ ชุดที่ 2 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 82 แนวขอสอบ ชุดที่ 3 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 108 แนวขอสอบ ชุดที่ 4 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 123 แนวขอสอบ ชุดที่ 5 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 129 แนวขอสอบ ชุดที่ 6 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 135 แนวขอสอบ ชุดที่ 7 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 141 แนวขอสอบ ชุดที่ 8 นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ 149
  • 3. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 1 บทที่ 1 การจัดและการปรับปรุงโครงสรางและอัตรากําลัง ทิศทางการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร จากการวิเคราะหปจจัยตางๆ เพื่อตอบสนอง ตอยุทธศาสตร “การเสริมสรางให บุคลากรของกรุงเทพมหานครมีความพรอมทั้งดานศักยภาพ คุณภาพชีวิต และความภาคภูมิใจ เพื่อ รวมพัฒนามหานครใหนาอยูอยางยั่งยืน” จึงกําหนดทิศทาง ดังนี้ 1. บริหารจัดการกําลังคนโดยยึดหลักธรรมาภิบาล 2. มุงสรางภาวะผูนําทั่วทั้งองคกร 3. เพิ่มกําลังคนคุณภาพ 4. จัดอัตรากําลังที่เหมาะสมกับภารกิจ 5. มีระบบการจางงานที่ยืดหยุน หลากหลาย สอดคลองกับลักษณะงาน 6. สงเสริมคุณภาพชีวิต และความภาคภูมิใจในการทํางาน 7. สรางวัฒนธรรมการทํางานที่มุงเนนผลลัพธการปฏิบัติงาน เปาประสงคการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร เปาประสงคหรือผลลัพธสุดทายที่พึง ประสงคของการบริหารทรัพยากรบุคคลของ กรุงเทพมหานคร จําแนกเปน 3 ประเด็นหลัก คือ 1. ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล 2. ทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครมีศักยภาพสูง คุณภาพชีวิตที่ดี และความ ภาคภูมิใจใน องคกร 3. ทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานครมีคุณธรรม จริยธรรม ยุทธศาสตรการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ.๒๕๕๗ – ๒๕๖๐) แผนยุทธศาสตรการบริหารทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร (พ.ศ.๒๕๕๗-๒๕๖๐) ประกอบดวย ยุทธศาสตร 5 ดาน ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ 1 การพัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธิผลระบบการบริหารทรัพยากร บุคคล ยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาขีดสมรรถนะทรัพยากรบุคคลสูความเปนเลิศ ยุทธศาสตรที่ 3 การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักธรรมาภิบาล ยุทธศาสตรที่ 4 การพัฒนาคุณภาพชีวิตการทํางาน (Quality of Work Life) ยุทธศาสตรที่ 5 การสรางความเขมแข็งดานการบริหารทรัพยากรบุคคล 1. การบริหารทรัพยากรมนุษย HUMAN RESOURCE MANAGEMENT ทรัพยากรมนุษยเปนผูสรางสรรพสิ่งทุกอยางจนกระทั่งกลายเปนผลผลิต หรือการบริการตามแตละ ประเภทขององคการ ซึ่งนําไปสูความสําเร็จและการสรางภาพลักษณที่ดีแกองคการ โดยทั่วไปมนุษยแตละคนมี ลักษณะหลากหลายแตกตางกันในดาน ความรู ทักษะ ทัศนคติ ซึ่งจะเปนองคประกอบที่ทําหนาที่ในการปฏิบัติ ภารกิจตางๆ ใหองคการบรรลุเปาหมาย การดําเนินการใหมนุษยสามารถสรางสรรคงานอยางมีประสิทธิภาพนั้น ตองอาศัยคุณภาพทางการบริหารทรัพยากรมนุษยในองคการ (พะยอม วงศสารศรี. 2538 : 2) ดังนั้นผูบริหาร
  • 4. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 2 องคการทุกคนสมควรตองมีความรูและความเขาใจอยางลึกซึ้งถึงหลักการบริหารทรัพยากรมนุษย เพื่อใหสามารถ บริหารทรัพยากรมนุษยใหเกิดประโยชนไดอยางมีประสิทธิภาพกอใหเกิดประสิทธิผลแกองคการ ภาพรวมการบริหารทรัพยากรมนุษย “การบริหารงานบุคคล” ซึ่งเปนคําเดิมที่เคยใชมาในอดีตนั้น เปนคําที่สื่อถึงการดําเนินกิจกรรม พื้นฐานดั้งเดิม กลาวคือ การสรรหา บรรจุ แตงตั้ง การเลื่อนขั้นเงินเดือน การดําเนินการทางวินัย ฯลฯ ในปจจุบันความหมายของ “คน” ในองคกรไปไกลกวานั้นมาก ดวยถือวาคนเปน “ทรัพยากร” ที่มี คาจึงเกิดคําวา “การบริหารทรัพยากรมนุษย” ขึ้น หรือในบางองคกรมองไกลกวานั้นอีก กลาวคือมองเห็น วาคนเปน “ตนทุน” ที่สําคัญขององคกร จึงเกิดคําใหมขึ้นมาวา “การบริหารทรัพยากรบุคคลที่เปนตนทุน” หรือ “การบริหารทุนมนุษย” หรือ “Human Capital Management” ขึ้นอีกหนึ่งคํา ดังนั้น คําวา “การบริหารทุนมนุษย” หรือ “การบริหารทรัพยากรมนุษย” จึงมีความหมาย ใกลเคียงกันเนื่องจากมองคนเปน “ตนทุน” หรือเปน “ทรัพยากร” ที่สําคัญขององคกร หากตนทุนมีนอย ก็ตองเติมใหเต็มหรือทําใหมีมากเพียงพอ หากตนทุนมีจุดบกพรอง ก็ตองพัฒนา แกไข หรือเพิ่มคุณคาเพื่อใหเปนพลังขับเคลื่อนอยางแทจริง หากตนทุนมีลักษณะที่เขาขายที่เรียกวา “เสื่อม” หรือพัฒนาไมขึ้นไมวาจะดวยวิธีการใด ก็ตอง หาทางปรับเปลี่ยน โยกยาย หรือแมกระทั่งตองดําเนินการผองถายออกไป ความหมายและความสําคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย การบริหารทรัพยากรมนุษย หมายถึง กระบวนการที่ผูบริหารใชดําเนินงานดานบุคลากร ตั้งแตการ สรรหา คัดเลือก และบรรจุบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมใหปฏิบัติงานในองคการ พรอมทั้งการพัฒนา ธํารง รักษาใหสมาชิกที่ปฏิบัติงานในองคการไดเพิ่มพูนความรู ความสามารถ มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีใน การทํางาน และยังรวมไปถึงการแสวงหาวิธีการที่ทําใหสมาชิกในองคการ ที่ตองพนจากการทํางานดวยเหตุ ทุพพลภาพ เกษียณอายุหรือเหตุอื่นใดในงาน ใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข ความสําคัญของการบริการทรัพยากรมนุษยนั้น มีอยูมากมายหลายประการแตโดยสวนจะเขาใจกัน เฉพาะในดานขององคกรผูไดรับผลประโยชนโดยตรงจากการบริหารงานทรัพยากรมนุษยที่มีประสิทธิภาพ อยางไรก็ตาม ธัญญา ผลอนันต (2546:17) ไดกลาวถึงความสําคัญของการบริหารทรัพยากรมนุษย ที่ นอกเหนือจากดานองคกรแลว ยังมีผลตอดานบุคลากรตลอดจนสังคมสวนรวมดวย ซึ่งไดอธิบายถึงสําคัญไว ในแตละ 3 ดาน ดังตอไปนี้ (1) ดานบุคลากร ชวยใหพนักงานในองคการไดคนพบศักยภาพของตนเอง และไดพัฒนาตนเอง ใหมีความสามารถเชิงสมรรถนะในการปฏิบัติงานไดอยางเต็มที่ มีความผาสุกและความพึงพอใจในงาน เกิด ความกาวหนา สามารถทํางานที่ใหผลการดําเนินการที่ดีมีประสิทธิผล (2) ดานองคกร ชวยพัฒนาองคกร พนักงานที่มีคุณภาพก็จะดําเนินการตามแผนปฏิบัติการ ตาม แนวทางที่ผูนําระดับสูงวางไวอยางมีประสิทธิผล ทําใหเกิดผลการดําเนินงานที่เปนเลิศทั้งดานบริการและการ ผลิตสินคา องคกรก็ยอมจะเจริญกาวหนา มีความมั่นคงและขยายงานออกไปไดดวยดี (3) ดานสังคม ชวยเสริมสรางความมั่นคงใหแกสังคมและประเทศชาติ เมื่อองคกรซึ่งเปนหนวย หนึ่งของสังคมเจริญกาวหนาและมั่นคงดี ก็สงผลไปถึงสังคมโดยรวมดวยเมื่อพนักงานไดพัฒนาตนจนมี ความสามารถหารายไดมาชวยใหครอบครัวมั่นคงก็สงผลดีตอชุมชน
  • 5. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 3 ปรัชญาการบริหารทรัพยากรมนุษย โดยปกติมนุษยจะตัดสินใจทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้นตามความคิด ความเชื่อ และคานิยมที่อยูในตัวของเขา โดยมีแนวความคิดที่เปนพื้นฐานวาสิ่งที่เลือกทําเปนสิ่งที่มีคามากที่สุด ซึ่งสิ่งที่เปนพื้นฐานของความคิดก็คือ ปรัชญาประจําตัวนั้นเอง การบริหารทรัพยากรมนุษยก็เชนกัน ผูบริหารหรือผูจัดการก็จะตองมีปรัชญาการ บริหารทรัพยากรมนุษยเปนแนวทางในการปฏิบัติ ปรัชญาการบริหารทรัพยากรมนุษยประกอบดวย 1) หลักคุณธรรม (Merit - Based) 2) หลักสมรรถนะ (Competency - Based) 3) หลักผลงาน (Performance - Based) 4) หลักการกระจายอํานาจและความรับผิดชอบ (HR Decentralization) 5) หลักคุณภาพชีวิตในการทํางาน (Quality of Work Life) 1) หลักคุณธรรม (Merit - Based) : หลักคุณธรรมหรือระบบคุณธรรมใชในการบริหารทรัพยากร บุคคลทั้งภาครัฐและภาคธุรกิจ หลักคุณธรรมประกอบดวย 4 หลักใหญ คือ (1) หลักความเสมอภาค คือ เสมอภาค ไมเลือกปฏิบัติ ไมคํานึงถึงผิวพรรณ เชื้อชาติ เพศ ฯลฯ (2) หลักความสามารถ การบริหารคนหมูมากตองมีวิธีวัดความสามารถ ซึ่งปจจุบันเปลี่ยนมา เปนหลักผลงาน และหลักสมรรถนะ (3) หลักความเปนกลาง หมายถึง การปฏิบัติหนาที่โดยไมคํานึงถึงฝายใด ขาราชการเปน กลไกรัฐ ตองทํางานตามนโยบายของรัฐบาล แตบางครั้งถูกมองวารับใชหรือเขาขางฝายใดฝายหนึ่ง ซึ่งอาจมี ผลกระทบกับความมั่นคงในอาชีพราชการ (4) หลักความมั่นคง หมายถึง การรับรองการเปนอาชีพ มีทางกาวหนา มีคาตอบแทน และสวัสดิการที่เหมาะสม ที่เกียรติและศักดิ์ศรี 2) หลักสมรรถนะ (Competency - Based) : หมายถึง ใชคนใหตรงกับความรูความสามารถ (Put the Right Man on the Right Job) โดยการศึกษา และกําหนดความรูความสามารถที่ตองการสําหรับ ตําแหนงตางๆ แลวนําไปสรรหาพัฒนาใหไดบุคคลที่เหมาะสมมาดํารงตําแหนง 3) หลักผลงาน (Performance - Based) : คือ การบริหารโดยยึดผลงานเปนหลัก หมายความวา จะใหคุณใหโทษใครใหดูที่ผลงาน ตรงนี้มาจากภาคธุรกิจ ถามวาราชการยึดผลงานอยางเดียวไดไหม คําตอบ คือคงไมได จะตองมีปจจัยอื่นๆ หรือแมแตทางธุรกิจเหมือนกันตองมองทั้ง Input ที่ใสเขาไปในการทํางาน Output ที่เกิดขึ้น รวมทั้งทัศนคติ (Attitude) และวิธีการทํางานของเขา ตองโปรงใส แตอยางไรก็ตาม ก็ให เนนผลงาน ใหยึดผลงานเปนหลัก 4) หลักการกระจายอํานาจและความรับผิดชอบ (HR Decentralization) : คือใหรวมกัน รับผิดชอบ เวลาถามวาใครเปน HR Manager ใครเปน Personnel Manager ถาเปนยุคกอนคําตอบคือ หัวหนาการเจาหนาที่ แตคําตอบยุคนี้คือผูบริหารนั้นเอง หรือ Line Manager นั้นเอง ที่เปน HR Manager ในตัวเอง ตองรูหลักตองบริหารได 5) หลักคุณภาพชีวิตในการทํางาน (Quality of Work Life) : คือ ในการทํางานมี Work Life กับ Home Life ทําอยางไรใหสมดุลกัน (Balance) เปาหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษย
  • 6. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 4 เปาหมายหรือวัตถุประสงคของการบริหารทรัพยากรมนุษย มี 4 วัตถุประสงคหลัก คือ สรรหา พัฒนา รักษาไว ใชประโยชน สรรหา คือ หาคนดีคนเกงเขามาทํางาน การสรรหาประกอบดวยการสรรหาแบบตั้งรับหรือ แบบดั้งเดิม และการสรรหาเชิงรุก พัฒนา คือ รับเขามาแลวพัฒนาใหเปนคนดี คนเกงยิ่งๆ ขึ้นไปอีก การที่จะพัฒนาใหเกงขึ้นไป อีกตองรูวาเขาเปนใคร เขามีความถนัด มีจุดแข็งจุดออนอยางไร ก็ตองไปทําสิ่งที่ เรียกวา Career Planning ทํา IDP หรือ Individual Development Plan ระบบ พัฒนาเปนเรื่องที่จําเปนในการสรางคน ตองพัฒนาอยางทั่วถึงทั้งองคกร พัฒนาอยาง ตอเนื่อง เปนตน รักษาไว คือ รักษาไวใหอยูกับเราเปนเรื่องการจัดการทางกาวหนาในอาชีพ การมีคาตอบแทน ที่เหมาะสม การสรางความพึงพอใจและเปนผูรักองคกร ใชประโยชน คือ การใชคนใหตรงกับงาน ใหความเปนอิสระและมีสวนรวม ใหทํางานไดอยางเต็ม ศักยภาพ ภารกิจ 10 ประการของการบริหารทรัพยากรมนุษย หลักวิชาหรือศาสตรในเรื่องการบริหารทรัพยากรมนุษย อาจจําแนกไดเปน 10 กลุมภารกิจ ดังนี้ 1. โครงสรางองคกร (Organization Structure) จะเกี่ยวกับการออกแบบองคกรและการจัด ระบบงานในองคกรซึ่งในราชการไทยปจจุบัน มีคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ คือ กพร. จะชวยดูแล เกี่ยวกับการจัดตั้งปรับปรุงองคกร โครงสรางองคกร คือ แผนภูมิแสดงตําแหนงทั้งหมดในองคกร แสดงความสัมพันธของอํานาจหนาที่ ของแตละหนวยงาน หรือแสดงความเชื่อมโยงทั้งแนวตั้งและแนวนอนของตําแหนงทั้งหมด รูปแบบของการจัด องคกรรวมและของฝายบริหารทรัพยากรบุคคลเองก็ขึ้นกับปจจัยภายในและภายนอกหลายอยาง และ ไม จําเปนตองเหมือนกันในทุกองคกร นอกจากนี้การจัดทําโครงสรางองคกร จะสามารถระบุไดวาตําแหนงใดใน องคกรมีหนาที่อะไรตอไป ซึ่งจะเปนขอมูลพื้นฐานที่สําคัญในการออกแบบกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล ขององคกรใหสอดคลองตอโครงสรางองคกรไมวาจะเปนโครงสรางอํานาจหนาที่ โครงสรางการบังคับบัญชา และโครงสรางอัตรากําลัง เพื่อใหการกระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคลขององคกรเปนไปในทิศทางเดียวกัน และไมเปนอุปสรรคในการการปฏิบัติหนาที่ในแตละบทบาทภารกิจของทรัพยากรบุคคล 2. การวางแผนกําลังคนและการสรรหาบุคลากร (Workforce Planning and Recruitment) เกี่ยวของกับ (1) Redeployment of resource เกลี่ยทรัพยากร อาจใชวิธีเกลี่ยตําแหนง หรือเกลี่ย คนไปทํางานที่เหมาะสม (2) Retirement Bubble คือ การรักษาผูอยูในชวงวัยกําลังจะเกษียณอายุไวในองคกร จะ ถายทอดอยางไรหรือจะรักษาเขาไวไดอยางไร (3) Organization Size เปนการพิจารณาวาขนาดขององคกรควรจะมีขนาดเล็กหรือขนาด ใหญ หรืออาจวาจางจากภายนอก (4) War for Talent การรักษากําลังคนในสาขาที่ขาดแคลนหรือหายากไวในองคกร จะตองมีการสรรหาในเชิงรุก และการเพิ่มพูนแรงจูงใจ
  • 7. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 5 3. การฝกอบรม การพัฒนา และการจัดการความรู(HRM–Training and Development /Knowledge Management) กลุมนี้สอดคลองกับการบริหารทรัพยากรบุคคล คือ สรรหา พัฒนา รักษาไว ใชประโยชน และเพิ่มเรื่อง Knowledge Management – KM เขาไป ยุคปจจุบันพูดถึงการบริหารองค ความรู การจัดการความรู เนื่องจากความรูทุกดานไมใชเฉพาะดาน HR เทานั้น ความรูในแตละดานมีการ เคลื่อนตัวไปเร็วมาก บางเรื่องเคลื่อนตัวไปจนกระทั่งความรูเดิมที่มีอยูใชไมไดเลย จึงตองสรางบรรยากาศ แหงการเรียนรูและการแลกเปลี่ยนความรูเพื่อเปนคุณคาหลักในการทํางาน 4. การวางแผนทดแทนตําแหนง/การหมุนเวียนงาน (Succession Plan/Staff Rotation) การ บริหารทรัพยากรบุคคลในองคกรควรมีการวางแผนทดแทนตําแหนง หรือพูกงายๆ คือ มีแผนสืบทอดตําแหนง หรือการสรางตัวตายตัวแทนนั่นเอง โดยจะตองมีการพิจารณาผูที่มีคุณสมบัติที่เหมาะสมกับตําแหนวนั้นๆ เครื่องมือที่ชวยในการวางแผนทดแทนตําแหนง ก็คือฐานขอมูลกําลังคน (Talent Inventory HR Database) มีการบริหารจัดการผูที่มีความรูความสามารถ (Talent Management) 5. การบริหารผลการปฏิบัติงาน (Performance Management) หรือ PM เปนการบริหาร ทรัพยากรบุคคลโดยยึดผลงานเปนหลัก มีการกําหนดเปาหมายและตัวชี้วัด ถือเปนกลไกสําคัญในการ ขับเคลื่อนองคกรใหทํางานบรรลุเปาหมาย 6. การกําหนดภารกิจอยางมีเปาหมายและการวัดผลงานบุคคล (Individual KPI) หลักเบื้องตนของ การบริหารผลการปฏิบัติงานนั้นใชกับองคกร กลาวคือ องคกรตองมีเปาหมายวาตองทําอะไรใหเสร็จ ใน ระดับไหน มีคุณภาพอยางไร จากนั้นก็นํามาใชกับบุคคล มีตัวชี้วัดผลการปฏิบัติงานรายบุคคล (Individual KPI) และนําผลไปใชในการใหคุณใหโทษ ตลอดจนการพัฒนาบุคคล 7. การบริหารคาตอบแทนและสวัสดิการ (Pay Administration) ตองคํานึงถึงความเสมอภาค ภายนอก (Ex-ternal Equity) และความเสมอภาคภายใน (Internal Equity) รวมถึงตองใชกลไกตลาด (Market Mechanism) เขามาพิจารณาดวย 8. การสื่อสารความรูความเขาใจทั่วทั้งองคกร ถือเปนหนาที่ของผูบริหารดานทรัพยากรบุคคล (HR Manager) ที่ตองสื่อสารเรื่องราวตางๆ ทั้งหลายที่เกี่ยวของกับบุคคลในองคกรใหทั่วถึง โดยเฉพาะเรื่องสิทธิ ประโยชน ทางกาวหนาหรือเงื่อนไขในการทํางาน 9. คุณภาพใหบริการ ถือเปนหนาที่ของ HR Manager ดวยที่ตองใหความสําคัญตอลูกคาหรือ ผูรับบริการและเนนย้ําหลักการเรื่องนี้ตอผูปฏิบัติงานทั่วทั้งองคกร 10. การพัฒนาและใชขอมูลอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหองคกรทันสมัยและใชขอมูลบนฐานเดียวกัน ในการบริหารงาน
  • 8. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 6 บทที่ 2 การพัฒนาระบบราชการและการพัฒนาระบบงาน การปฏิรูประบบราชการ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของระบบราชการตั้งแตบทบาทหนาที่ ภาครัฐ โครงสรางอํานาจในระดับตางๆ รูปแบบองคกร ระบบบริหารและวิธีการทํางาน ระบบบริหารงาน บุคคล กฎหมาย กฎ ระเบียบ วัฒนธรรมและคานิยม เพื่อใหระบบราชการมีสมรรถนะสูง เปนกลไกการบริหาร จัดการประเทศใหสามารถแขงขันในระดับโลกได ความเปนมาของการปฎิรูประบบราชการ วิวัฒนาการของระบบราชการไทย มีการเปลี่ยนแปลง เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง ดังนี้ - สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ กรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1991 – 2072) มีการจัดแบง โครงสราง ในรูปของจตุสดมภ - สมัย ร.5 มีการปรับปรุงทั้งสวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถิ่น จัดตั้งกระทรวงและกรม ตางๆ ใหมีบทบาทเฉพาะดานเพื่อพัฒนาประเทศ ใหบริการสาธารณะตางๆ รองรับการเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง และเพื่อความอยูรอดจาการลาอาณานิคม - สมัย ร.7 เนนระบบคุณธรรม และสรางอาชีพราชการเปนอาชีพของคนไทย รองรับการ เปลี่ยนแปลง การปกครองสูระบอบประชาธิปไตย และแกปญหาวิกฤตขาราชการพลเรือน รัฐบาลปรับปรุงระบบอยางตอเนื่อง รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มุงเนนให มีการปฏิรูปการเมือง การศึกษา และการปฏิรูประบบราชการ ดังนี้  มาตรา 70 บุคคลที่เปนราชการ ฯลฯ มีหนาที่ดําเนินการเพื่อใหเปนไปตามกฎหมาย เพื่อ รักษาประโยชนสวนรวม อํานวยความสะดวกและใหบริการประชาชน  มาตรา 75 รัฐตองจัดระบบงานราชการและงานของรัฐอยางอื่นใหมีประสิทธิภาพ เพื่อ ตอบสนองความตองการของประชาชน - พ.ศ.2540 รัฐบาลไดจัดทําแผนแมบทการปฏิรูประบบราชการ พ.ศ.2540-2544 เพื่อ เปนกรอบทิศทางการปฏิรูประบบ และไดออกมาตรการปรับภาคราชการในภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจ - พ.ศ.2541 รัฐบาลไดออมาตรการควบคุมคาใชจายดานบุคคลภาครัฐใหเปนไปอยาง ประหยัด - พ.ศ.2542 รัฐบาลไดแปลงแผนแมบทการปฏิรูประบบ เปนแผนการปฏิบัติการ คือ แผน ปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ มี 5 แผนสําคัญ - พ.ศ.2545 เปนจุดเริ่มตน การพัฒนาระบบราชการ โดยนําหลักการตามแผนปฏิรูประบบ บริหารภาครัฐ ไปสูการปรับปรุงระเบียบบริหารราชการแผนดิน ปรับโครงสรางกระทวง ทบวง กรม เหตุผลความจําเปนในการปฏิรูประบบราชการไทย จากสถานการณและสภาพปญหาตางๆ ไดแก เกิดภาวะวิกฤตเศรษฐกิจและการเงิน เกิดปญหาสังคมออนแอ แรงกดดันจากระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคม โลก (เสรีภาพ การมีสวนรวมของประชาชนในการตรวจสอบอํานาจรัฐและปกครองประเทศ) ประชาชนมอง ระบบราชการเปนระบบที่ลาหลัง ไมสามารถตอบสนองความตองไดอยางมีประสิทธิภาพ ภาคราชการมีขนาด ใหญเกินไป ทํางานในลักษณะศูนยรวมอํานาจ ทํางานโดยยึดติดกับวิธีการมากกวาผลลัพธของงาน การปฏิรูปราชการ พ.ศ.2540 เปนแรงผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลง กระแสการปฏิรูประบบราชการ และแนวคิดการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมในหลายประเทศทั่วโลก
  • 9. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 7 วัตถุประสงคของการปฏิรูประบบราชการ 1. เพื่อใหราชการเปนกลไกและเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพของรัฐบาล 2. เพื่อเสริมสรางสมรรถนะของประเทศในการแขงขันระดับเวทีโลก 3. เพื่อสรางและฟนฟูความเชื่อมั่นของประชาชน และสังคมตอระบบราชการ 4. เพื่อสรางวัฒนธรรมและคุณคาใหมในวงราชการ 5. เพื่อใหมีการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ โดยสรุป จุดมุงหมายสูงสุด คือ เพื่อใหประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความเปนอยูดี มีความสุข สังคมไทยมี เสถียรภาพ ประเทศชาติมีเกียรติภูมิ มีความสามารถสูงในการแขงขันกับเวทีโลก กรอบการปฏิรูประบบราชการ มีการจัดทําแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ เปนไปในลักษณะองครวม เพื่อ เปลี่ยนไปสู รูปแบบการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม เนนการทํางานโดยยึดผลลัพธ มีการวัดผลลัพธ และ คาใชจายอยางเปนรูปธรรม คือการทํางานเพื่อประชาชน วัดผลได มีความโปรงใสวิธีการทํางานรวดเร็วและคลองตัว แผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐ ใน 5 ดาน 1. แผนการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและวิธีการบริหารงานของภาครัฐ 2. แผนการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณเปนระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานและผลลัพธ 3. แผนการปรับเปลี่ยนระบบบริหารบุคคล 4. แผนการปรับเปลี่ยนกฎหมาย 5. แผนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและคานิยม เนื่องจากเปนระบบใหญ จําเปนตองเรงรีบดําเนินการปฏิรูปในทุกๆ ดานพรอมๆ กัน ไดมีการทบทวน และปรับปรุงแกไขออกแบบใหมใหดียิ่งขึ้น ไดดําเนินการพรอมกันทั้ง 5 ดาน และปรับปรุงใหเหมาะสมตาม สถานการณ ราชการไดอะไร 1. เปนราชการที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคุมคาภาษีของประชาชน ซื่อตรง และโปรงใสมี ความรับผิดชอบมีความแนนอน คงเสนคงวามองการณไกล ทันสมัย ทันโลก ทันตอเหตุการณมีความมั่นคง กลาหาญ ที่พรอมจะยืนหยัดเคียงขางประชาชน ไมยอมใหอธรรมลวงล้ําได 2. ไดรับความไววางใจ เชื่อถือ ศรัทธาจากประชาชนวาเปนระบบที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพและ คุณธรรม เขาใจงายและเปนเพื่อนประชาชน สรุป การปฏิรูประบบราชการ เปนการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจ และระบบบริหารราชการแผนดินใน ระดับมหภาค เพื่อนําไปสูการพัฒนาโครงสราง ระบบและกลไกของภาคราชการ ใหสนองตอความเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจ สังคม ความตองการของประชาชน และเอื้อตอการพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนา เพียงพอตอ การแขงขันในเวทีโลกได กาวแรกของการดําเนินการ คือ การปรับปรุงแกไขและประกาศใชกฎหมายที่เกี่ยวของ 2 ฉบับ ไดแก กฎหมายวาดวยการ บริหารราชการแนวใหมและเรื่องการจัดกระทรวง ทบวง กรมใหม โดยไดประกาศบังคับใช กฎหมาย ในวันที่ 3 ตุลาคม 2545 ถือเปนจุดเริ่มตนของการพัฒนาระบบราชการ 1. พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 มีการกําหนด นโยบาย เปาหมาย ผลสัมฤทธิ์และแผนปฏิบัติงานเพื่อใหประเมินผลการปฏิบัติราชการในแตละระดับไดอยาง ชัดเจน โดยยึดประโยชนสุขของประชาชนเปนเปาหมาย วางกรอบการบริหารกิจการบานเมืองที่ดีเปนแนวทาง
  • 10. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 8 กําหนดรูปแบบการบริหารใหมของสวนราชการใหมีกลุมภารกิจและการใชงบประมาณระหวางสวนราชการได อยางมีประสิทธิภาพ ประหยัด ลดความสิ้นเปลือง ความซ้ําซอนและกําหนดกรอบการบริหารราชการใน ตางประเทศ 2. พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2545 เปนของระบบราชการให สอดคลองกับสภาพความเปนไปของสังคมและเจตนารมณแหงรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 มุงใหภาครัฐมี ประสิทธิภาพ ตอบสนองความตองการของประชาชน โดยปรับสวนราชการ ลดความซ้ําซอน ปรับระบบงานให เปนกลุมภารกิจ ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการ คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการไดกําหนดวิสัยทัศนของการพัฒนาระบบราชการในชวง ป 2546-2550 ไววา พัฒนาระบบราชการไทยใหมีความเปนเลิศ สามารถรองรับการพัฒนาประเทศในยุคโลกาภิ วัตน โดยยึดหลักการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี และประโยชนสุขของประชาชน ไดกําหนดเปาประสงคหลัก หรือผลลัพธสุดทายของการพัฒนาระบบราชไทย ไว 4 ประการ คือ 1. พัฒนาคุณภาพการใหบริการประชาชนที่ดีขึ้น มุงปรับกระบวนการใหบริการสาธารณะ มี ประสิทธิภาพ มีคุณภาพและอํานวยความสะดวกตอประชาชนใหมากขึ้น 2. ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดใหมีความเหมาะสม ปรับราชการใหมีขนาดที่เหมาะสม เพื่อประหยัดเงินภาษีอากรของประชาชน เพื่อประชาชนจะไดรับประโยชนสูงสุด 3. ยกระดับขีดความสามารถและมาตรฐานการทํางานใหอยูในระดับสูงและเทียบเทาเกณฑ สากล โดยเพิ่มขีดความสามารถของสวนราชการทั้งในสวนกลางและระดับภูมิภาค 4. ตอบสนองตอการบริหารปกครองในระบอบประชาธิปไตย โดยพัฒนาใหเปนระบบราชการ ที่เปดโอกาสใหประชาชนเขามามีสวนรวม ภายใตเปาประสงคหลัก รัฐบาลไดเห็นชอบแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556 - พ.ศ. 2561) สามารถแบงออกไดเปน 3 หัวขอ รวม 7 ประเด็นยุทธศาสตร ดังนี้ การยกระดับองคกรสูความเปนเลิศ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 การสรางความเปนเลิศในการใหบริการประชาชน พัฒนา งานบริการของสวนราชการและหนวยงานของรัฐสูความเปนเลิศ เพื่อใหประชาชนมีความพึง พอใจตอคุณภาพการใหบริการ โดยออกแบบการบริการที่ยึดประชาชนเปนศูนยกลาง มี การนําเทคโนโลยี สารสนเทศที่เหมาะสมมาใชเพื่อใหประชาชนสามารถใชบริการได งายและหลากหลายรูปแบบ เนนการ บริการเชิงรุกที่มีปฏิสัมพันธโดยตรงระหวางภาครัฐและประชาชน การใหบริการแบบเบ็ดเสร็จอยาง แทจริง พัฒนาระบบการจัดการขอรองเรียนใหมีประสิทธิภาพ รวมทั้งเสริมสรางวัฒนธรรมการบริการที่เปน เลิศ กลยุทธ ● พัฒนาระบบการใหบริการประชาชน ● เสริมสรางวัฒนธรรมการใหบริการที่เปนเลิศ ● พัฒนาระบบการจัดการขอรองเรียนและแกไขปญหาความเดือนรอนของประชาชน
  • 11. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 9 ประเด็นยุทธศาสตรที่ 2 การพัฒนาองคการใหมีขีดสมรรถนะสูงและทันสมัย บุคลากรมีความเปนมือ อาชีพ พัฒนา สวนราชการและหนวยงานของรัฐสูองคการแหงความเปนเลิศ โดยเนนการจัดโครงสราง องคการที่มีความทันสมัย กะทัดรัด มีรูปแบบเรียบงาย (Simplicity) มีระบบการทํางานที่คลองตัว รวดเร็ว ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการทํางาน เนนการคิดริเริ่มสรางสรรค (Creativity) พัฒนา ขีดสมรรถนะของ บุคลากรในองคการ เนนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ สรางคุณคาในการปฏิบัติภารกิจของรัฐ ประหยัด คาใชจายในการดําเนินงานตาง ๆ และสรางความรับผิดชอบตอสังคม อนุรักษสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน กลยุทธ ● พัฒนาหนวยงานของรัฐใหมีขีดสมรรถนะสูง ● พัฒนาระบบบริหารจัดการกําลังคนและพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพระบบราชการ ● เพิ่มผลิตภาพในการปฏิบัติราชการ โดยการลดตนทุน และสงเสริมนวัตกรรม ● สรางความรับผิดชอบตอสังคมและอนุรักษสิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตรที่ 3 การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารสินทรัพยของภาครัฐใหเกิดประโยชนสูงสุด วางระบบการบริหารจัดการสินทรัพยของราชการอยางครบวงจร โดยคํานึงถึงคาใชจายที่ผูกมัด/ผูกพัน ติดตามมา (Ownership Cost) เพื่อ ใหเกิดประโยชนสูงสุดหรือสรางมูลคาเพิ่ม สรางโอกาส และสรางความ มั่นคงตามฐานะเศรษฐกิจของประเทศ ลดความสูญเสียสิ้นเปลืองและเปลาประโยชน รวมทั้งวางระบบและ มาตรการที่จะมุงเนนการบริหารสินทรัพยเพื่อใหเกิดผลตอบ แทนคุมคา สามารถลดตนทุนคาใชจายโดยรวม มีตนทุนที่ต่ําลงและลดความตองการของสินทรัพยใหมที่ไมจําเปน กลยุทธ ● บริหารสินทรัพยของภาครัฐอยางครบวงจรเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพ คุมคา และสะทอนตนทุนที่ แทจริงของภาครัฐ ประเด็นยุทธศาสตรที่ 4 การวางระบบการบริหารงานราชการแบบบูรณาการ สง เสริมการทํางานรวมกันภายในระบบราชการดวยกันเองเพื่อแกปญหาการแยกสวนใน การ ปฏิบัติงานระหวางหนวยงาน รวมถึงการวางระบบความสัมพันธและประสานความรวมมือระหวางราชการ บริหารสวน กลาง สวนภูมิภาค และสวนทองถิ่น ในรูปแบบของการประสานความรวมมือที่หลากหลาย ภายใตวัตถุประสงคเดียวกัน คือ นําศักยภาพเฉพาะของแตละหนวยงานมาสรางคุณคาใหกับงานตาม เปาหมายที่กําหนด เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย/ยุทธศาสตรของประเทศและการใชประโยชนทรัพยากรอยาง คุมคา กลยุทธ ● ออกแบบและพัฒนาระบบการบริหารงานแบบบูรณาการ ● ปรับปรุงความสัมพันธและประสานความรวมมือระหวางราชการบริหารสวนกลาง สวนภูมิภาคและ สวนทองถิ่น
  • 12. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 10 การพัฒนาอยางยั่งยืน ประเด็นยุทธศาสตรที่ 5 การสงเสริมระบบการบริหารกิจการบานเมืองแบบรวมมือกันระหวางภาครัฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน สง เสริมใหหนวยงานราชการทบทวนบทบาทและภารกิจของตนใหมีความเหมาะสม โดยให ความสําคัญตอการมีสวนรวมของประชาชน มุงเนนการพัฒนารูปแบบความสัมพันธระหวางภาครัฐกับภาค สวนอื่น การถายโอนภารกิจบางอยางที่ภาครัฐไมจําเปนตองดําเนินงานเองใหภาคสวนอื่น รวมทั้งการสราง ความรวมมือหรือความเปนภาคีหุนสวน(Partnership) ระหวางภาครัฐและภาคสวนอื่น กลยุทธ ● ทบทวนบทบาทภารกิจและอํานาจหนาที่ของหนวยงานของรัฐใหเหมาะสม ถายโอนภารกิจงานและ กิจกรรมที่ภาครัฐไมจําเปนตองปฏิบัติเองใหภาคสวนตาง ๆ ● สงเสริมการบริหารราชการระบบเปดและการสรางเครือขาย ประเด็นยุทธศาสตรที่ 6 การยกระดับความโปรงใสและสรางความเชื่อมั่นศรัทธาในการบริหารราชการ แผนดิน สง เสริมและวางกลไกใหสวนราชการและหนวยงานของรัฐเปดเผยขอมูลขาวสารและ สรางความโปรงใส ในการปฏิบัติราชการ รวมทั้งสงเสริมใหภาคประชาชนเขามามีสวนรวมในการตรวจสอบการทํางานของทาง ราชการ ตลอดจนการขับเคลื่อนยุทธศาสตรและมาตรการในการตอตานการทุจริตคอรรัปชั่น ใหบรรลุ ผลสัมฤทธิ์อยางเปนรูปธรรม กลยุทธ ● สงเสริมและวางกลไกสรางความโปรงใสในการปฏิบัติราชการ ● ขับเคลื่อนยุทธศาสตรและมาตรการในการตอตานคอรรัปชั่น กาวสูสากล ประเด็นยุทธศาสตรที่ 7 การสรางความพรอมของระบบราชการไทยเพื่อเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน เตรียม ความพรอมของระบบราชการไทยเพื่อรองรับการกาวเขาสูประชาคมอาเซียน รวมทั้งประสาน พัฒนาเครือขายความรวมมือกันในการสงเสริมและยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐของ ประเทศสมาชิก อาเซียน อันจะนําไปสูความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ ความมั่นคงทางการเมือง และความเจริญผาสุกของสังคม รวมกัน กลยุทธ ● พัฒนาระบบบริหารงานของหนวยงานที่มีความสําคัญเชิงยุทธศาตรเพื่อเขาสูประชาคมอาเซียน ● เสริมสรางเครือขายความรวมมือเพื่อยกระดับธรรมาภิบาลในภาครัฐของประเทศสมาชิกอาเซียน
  • 13. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 11 การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมในการพัฒนาระบบราชการ ความหมายและความเปนมาของการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม (New Public Management – NPM) ความหมาย การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม คือ รูปแบบการบริหารที่นํามาเพื่อปรับใชกับภาครัฐ เพื่อ ลดปญหาตาง ๆ ในการบริหารจัดการ โดยเนนการทํางานที่ยึดผลลัพธเปนหลัก มีการวัดผลลัพธ และคาใชจาย อยางเปนรูปธรรม เพื่อเปาหมายสุดทาย คือระบบราชการที่มีระบบการทํางานที่มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผลสูง เทียบเทามาตรฐานสากล มีเจาหนาที่ที่มีประสิทธิภาพ ศักยภาพสูง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรของภาครัฐ อยางประหยัด คุมคา เหมาะสม ทําใหระบบราชการมีความคลองตัว ยืดหยุน สามารถปรับตัวไดทันตอการ เปลี่ยนแปลงของสังคมและประชาคมโลกสามารถตอบความตองการและนําบริการที่ดี มีคุณภาพไปสูประชาชนได NPM หมายรวมถึง “การบริหารจัดการ” และ “การจัดการภาครัฐ” หลักของ NPM ทั้ง 17 ขอนี้ จะทําใหเขาใจ หลักการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมอยางดี และ สามารถนําไปปฏิบัติใหเกิดผลไดอยางมีประสิทธิภาพ การประยุกตการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหมกับการพัฒนาระบบราชการไทย ยึดหลัก 3 S คือ - S = Struture (โครงสราง) คือโครงสรางองคกร - S = Service (บริการ) คือการบริการหรือวิธีปฏิบัติราชการของขาราชการ - S = Size (ขนาด) คือ การกําหนดขนาดและกําลังคนใหมีความเหมาะสม จุดเนนของการประยุกตใช NPM ในการพัฒนาระบบราชการ รัฐบาลไดประยุกตแนวคิด NPM เรื่องสําคัญ ดังนี้ - ภาครัฐจะตองลดบทบาทภารกิจลง มาเปนฝายสนับสนุนและเสริมสรางพลังใหภาคเอกชน และภาคประชาชนเปนผูดําเนินการ ซึ่งจะนําไปสูการมีสวนรวมของประชาชน - เนนการปรับเปลี่ยนวิธีการทํางาน เปนการใหความสําคัญที่ผลสัมฤทธิ์ หรือผลผลิตและ ผลลัพธของการทํางาน - เนนเปาหมายสุดทาย คือผูรับบริการหรือประชาชน ซึ่งการกินดีอยูดีและความสงบสุข - ในมิติของการบริหารทรัพยากรบุคคล คือ จํานวนกําลังคนภาครัฐจะตองมีไมมากนักตอง เปนกําลังคนที่มีคุณภาพและสามารถใชใหเกิดประโยชนสูงสุด
  • 14. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 12 บทที่ 3 การวางแผนกําลังคน เหตุผลความจําเปนในการกําหนดมาตรการ 1.1 มาตรา 35 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 กําหนดใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นมีคาใชจาย ดานบุคคลไมเกินรอยละ 40 ของงบประมาณรายจาย ประจําป โดยในปงบประมาณ พ.ศ.2547-2551 กรุงเทพมหานครมีคาใชจายดานบุคคล คิดเปนรอยละ 28.36,31.45,30.38,34.89 และ 34.91 ของงบประมาณรายจายประจําป และในปงบประมาณ พ.ศ.2552 มี ประมาณการคาใชจาย ดานบุคคลที่จะเบิกจายคิดเปนรอยละ 41.10 ของงบประมาณรายจายประจําป 1.2 สภาพกําลังคนของกรุงเทพมหานครยอนหลัง 5 ป (พ.ศ.2547-2551) โดยในสวนของ ขาราชการมีจํานวนกรอบอัตรา กําลังขาราชการกรุงเทพมหานครสามัญเพิ่มขึ้นทุกปเปนจํานวน 21,758 21,998 22,717 23,382 และ 23,647 ตําแหนง ตามลําดับ สําหรับกรอบ อัตรากําลังลูกจางมีจํานวนสูงมาก โดยนับตั้งแตป พ.ศ.2547 มีจํานวนกรอบอัตรากําลังลูกจาง 55,239 61,644 57,763 และ 61,178 ตําแหนง ตามลําดับ คณะกรรมการจัดสรรกําลังคนฯ ไดพิจารณาจํานวนกําลังคนของกรุงเทพมหานครที่มีการ เพิ่มขึ้นโดยตลอดแลวเห็นวา กรุงเทพมหานครจะมีคาใชจายดานบุคคลเกินกวาที่กําหนดไวตามมาตรา 35 แหง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 จึงมีความจําเปนจะตองมีการปรับขนาด กําลังคนโดยดวนเพื่อไมใหมีคาใชจายดานบุคคลเกิดกวาที่กฎหมายกําหนดและเพื่อใหกําลังคนของ กรุงเทพมหานครมีขนาดและคุณภาพที่เหมาะสม สอดคลองกับภารกิจของกรุงเทพมหานคร แนวทางการปรับขนาดกําลังคน การปรับขนาดกําลังคนของกรุงเทพมหานครใหไดผลในทางปฏิบัติที่เปนรูปธรรม จําเปนตอง มีแนวทาง ดําเนินการที่หลากหลายและเปนระบบ ตั้งแตการปรับลดบทบาทภารกิจ การปรับเปลี่ยน กระบวนการและวิธีการทํางาน การสงเสริมกลไก การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลตาง ๆ โดยการผลักดันให หนวยงานเพิ่มประสิทธิภาพการทํางานดวยการพัฒนาบุคลากรใหเปนผูปฏิบัติ งานที่ทรงความรู ตลอดจนการ เสริมสรางแรงจูงใจและคุณภาพซึ่งเปนการทํางานที่มีผลเชื่อมโยงตอการใชทรัพยากรบุคคลใหคุมคาเต็ม
  • 15. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 13 ศักยภาพ และเกิดประโยชนสูงสุดควบคูกันไป จึงไดกําหนดมาตรการเพื่อใชในการปรับขนาดกําลังคนของ กรุงเทพมหานคร ประกอบดวย มาตรการหลัก และมาตรการสนับสนุน ดังนี้ 1. มาตรการหลัก เปนมาตรการที่กําหนดใหทุกหนวยงานปฏิบัติ แบงการดําเนินการเปน 2 ระยะ คือ มาตรการ ระยะสั้น เปนมาตรการที่ใหใชทันทีเมื่อผูบริหารใหความเห็นชอบ (ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เห็นชอบ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2552) และมาตรการระยะยาว เปนมาตรการที่ใหหนวยงานดําเนินการตาม ระยะเวลาที่กําหนดไวในแตละมาตรการ แนวทางการดําเนินการมาตรการหลัก ระยะสั้น มาตรการ 1. ตําแหนงขาราชการกรุงเทพมหานครสามัญ 1.1 โดยหลักการไมเพิ่มกรอบอัตรากําลังในภาพรวมทุกหนวยงาน ยกเวนกรณีจําเปนอันมิ อาจหลีกเลี่ยงได เนื่องจากมีการจัดตั้งหนวยงานหรือสวนราชการขึ้นใหมหรือเปนหนวยงานที่จัดตั้งไวอยูกอน แลวที่มีความจําเปนตองเพิ่ม อัตรากําลังโดยหนวยงานหรือสวนราชการที่จะเพิ่มกรอบอัตรากําลังไดตองมี ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง ดังนี้ 1.1.1 เปนหนวยงานหรือสวนราชการที่ทําหนาที่ใหบริการประชาชนโดยตรง (งาน บริการประชาชนโดยตรง หมายถึง งานบริการที่หนวยงานหรือสวนราชการรับคําขอจากประชาชนโดยตรง เชน ประชาชนยื่นคําขอทําบัตร ประชาชนหรือประชาชนมาขอรับการตรวจรักษาที่ศูนยบริการสาธารณสุขหรือ โรงพยาบาล เปนตน) 1.1.2 เปนหนวยงานหรือสวนราชการที่จะตองดําเนินการตามนโยบายผูวา ราชการ กรุงเทพมหานครหรือไดรับการถายโอนภารกิจมาจากราชการสวนกลางหรือตามที่กฎหมายกําหนด หากไม ดําเนินการจะทําใหเกิดผลเสีย แกกรุงเทพมหานคร โดยมีแนวทางดําเนินการ ดังนี้ (1) ในเบื้องตนใหเกลี่ยอัตรากําลังจากตําแหนง ภายในสวนราชการหรือหนวยงานกอน (2) หากยังมีอัตรากําลังไมเพียงพอ ใหหนวยงาน ปรับเปลี่ยนวิธีการทํางานหรือใชการจางงาน ที่หลากหลาย เชน การจางลูกจางชั่วคราว ลูกจางที่ปฏิบัติตามโครงการจางอาสา หรือจางเหมาเอกชนแลวแต กรณี
  • 16. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 14 (3) หากดําเนินการแลวยังมีอัตรากําลังไมเพียงพอ อีกใหเสนอเหตุผลความจําเปนให คณะกรรมการจัดสรรกําลังคนของกรุงเทพมหานครพิจารณาจัดสรรอัตราวางจากหนวยงานอื่นมาให (4) หากคณะกรรมการฯ ไมสามารถจัดสรรอัตราใหไดหรือ จัดสรรแลวยังมีอัตรากําลังไม เพียงพอจึงจะสามารถนําเสนอขอเพิ่มกรอบอัตรากําลังได โดยการเพิ่มกรอบอัตรากําลังจะมีเงื่อนไข ดังนี้ - หนวยงานจะไดรับกรอบอัตรากําลังไมเกินรอยละ 50 ของกรอบอัตรากําลังที่ สํานักงาน ก.ก. วิเคราะหได สําหรับกรอบอัตรากําลังที่ยังขาดอยูอีกรอยละ 50 ใหหนวยงานแกไขปญหาดวย วิธีการอื่น เชน การสรางเครือขายในการทํางาน Project Management ไปกอนจนกวาจะมีการประกาศ ยกเลิกมาตรการ - สํานักงาน ก.ก. จะดําเนินการวิเคราะหอัตรากําลัง ใหหนวยงานอีกครั้งเมื่อยกเลิก มาตรการ หากวิเคราะหแลวปรากฏวาหนวยงานยังมีความจําเปนตองใชอัตรากําลังจึงจะกําหนดอัตรากําลัง เพิ่ม ใหมให - กรณีที่เปนตําแหนงในสายงานสนับสนุนเมื่อวิเคราะห แลวจะไมกําหนดกรอบ อัตรากําลังเปนตําแหนงขาราชการ โดยสํานักงาน ก.ก. จะกําหนดจํานวนผูปฏิบัติงานให และใหหนวยงานใช วิธีการ จางเหมาเอกชนดําเนินการ 1.2 ใหนําอัตราวางจากการเกษียณอายุราชการ เสนอใหคณะกรรมการจัดสรรกําลังคนของ กรุงเทพมหานคร พิจารณาจัดสรรใหในภาพรวมตามความจําเปนเรงดวน 1.3 ใหนําตําแหนงเจาหนาที่บันทึกขอมูลที่วางจากการเกษียณอายุราชการและในระหวางป มารวมไวที่ สวนกลาง (สํานักงาน ก.ก.) เพื่อนําเสนอคณะกรรมการจัดสรรกําลังคนของกรุงเทพมหานคร พิจารณาจัดสรรใหหนวยงานที่มีความจําเปนในการ ใชอัตรากําลังหรือหนวยงานที่จัดตั้งใหม หมายเหตุ สํานักงาน ก.ก. จะมีหนังสือแจงแนวทางปฏิบัติใหกับหนวยงานอีกครั้งหนึ่ง 2. ตําแหนงลูกจางประจํา 2.1 ไมใหเพิ่มอัตรากําลังลูกจางประจําที่มีชื่อหรือลักษณะงานซ้ําซอนกับขาราชการ 2.2 กําหนดใหหนวยงานสามารถเพิ่มกรอบอัตราลูกจางประจําได ดังนี้ - ปงบประมาณ 2553 ใหเพิ่มไดไมเกินรอยละ 5 ของกรอบอัตรากําลังลูกจาง ชั่วคราว ของหนวยงาน - ปงบประมาณ 2554 ใหเพิ่มไดไมเกินรอยละ 3 ของกรอบอัตรากําลังลูกจาง ชั่วคราว ของหนวยงาน - ปงบประมาณ 2555 ใหเพิ่มไดไมเกินรอยละ 2 ของกรอบอัตรากําลังลูกจาง ชั่วคราว ของหนวยงาน 2.3 ใหยุบเลิกกรอบอัตราลูกจางประจําที่วางจากการเกษียณอายุและวางระหวางป (ตาย ลาออก ออก ดวยเหตุวินัย) กรณีที่หนวยงานมีความจําเปนตองใชตําแหนงที่วางใหนําตําแหนงลูกจางประจํา อื่นมาเปลี่ยนเพื่อทดแทนได 2.4 เปลี่ยนแปลงและเกลี่ยอัตรากําลังลูกจางประจําที่มีเงื่อนไขตามขอบังคับ กรุงเทพมหานครวาดวย การกําหนดอัตราจางขั้นต่ําสูดและสูงสุดของลูกจาง ไปรองรับการจางและแตงตั้ง ลูกจางชั่วคราวเปนลูกจางประจําแทนการขอ พิจารณากําหนัดอัตราลูกจางประจําเพิ่มในแตละปงบประมาณ รวมทั้งการนําอัตรากําลังลูกจางที่เกษียณอายุราชการประจําป มาดําเนิน การรวมดวยอีกทางหนึ่ง
  • 17. คูมือเตรียมสอบ กรุงเทพมหานคร 15 หมายเหตุ ขอ 2.4 ปลัดกรุงเทพมหานครไดสั่งการใหหนวยงานดําเนินการตาม หนังสือที่ กท0404/435 ลงวันที่ 28 เมษายน 2552 3. ตําแหนงลูกจางชั่วคราว 3.1 การคัดเลือกลูกจางชั่วคราวเปนลูกจางประจํา ผูที่จะไดรับการคัดเลือกตองอยูในตําแหนง ที่คัดเลือกติดตอกันมาไมนอยกวา 3 ป (นับถึงวันสิ้นปงบประมาณ) สําหรับหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขใน การคัดเลือกอื่น ๆ ใหเปนไปตามคณะกรรมการพิจารณาผลการคัดเลือกลูกจางชั่วคราวเปนลูกจางประจํา กําหนด 3.2 ชะลอการกําหนดอัตรากําลังลูกจางชั่วคราวเพิ่มทุกกรณี ยกเวนกรณีที่ผูบริหาร กรุงเทพมหานครเห็นวา มีเหตุพิเศษหรือมีความจําเปนเรงดวน ทั้งนี้ ตั้งแตบัดนี้เปนตนไปหรือจนกวา สถานการณดานงบประมาณจะผอนคลายภายใตบทบัญญัติ กฎหมายที่เกี่ยวของ 3.3 นํารูปแบบการจางเหมาเอกชนมาดําเนินการแทนการจางโดยพิจารณาจากความจําเปน เหมาะสมตามสภาพงาน เชน การจางเหมาทําความสะอาดภายในอาคาร การทําความสะอาดทางสาธารณะทั้ง ทางบกและทางน้ํา การรักษาความปลอดภัย เปนตน ทั้งนี้ คาดหมายวาภายในปงบประมาณ พ.ศ. 2555 กรุงเทพมหานครจะดําเนินการจางเอกชนหรือมีเครือขายมาดําเนินการแทนการจางลูกจางเอง ประมาณรอยละ 40 หมายเหตุ ขอ 3.2 และ 3.3 ปลัดกรุงเทพมหานครไดสั่งการใหหนวยงานดําเนินการ แลวตาม หนังสือที่ กท 0404/435 ลงวันที่ 28 เมษายน 2552 แนวทางการดําเนินการมาตรการหลัก ระยะยาว มาตรการ 1. ใหสํานักงาน ก.ก. และหนวยงานรวมกันตรวจสอบตําแหนงที่ปฏิบัติภารกิจรองและ ภารกิจสนับสนุนของหนวยงาน และจัดทําบัญชี แสดงตําแหนงที่ปฏิบัติภารกิจสนับสนุน กรณีที่หนวยงานใดมีตําแหนงที่ปฏิบัติภารกิจสนับสนุนเกินกวา 20% ของจํานวน ตําแหนง ทั้งหมด ใหหนวยงานและสํานักงาน ก.ก. รวมกันพิจารณาและลดจํานวนตําแหนงไมใหเกินกวาที่กําหนด หมายเหตุ สํานักงาน ก.ก. จะมีหนังสือแจงแนวทางปฏิบัติใหหนวยงานทราบอีกครั้งหนึ่ง 2. ใหหนวยงานปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการทํางาน เชน นําเทคโนโลยีมาทดแทนการใช กําลังคนหรือใชวิธีการจางงานที่หลากหลาย รูปแบบ เพื่อใหมีผูปฏิบัติงานทดแทนในภารกิจสนับสนุน 3. ใหกองการเจาหนาที่ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร และสวนราชการที่ปฏิบัติงานการ เจาหนาที่หนวยงาน สํารวจตําแหนงที่ไมสามารถ แตงตั้งขาราชการไปดํารงตําแหนงได และเปนตําแหนงที่วาง เกินกวา 1 ป เพื่อแจงใหสํานักงาน ก.ก. ตรวจสอบ และหากพบวาปญหาที่ไมสามารถแตงตั้งขาราชการเกิด จาก การกําหนดตําแหนงไมเหมาะสมใหดําเนินการปรับปรุงตําแหนงใหมเพื่อใหสามารถแตงตั้งบรรจุราชการ ไปดํารงตําแหนงได และหากเปนตําแหนงวางที่เกิดจากปญหาอื่น ๆ เชน ยังไมเปดสอบใหแจงหนวยงานที่มี หนาที่รับผิดชอบเรงดําเนินการ ทั้งนี้เพื่อมิใหการขาดอัตรากําลังสงผลกระทบตอการปฏิบัติงานในภาพรวมของ กทม. ได 4. ใหกรุงเทพมหานครกําหนดระยะเวลาการแตงตั้ง (ยาย) ขาราชการในแตละตําแหนงใหมี กําหนดเวลาที่ชัดเจนและดําเนินการปละ 2 ครั้ง (วันที่ 1 เม.ย. และ 1 ต.ค. ของทุกป) ยกเวนกรณีมีความ จําเปนเรงดวนมิอาจเลี่ยงได