SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
บทที่ 1
บทนํา
ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา
ในยุคของสังคมข่าวสารเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT)
นับว่ามีบทบาทสําคัญในชีวิตประจําวัน และได้รับการยอมรับว่าเป็นเครื่องมือสําคัญอย่าง
หนึ่งต่อขบวนการเรียนรู้ในสถาบันการศึกษาทั้งหน่วยงานในภาครัฐและเอกชน เทคโนโลยี
สารสนเทศเป็นการนําเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายโทรคมนาคมมาเชื่อมต่อ
กัน สําหรับใช้ในการรับ และส่งข้อมูลเกี่ยวกับความรู้โดยผ่านกระบวนการประมวลหรือ
จัดทําให้อยู่ในรูปแบบที่มีความหมายและความสะดวกมาใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมกับแต่
ละองค์กร (พิเชษฐ์ ดุรงคเวโรจน์ และคณะ อ้างถึงใน อัญชลี ศรีสุข. 2546, หน้า 1) ดัง
เห็นได้จากการนําอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดการฐานข้อมูล และเชื่อมต่อ
เครือข่าย (on-line) ผ่านทางสายโทรศัพท์ เครือข่ายใยแก้วนําแสง หรือดาวเทียม เพื่อ
ความสะดวกในการจัดเก็บ การแก้ไข และการสืบค้นข้อมูล การค้นหาข้อมูล ข่าวสาร
ผ่านทางอินเตอร์เน็ต การนําเสนอข้อมูลข่าวสาร จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ฯลฯ ด้วย
คุณสมบัติหลายประการที่เห็นได้ชัดเจน อาทิเช่น วิวัฒนาการของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่
มีขนาดเล็กลงแต่มีสมรรถนะสูง จนทําให้มนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนได้ง่ายขึ้น
และระบบการสื่อสารโทรคมนาคมที่ทันสมัย ทําให้ปัญหาอันเนื่องจากระยะทาง และเวลา
ลดลงอย่างง่ายดาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบอินเตอร์เน็ตที่ทําให้โลกกลายเป็นสังคมไร้
พรมแดน การรับรู้ข้อมูล ข่าวสารเป็นไปอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ทําให้เทคโนโลยี
สารสนเทศกลายเป็นสิ่งที่จําเป็น และสําคัญต่อการดํารงชีวิตของบุคคลในสังคมทุกองค์กร
สําหรับวงการศึกษาไทยโดยเฉพาะสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ได้มีการนํา
เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไปใช้กันอย่างแพร่หลายทุกสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
แต่ละมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและเอกชน มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในงาน
สอนและงานเชิงบริหาร อีกทั้งยังมีการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในมหาวิทยาลัย
และเชื่อมต่อในระดับประเทศ ตลอดถึงระดับนานาชาติทั่วโลก โดยอาศัยเครือข่าย
อินเตอร์เน็ต เกิดเป็นชุมชนบนเครือข่ายขึ้นผู้คนสามารถติดต่อสื่อสารสัมพันธ์กันผ่าน
จอคอมพิวเตอร์มากยิ่งขึ้น การใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางเชื่อมทําให้ระบบ
การเรียนการสอนเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาและไม่จําเป็นต้องเห็นหน้ากันตลอด แต่สามารถ
2
ส่งข่าวสารถึงกันได้เนื่องจากเทคโนโลยีเครือข่ายทําให้ระยะทางไร้ความหมาย สามารถ
ขนส่งข้อมูลครั้งละจํานวนมากๆ และรวดเร็ว ในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้
ในมหาวิทยาลัยนั้น อาจเกิดผลได้ทั้งในทางบวก และทางลบ ข้อมูลที่นําเสนอผ่าน
เทคโนโลยีสารสนเทศมีทั้งข้อมูลที่เป็นประโยชน์และเป็นโทษต่อเด็กและเยาวชนซึ่งเป็น
กําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศในอนาคต เมื่อมีโอกาสสัมผัสกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
มากขึ้น หากมหาวิทยาลัยไม่มีแนวทางควบคุม หรือติดตาม ย่อมจะส่งผลกระทบต่อ
คุณภาพของกลุ่มบุคคลกลุ่มนี้ และอีกนัยหนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีประโยชน์ต่อ
มหาวิทยาลัยก็ต่อเมื่อมหาวิทยาลัยนําไปใช้ให้ถูกทิศทาง จึงเป็นสิ่งสําคัญที่ต้องรีบ
ดําเนินการเพื่อให้นักศึกษามีเครื่องมือในการศึกษา และค้นคว้าแหล่งความรู้อย่างมีคุณค่า
สามารถนําไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างมีความสุข นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังได้ใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(ภาสกร เพ็ชรประไพ, 2548, หน้า 1)
การนําเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าใช้ในการจัดการเรียนการสอน การบริหารและ
การให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศแก่นักศึกษาในรูปแบบของการสืบค้นข้อมูลแหล่ง
เรียนรู้ งานวิจัย ตําราเรียน การใช้ระบบอินเทอร์เน็ต การให้บริการด้วยเครื่อง
คอมพิวเตอร์ ตลอดจนการบริการของเจ้าหน้าที่ในการให้คําปรึกษา แนะนําการใช้งาน
และแก้ไขปัญหาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หากไม่ศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ ไม่
จัดระบบให้สอดคล้องกับงาน ไม่มีการควบคุมดูแล และไม่มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากร
ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีแนวทางในการนําไปใช้อย่างชัดเจน ไม่
ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการพัฒนาให้ก้าวหน้าตามวิวัฒนาการ ก็ไม่เกิดประโยชน์ต่อ
มหาวิทยาลัยเท่าที่ควร ซึ่งการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่สมบูรณ์นับว่าเป็นการ
ลงทุนค่อนข้างสูง นอกจากนั้นบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพนั้น ควร
ถือความพึงใจของผู้ใช้บริการเป็นหัวใจหลัก โดยการที่จะได้รับความพึงพอใจจากผู้ใช้
บริการมากเพียงใดต้องขึ้นอยู่กับ การบริการที่ถูกต้อง รวดเร็ว สะดวกสบาย สามารถ
เข้าถึงบริการได้ทุกที่ ทุกเวลา ย่อมทําให้เกิดผลดีกับองค์กร ทําให้เกิดการพัฒนา และ
เป็นการส่งเสริมคุณภาพในการให้บริการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะมหาวิทยาลัย
รามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นสถาบัน
การศึกษาระดับอุดมศึกษาที่แยกมาจากมหาวิทยาลัยรามคําแหง กรุงเทพมหานคร มี
วัตถุประสงค์คล้ายๆกัน เน้นสนับสนุนการให้บริการผู้ใช้ให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด
จากเหตุผลข้างต้น ทําให้ต้องการศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการเทคโน-
โลยีสารสนเทศของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อทราบถึงความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยี
3
สารสนเทศ และเป็นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนาประสิทธิภาพในการให้บริการด้าน
เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนเป็นการสร้างภาพพจน์ที่ดีให้กับสาขาวิทยบริการเฉลิม
พระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช และยังเป็นการเสริมสร้างศักยภาพให้สอดคล้องกับ
วิสัยทัศน์และพันธกิจของมหาวิทยาลัยรามคําแหงอีกด้วย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของ
นักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด
นครศรีธรรมราช
2. เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด
นครศรีธรรมราช จําแนกตาม เพศ อายุ และระดับการศึกษา
3. เพื่อนําข้อเสนอแนะที่ได้มาปรับปรุงการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ของมหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช
สมมติฐานของการวิจัย
1. นักศึกษามีความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยรามคําแหงสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช
อยู่ในระดับปานกลาง
2. นักศึกษาที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกันมีความพึงพอใจในการใช้บริการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดนครศรีธรรมราช แตกต่างกัน
ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาเกี่ยวกับความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ
จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยครอบคลุมในเรื่องงานบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประกอบด้วย ด้านระบบการให้บริการ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านบุคลากรผู้
ให้บริการ
4
ขอบเขตด้านประชากร
ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท
ปริญญาเอก ของมหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด
นครศรีธรรมราช ในภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2554
ขอบเขตด้านกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ จํานวนทั้งสิ้น 300คน ซึ่งจะทําการสุ่มแบบ
บังเอิญจากนักศึกษาที่มาใช้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยรามคําแหง
สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช
ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย
1. ตัวแปรอิสระ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา
2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ความพึงพอใจในการใช้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประกอบด้วย 3ด้าน ได้แก่ (1) ด้านระบบการให้บริการ (2) ด้านขั้นตอนการให้บริการ
และ (3) ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ที่กําลัง
ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2554มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการ
เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช
2. บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการ
ดําเนินการที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษา มหาวิทยาลัย
รามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นผู้ให้บริการ
อันประกอบด้วยเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ คือ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ และเทคโนโลยี
ด้านการสื่อสารโทรคมนาคม
3. ความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง ความรู้สึก
ชอบ พอใจ หรือมีทัศนคติในแง่บวกของนักศึกษาที่มีต่อการใช้บริการด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ ของมหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด
นครศรีธรรมราช ทั้ง 3ด้าน ได้แก่ ด้านระบบการให้บริการ ด้านกระบวนการให้บริการ
และด้านบุคลากรผู้ให้บริการ
3.1ความพึงพอใจด้านระบบการให้บริการ หมายถึง ความรู้สึกพอใจต่อ
การใช้บริการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ และระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต บริการระบบ
5
ไร้สาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E – mail) เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย บริการระบบข้อมูล
สารสนเทศ บริการระบบฟังความคิดเห็น (web board) การพัฒนาระบบและติดตามผล
การให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.2ความพึงพอใจด้านขั้นตอนการให้บริการ หมายถึง ความรู้สึกพอใจ
เกี่ยวกับความสะดวก ความรวดเร็ว ความถูกต้อง ตรงตามความต้องการ และการมี
ประสิทธิภาพในการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
3.3 ความพึงพอใจด้านบุคลากรผู้ให้บริการ หมายถึง ความรู้สึกพอใจต่อ
การให้บริการของบุคลากรผู้ให้บริการที่อํานายความสะดวกในการใช้บริการด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ทราบถึงความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของนักศึกษา
มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช
2. เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงการให้บริการด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ ของมหาวิทยาลัย รามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด
นครศรีธรรมราช
3. ผลการวิจัยสามารถนําไปใช้ในการพัฒนาบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้มี
ประสิทธิภาพ และนําเสนอต่อผู้บริหารเพื่อเป็นการปลุกกระตุ้นให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ให้หันมา
สนใจและตื่นตัวต่อการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขา
วิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช ดียิ่งขึ้นต่อไป

More Related Content

What's hot

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารkaewwonnesakun
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimproncharita
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารAuraiwan Worrasiri
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร gozungki
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1HI BO
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkrukea
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารKanlayanee Thongthab
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัสArt Asn
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1HI BO
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศpeter dontoom
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศKanitta_p
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์teaw-sirinapa
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศKrooIndy Csaru
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkunlayaneepanichh
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วfrankenjay
 

What's hot (20)

บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPimเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารPim
 
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัสบทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  อัส
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อัส
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)บทที่1(เสร็จ)
บทที่1(เสร็จ)
 
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1 ความหมายและบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
13 เทคโนโลยีสารสนเทศกับสังคมของมนุษย์
 
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
1 ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
28 supamongkol
28 supamongkol28 supamongkol
28 supamongkol
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้วเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หัวข้อที่1เส็ดแล้ว
 

Similar to งานวิจัย

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1Nuttapoom Tossanut
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารkanokwan8941
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictsarayuttong
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictnamyensudarat
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnatdanai phetdeethon
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาTeerasak Nantasan
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาa35974185
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029CUPress
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศWarakon Phommanee
 
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศInam Chatsanova
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารMapowzee Dahajee
 

Similar to งานวิจัย (20)

ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษาChapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
Chapter1 เทคโนโลยีนวัตกรรม และสื่อการศึกษา
 
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
1เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
9789740333029
97897403330299789740333029
9789740333029
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Chapter 6 gw
Chapter 6 gwChapter 6 gw
Chapter 6 gw
 
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

งานวิจัย

  • 1. บทที่ 1 บทนํา ความเป็นมาและความสําคัญของปัญหา ในยุคของสังคมข่าวสารเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) นับว่ามีบทบาทสําคัญในชีวิตประจําวัน และได้รับการยอมรับว่าเป็นเครื่องมือสําคัญอย่าง หนึ่งต่อขบวนการเรียนรู้ในสถาบันการศึกษาทั้งหน่วยงานในภาครัฐและเอกชน เทคโนโลยี สารสนเทศเป็นการนําเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และเครือข่ายโทรคมนาคมมาเชื่อมต่อ กัน สําหรับใช้ในการรับ และส่งข้อมูลเกี่ยวกับความรู้โดยผ่านกระบวนการประมวลหรือ จัดทําให้อยู่ในรูปแบบที่มีความหมายและความสะดวกมาใช้ประโยชน์ให้เหมาะสมกับแต่ ละองค์กร (พิเชษฐ์ ดุรงคเวโรจน์ และคณะ อ้างถึงใน อัญชลี ศรีสุข. 2546, หน้า 1) ดัง เห็นได้จากการนําอุปกรณ์คอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดการฐานข้อมูล และเชื่อมต่อ เครือข่าย (on-line) ผ่านทางสายโทรศัพท์ เครือข่ายใยแก้วนําแสง หรือดาวเทียม เพื่อ ความสะดวกในการจัดเก็บ การแก้ไข และการสืบค้นข้อมูล การค้นหาข้อมูล ข่าวสาร ผ่านทางอินเตอร์เน็ต การนําเสนอข้อมูลข่าวสาร จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง ฯลฯ ด้วย คุณสมบัติหลายประการที่เห็นได้ชัดเจน อาทิเช่น วิวัฒนาการของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ มีขนาดเล็กลงแต่มีสมรรถนะสูง จนทําให้มนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนได้ง่ายขึ้น และระบบการสื่อสารโทรคมนาคมที่ทันสมัย ทําให้ปัญหาอันเนื่องจากระยะทาง และเวลา ลดลงอย่างง่ายดาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบอินเตอร์เน็ตที่ทําให้โลกกลายเป็นสังคมไร้ พรมแดน การรับรู้ข้อมูล ข่าวสารเป็นไปอย่างกว้างขวางและรวดเร็ว ทําให้เทคโนโลยี สารสนเทศกลายเป็นสิ่งที่จําเป็น และสําคัญต่อการดํารงชีวิตของบุคคลในสังคมทุกองค์กร สําหรับวงการศึกษาไทยโดยเฉพาะสถาบันอุดมศึกษาต่างๆ ได้มีการนํา เทคโนโลยีสารสนเทศเข้าไปใช้กันอย่างแพร่หลายทุกสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย แต่ละมหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและเอกชน มีห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในงาน สอนและงานเชิงบริหาร อีกทั้งยังมีการเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในมหาวิทยาลัย และเชื่อมต่อในระดับประเทศ ตลอดถึงระดับนานาชาติทั่วโลก โดยอาศัยเครือข่าย อินเตอร์เน็ต เกิดเป็นชุมชนบนเครือข่ายขึ้นผู้คนสามารถติดต่อสื่อสารสัมพันธ์กันผ่าน จอคอมพิวเตอร์มากยิ่งขึ้น การใช้เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางเชื่อมทําให้ระบบ การเรียนการสอนเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาและไม่จําเป็นต้องเห็นหน้ากันตลอด แต่สามารถ
  • 2. 2 ส่งข่าวสารถึงกันได้เนื่องจากเทคโนโลยีเครือข่ายทําให้ระยะทางไร้ความหมาย สามารถ ขนส่งข้อมูลครั้งละจํานวนมากๆ และรวดเร็ว ในการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ ในมหาวิทยาลัยนั้น อาจเกิดผลได้ทั้งในทางบวก และทางลบ ข้อมูลที่นําเสนอผ่าน เทคโนโลยีสารสนเทศมีทั้งข้อมูลที่เป็นประโยชน์และเป็นโทษต่อเด็กและเยาวชนซึ่งเป็น กําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศในอนาคต เมื่อมีโอกาสสัมผัสกับเทคโนโลยีสารสนเทศ มากขึ้น หากมหาวิทยาลัยไม่มีแนวทางควบคุม หรือติดตาม ย่อมจะส่งผลกระทบต่อ คุณภาพของกลุ่มบุคคลกลุ่มนี้ และอีกนัยหนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศจะมีประโยชน์ต่อ มหาวิทยาลัยก็ต่อเมื่อมหาวิทยาลัยนําไปใช้ให้ถูกทิศทาง จึงเป็นสิ่งสําคัญที่ต้องรีบ ดําเนินการเพื่อให้นักศึกษามีเครื่องมือในการศึกษา และค้นคว้าแหล่งความรู้อย่างมีคุณค่า สามารถนําไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างมีความสุข นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังได้ใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการมหาวิทยาลัยให้เกิดประโยชน์สูงสุด (ภาสกร เพ็ชรประไพ, 2548, หน้า 1) การนําเทคโนโลยีสารสนเทศเข้าใช้ในการจัดการเรียนการสอน การบริหารและ การให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศแก่นักศึกษาในรูปแบบของการสืบค้นข้อมูลแหล่ง เรียนรู้ งานวิจัย ตําราเรียน การใช้ระบบอินเทอร์เน็ต การให้บริการด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์ ตลอดจนการบริการของเจ้าหน้าที่ในการให้คําปรึกษา แนะนําการใช้งาน และแก้ไขปัญหาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หากไม่ศึกษาให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ ไม่ จัดระบบให้สอดคล้องกับงาน ไม่มีการควบคุมดูแล และไม่มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากร ให้สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มีแนวทางในการนําไปใช้อย่างชัดเจน ไม่ ส่งเสริมสนับสนุนให้มีการพัฒนาให้ก้าวหน้าตามวิวัฒนาการ ก็ไม่เกิดประโยชน์ต่อ มหาวิทยาลัยเท่าที่ควร ซึ่งการลงทุนด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่สมบูรณ์นับว่าเป็นการ ลงทุนค่อนข้างสูง นอกจากนั้นบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีประสิทธิภาพนั้น ควร ถือความพึงใจของผู้ใช้บริการเป็นหัวใจหลัก โดยการที่จะได้รับความพึงพอใจจากผู้ใช้ บริการมากเพียงใดต้องขึ้นอยู่กับ การบริการที่ถูกต้อง รวดเร็ว สะดวกสบาย สามารถ เข้าถึงบริการได้ทุกที่ ทุกเวลา ย่อมทําให้เกิดผลดีกับองค์กร ทําให้เกิดการพัฒนา และ เป็นการส่งเสริมคุณภาพในการให้บริการมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะมหาวิทยาลัย รามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นสถาบัน การศึกษาระดับอุดมศึกษาที่แยกมาจากมหาวิทยาลัยรามคําแหง กรุงเทพมหานคร มี วัตถุประสงค์คล้ายๆกัน เน้นสนับสนุนการให้บริการผู้ใช้ให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด จากเหตุผลข้างต้น ทําให้ต้องการศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการเทคโน- โลยีสารสนเทศของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อทราบถึงความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยี
  • 3. 3 สารสนเทศ และเป็นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนาประสิทธิภาพในการให้บริการด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ ตลอดจนเป็นการสร้างภาพพจน์ที่ดีให้กับสาขาวิทยบริการเฉลิม พระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช และยังเป็นการเสริมสร้างศักยภาพให้สอดคล้องกับ วิสัยทัศน์และพันธกิจของมหาวิทยาลัยรามคําแหงอีกด้วย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของ นักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด นครศรีธรรมราช 2. เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของนักศึกษามหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด นครศรีธรรมราช จําแนกตาม เพศ อายุ และระดับการศึกษา 3. เพื่อนําข้อเสนอแนะที่ได้มาปรับปรุงการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของมหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช สมมติฐานของการวิจัย 1. นักศึกษามีความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหงสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช อยู่ในระดับปานกลาง 2. นักศึกษาที่มีปัจจัยส่วนบุคคลต่างกันมีความพึงพอใจในการใช้บริการ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช แตกต่างกัน ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาเกี่ยวกับความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยครอบคลุมในเรื่องงานบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย ด้านระบบการให้บริการ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านบุคลากรผู้ ให้บริการ
  • 4. 4 ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ของมหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด นครศรีธรรมราช ในภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2554 ขอบเขตด้านกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ จํานวนทั้งสิ้น 300คน ซึ่งจะทําการสุ่มแบบ บังเอิญจากนักศึกษาที่มาใช้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศของมหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรที่ใช้ในการศึกษา ประกอบด้วย 1. ตัวแปรอิสระ ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา 2. ตัวแปรตาม ได้แก่ ความพึงพอใจในการใช้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วย 3ด้าน ได้แก่ (1) ด้านระบบการให้บริการ (2) ด้านขั้นตอนการให้บริการ และ (3) ด้านบุคลากรผู้ให้บริการ นิยามศัพท์เฉพาะ 1. นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาระดับปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ที่กําลัง ศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2554มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการ เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการ ดําเนินการที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษา มหาวิทยาลัย รามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นผู้ให้บริการ อันประกอบด้วยเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ คือ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ และเทคโนโลยี ด้านการสื่อสารโทรคมนาคม 3. ความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง ความรู้สึก ชอบ พอใจ หรือมีทัศนคติในแง่บวกของนักศึกษาที่มีต่อการใช้บริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ของมหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด นครศรีธรรมราช ทั้ง 3ด้าน ได้แก่ ด้านระบบการให้บริการ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านบุคลากรผู้ให้บริการ 3.1ความพึงพอใจด้านระบบการให้บริการ หมายถึง ความรู้สึกพอใจต่อ การใช้บริการด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ และระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต บริการระบบ
  • 5. 5 ไร้สาย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E – mail) เว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย บริการระบบข้อมูล สารสนเทศ บริการระบบฟังความคิดเห็น (web board) การพัฒนาระบบและติดตามผล การให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.2ความพึงพอใจด้านขั้นตอนการให้บริการ หมายถึง ความรู้สึกพอใจ เกี่ยวกับความสะดวก ความรวดเร็ว ความถูกต้อง ตรงตามความต้องการ และการมี ประสิทธิภาพในการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.3 ความพึงพอใจด้านบุคลากรผู้ให้บริการ หมายถึง ความรู้สึกพอใจต่อ การให้บริการของบุคลากรผู้ให้บริการที่อํานายความสะดวกในการใช้บริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทราบถึงความพึงพอใจในการใช้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช 2. เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงการให้บริการด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ ของมหาวิทยาลัย รามคําแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด นครศรีธรรมราช 3. ผลการวิจัยสามารถนําไปใช้ในการพัฒนาบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้มี ประสิทธิภาพ และนําเสนอต่อผู้บริหารเพื่อเป็นการปลุกกระตุ้นให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้ให้หันมา สนใจและตื่นตัวต่อการให้บริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยรามคําแหง สาขา วิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดนครศรีธรรมราช ดียิ่งขึ้นต่อไป