SlideShare a Scribd company logo
การอบรม
“สารพิษในพืชอาหาร”
(Toxic Substances in Plants)
สถานที่ติดต่อ
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
239 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง
จ.เชียงใหม่ 50200
โทรศัพท์: 053-944-031
โทรสาร: 053-944-031 ต่อ 111
website : www.postharvest.cmu.ac.th
E-mail: postharvest@cmu.ac.th
ฟรี!!! ค่าลงทะเบียน
จานวนจากัด 30 ท่าน เท่านั้น
ภายในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561
“สารพิษในพืชอาหาร”
(Toxic Substances in Plants)
ชื่อ-สกุล....................................................................................
ตาแหน่ง.....................................................................................
สังกัดหน่วยงาน.........................................................................
สถานที่ติดต่อ.............................................................................
...................................................................................................
...................................................................................................
โทรศัพท์.....................................................................................
อีเมล……………………………………………….............................................
แบบฟอร์มการลงทะเบียนอบรม
วันที่ 8-9 มีนาคม 2561
ณ ห้องประชุมศูนย์วิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รับฟังการบรรยายจากวิทยากรรับเชิญพิเศษ 2 ท่าน
กับหลากหลายหัวข้อที่น่าสนใจ
พร้อมรับหนังสือ “สารพิษในอาหาร”
กาหนดการอบรม (ต่อ)
13:00-14:30 บรรยาย หัวข้อ “วิธีปฏิบัติตนให้มีสุขภาพดีห่างไกล
พิษภัยสารกาจัดศัตรูพืช ”
อาจารย์ ดร.เชิดศักดิ์ ใจแข็ง
15:00-15:30 รับประทานอาหารว่าง
15:30-16:30 บรรยาย หัวข้อ “การใช้สารเคมีทางการเกษตร
ที่ถูกต้องและปลอดภัยตามมาตรฐานสากล ”
อาจารย์ ดร.เชิดศักดิ์ ใจแข็ง
พืชหลายชนิดที่มีสารพิษโดยธรรมชาติ สามารถทาให้เกิด
อันตรายต่อมนุษย์ มีการนามาใช้ประโยชน์ เช่น ใช้ล่าสัตว์ ฆ่าปลา
หรือ นามาใช้วางยาพิษ พืชพิษหลายชนิดหากใช้ในปริมาณน้อยก็จะ
เป็นยารักษาโรคได้ ความเป็นพิษของพืชนั้นจะขึ้นกับปริมาณพืชที่ได้รับ
เข้าไป และความทนทานต่อสารพิษของแต่ละบุคคลมีไม่เท่ากัน โอกาส
ที่จะเกิดพิษในเด็กจะมีมากกว่าในผู้ใหญ่ ซึ่งเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึง
การณ์ และความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก นอกจากนี้ขนาดของ
สารพิษที่ก่อให้เกิดความเป็นพิษในเด็กก็มีค่าต่ากว่าในผู้ใหญ่ สาเหตุ
ความเป็นพิษที่เกิดขึ้นในเด็ก เนื่องจากพืชมีดอกและผลสีสวยดึงดูดใจ
ให้ลิ้มลอง ส่วนในผู้ใหญ่มักเกิดจากการรับประทานพืชที่ไม่รู้จักชื่อ
หรือความเข้าใจผิดเนื่องจากพืชบางชนิดมีหลายชื่อ ชื่อพ้อง หรือการ
ใช้สมุนไพรที่ไม่ถูกวิธีหรือเกินขนาดที่ควร ส่วนความเป็นพิษที่เกิดกับ
สัตว์เลี้ยงโดยเฉพาะสัตว์เคี้ยวเอื้องมักเกิดจากพืชพิษที่ขึ้นปะปนกับพืช
ที่ใช้เป็นอาหารของสัตว์ ความเป็นพิษนี้จะสร้างความสูญเสียอย่างมาก
นอกจากพืชที่มีพิษโดยธรรมชาติแล้ว ยังมีการใช้สารเคมีทาง
การเกษตรเพื่อกาจัดศัตรูพืชในพืชอาหาร ทั้งพืชผักและผลไม้ หาก
เกษตรกรผู้ปลูกไม่มีความรู้หรือขาดความตระหนักถึงอันตรายในการ
ใช้สารเคมี ซึ่งเมื่อตกค้างในพืชอาหารปริมาณมากก็จะส่งผลร้ายแก่
สุขภาพทั้งของเกษตรกรและผู้บริโภคได้ ดังนั้นการส่งเสริมความรู้
ความเข้าใจถึงชนิดและลักษณะของพืชพิษ สารสาคัญที่เป็นพิษ วิธีการ
ป้องกันและรักษาเบื้องต้น รวมถึงการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชอย่าง
ถูกต้องในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจะช่วยป้องกันความสูญเสียที่จะเกิด
ขึ้นได้
“มาเลือกบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีกันนะคะ”
การอบรม
“สารพิษในพืชอาหาร ”
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในฐานะหน่วยงานด้านการศึกษา ได้เล็งเห็นความ
สาคัญของสารพิษในพืชอาหาร ซึ่งเกี่ยวข้องกับการผลิต ผัก ผลไม้ พืช
หัว และธัญพืชต่างๆ ที่ส่งผลโดยตรงต่อทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค จึงได้จัด
ให้มีการอบรม เรื่อง “สารพิษในพืชอาหาร” ในวันที่ 8-9 มีนาคม 2561
ณ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารพิษที่มีอยู่ในพืช
อาหาร รวมทั้งวิธีการลดความเป็นพิษหากต้องบริโภค
2.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบแนวทางและวิธีการในการป้องกันแก้ไขเมื่อเกิด
อันตรายจากสารพิษในพืชอาหาร
3.เพื่อลดความสูญเสียและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากสารพิษในพืช
อาหาร
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
สารพิษที่มีอยู่ในพืชอาหาร แนวทางและวิธีการในการป้องกัน และแก้ไข
เมื่อเกิดอันตรายจากสารพิษในพืชอาหารไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกัน
อันตราย และความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นจากสารพิษในพืชอาหารได้
กาหนดการอบรม
8 มีนาคม 2561
08:30-09:00 ลงทะเบียน
09:00-10:30 บรรยาย หัวข้อ “สารพิษในผักและผลไม้”
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นิธิยา รัตนาปนนท์
10:30-11:00 รับประทานอาหารว่าง
11.00-12:00 บรรยาย หัวข้อ “สารพิษในธัญพืช”
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นิธิยา รัตนาปนนท์
12:00-13:00 รับประทานอาหารกลางวัน
13:00-14:30 บรรยาย หัวข้อ “สารพิษในถั่วและนัท”
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นิธิยา รัตนาปนนท์
15:00-15:30 รับประทานอาหารว่าง
15:30-16:30 บรรยาย หัวข้อ “สารพิษในพืชหัว”
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นิธิยา รัตนาปนนท์
9 มีนาคม 2561
09:00-10:30 บรรยาย หัวข้อ “สถานการณ์ปัจจุบันและวิกฤต
การณ์การใช้สารเคมีในภาคการเกษตร ”
อาจารย์ ดร.เชิดศักดิ์ ใจแข็ง
10:30-11:00 รับประทานอาหารว่าง
11.00-12:00 บรรยาย หัวข้อ “การผลัดส่งอันตรายจากการใช้สาร
เคมีกาจัดศัตรูพืชจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภค ”
อาจารย์ ดร.เชิดศักดิ์ ใจแข็ง
12:00-13:00 รับประทานอาหารกลางวัน
เลือกกินอย่างไรดีนะ อืม....

More Related Content

More from Postharvest Technology Innovation Center

ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อยข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อย
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้าข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อนข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโดข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกรข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะ
Postharvest Technology Innovation Center
 
ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20
ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20
ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วยข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วย
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่
Postharvest Technology Innovation Center
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าวข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าว
Postharvest Technology Innovation Center
 

More from Postharvest Technology Innovation Center (20)

ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อยข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอ้อย
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าว
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวบรอกโคลี
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้าข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวคะน้า
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวมะเขือเทศ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดขาวปลี
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อนข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวโพดฝักอ่อน
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมใบ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวกะหล่ำปลี
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผักกาดหอมห่อ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโดข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลอะโวกาโด
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รีข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลสตรอว์เบอร์รี
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกรข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลแก้วมังกร
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะละกอ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลพลับ
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะ
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลเงาะ
 
ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20
ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20
ประกาศรางวัลการประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 20
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วยข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วย
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลกล้วย
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลลิ้นจี่
 
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าวข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าว
ข้อมูลการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวผลมะพร้าว
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

“สารพิษในพืชอาหาร” (Toxic Substances in Plants)

  • 1. การอบรม “สารพิษในพืชอาหาร” (Toxic Substances in Plants) สถานที่ติดต่อ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 239 ถ.ห้วยแก้ว ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 โทรศัพท์: 053-944-031 โทรสาร: 053-944-031 ต่อ 111 website : www.postharvest.cmu.ac.th E-mail: postharvest@cmu.ac.th ฟรี!!! ค่าลงทะเบียน จานวนจากัด 30 ท่าน เท่านั้น ภายในวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 “สารพิษในพืชอาหาร” (Toxic Substances in Plants) ชื่อ-สกุล.................................................................................... ตาแหน่ง..................................................................................... สังกัดหน่วยงาน......................................................................... สถานที่ติดต่อ............................................................................. ................................................................................................... ................................................................................................... โทรศัพท์..................................................................................... อีเมล………………………………………………............................................. แบบฟอร์มการลงทะเบียนอบรม วันที่ 8-9 มีนาคม 2561 ณ ห้องประชุมศูนย์วิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รับฟังการบรรยายจากวิทยากรรับเชิญพิเศษ 2 ท่าน กับหลากหลายหัวข้อที่น่าสนใจ พร้อมรับหนังสือ “สารพิษในอาหาร” กาหนดการอบรม (ต่อ) 13:00-14:30 บรรยาย หัวข้อ “วิธีปฏิบัติตนให้มีสุขภาพดีห่างไกล พิษภัยสารกาจัดศัตรูพืช ” อาจารย์ ดร.เชิดศักดิ์ ใจแข็ง 15:00-15:30 รับประทานอาหารว่าง 15:30-16:30 บรรยาย หัวข้อ “การใช้สารเคมีทางการเกษตร ที่ถูกต้องและปลอดภัยตามมาตรฐานสากล ” อาจารย์ ดร.เชิดศักดิ์ ใจแข็ง
  • 2. พืชหลายชนิดที่มีสารพิษโดยธรรมชาติ สามารถทาให้เกิด อันตรายต่อมนุษย์ มีการนามาใช้ประโยชน์ เช่น ใช้ล่าสัตว์ ฆ่าปลา หรือ นามาใช้วางยาพิษ พืชพิษหลายชนิดหากใช้ในปริมาณน้อยก็จะ เป็นยารักษาโรคได้ ความเป็นพิษของพืชนั้นจะขึ้นกับปริมาณพืชที่ได้รับ เข้าไป และความทนทานต่อสารพิษของแต่ละบุคคลมีไม่เท่ากัน โอกาส ที่จะเกิดพิษในเด็กจะมีมากกว่าในผู้ใหญ่ ซึ่งเกิดจากความรู้เท่าไม่ถึง การณ์ และความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก นอกจากนี้ขนาดของ สารพิษที่ก่อให้เกิดความเป็นพิษในเด็กก็มีค่าต่ากว่าในผู้ใหญ่ สาเหตุ ความเป็นพิษที่เกิดขึ้นในเด็ก เนื่องจากพืชมีดอกและผลสีสวยดึงดูดใจ ให้ลิ้มลอง ส่วนในผู้ใหญ่มักเกิดจากการรับประทานพืชที่ไม่รู้จักชื่อ หรือความเข้าใจผิดเนื่องจากพืชบางชนิดมีหลายชื่อ ชื่อพ้อง หรือการ ใช้สมุนไพรที่ไม่ถูกวิธีหรือเกินขนาดที่ควร ส่วนความเป็นพิษที่เกิดกับ สัตว์เลี้ยงโดยเฉพาะสัตว์เคี้ยวเอื้องมักเกิดจากพืชพิษที่ขึ้นปะปนกับพืช ที่ใช้เป็นอาหารของสัตว์ ความเป็นพิษนี้จะสร้างความสูญเสียอย่างมาก นอกจากพืชที่มีพิษโดยธรรมชาติแล้ว ยังมีการใช้สารเคมีทาง การเกษตรเพื่อกาจัดศัตรูพืชในพืชอาหาร ทั้งพืชผักและผลไม้ หาก เกษตรกรผู้ปลูกไม่มีความรู้หรือขาดความตระหนักถึงอันตรายในการ ใช้สารเคมี ซึ่งเมื่อตกค้างในพืชอาหารปริมาณมากก็จะส่งผลร้ายแก่ สุขภาพทั้งของเกษตรกรและผู้บริโภคได้ ดังนั้นการส่งเสริมความรู้ ความเข้าใจถึงชนิดและลักษณะของพืชพิษ สารสาคัญที่เป็นพิษ วิธีการ ป้องกันและรักษาเบื้องต้น รวมถึงการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชอย่าง ถูกต้องในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจะช่วยป้องกันความสูญเสียที่จะเกิด ขึ้นได้ “มาเลือกบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีกันนะคะ” การอบรม “สารพิษในพืชอาหาร ” ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในฐานะหน่วยงานด้านการศึกษา ได้เล็งเห็นความ สาคัญของสารพิษในพืชอาหาร ซึ่งเกี่ยวข้องกับการผลิต ผัก ผลไม้ พืช หัว และธัญพืชต่างๆ ที่ส่งผลโดยตรงต่อทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค จึงได้จัด ให้มีการอบรม เรื่อง “สารพิษในพืชอาหาร” ในวันที่ 8-9 มีนาคม 2561 ณ ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสารพิษที่มีอยู่ในพืช อาหาร รวมทั้งวิธีการลดความเป็นพิษหากต้องบริโภค 2.เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบแนวทางและวิธีการในการป้องกันแก้ไขเมื่อเกิด อันตรายจากสารพิษในพืชอาหาร 3.เพื่อลดความสูญเสียและอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากสารพิษในพืช อาหาร ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ สารพิษที่มีอยู่ในพืชอาหาร แนวทางและวิธีการในการป้องกัน และแก้ไข เมื่อเกิดอันตรายจากสารพิษในพืชอาหารไปประยุกต์ใช้เพื่อป้องกัน อันตราย และความสูญเสียที่อาจเกิดขึ้นจากสารพิษในพืชอาหารได้ กาหนดการอบรม 8 มีนาคม 2561 08:30-09:00 ลงทะเบียน 09:00-10:30 บรรยาย หัวข้อ “สารพิษในผักและผลไม้” ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นิธิยา รัตนาปนนท์ 10:30-11:00 รับประทานอาหารว่าง 11.00-12:00 บรรยาย หัวข้อ “สารพิษในธัญพืช” ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นิธิยา รัตนาปนนท์ 12:00-13:00 รับประทานอาหารกลางวัน 13:00-14:30 บรรยาย หัวข้อ “สารพิษในถั่วและนัท” ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นิธิยา รัตนาปนนท์ 15:00-15:30 รับประทานอาหารว่าง 15:30-16:30 บรรยาย หัวข้อ “สารพิษในพืชหัว” ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.นิธิยา รัตนาปนนท์ 9 มีนาคม 2561 09:00-10:30 บรรยาย หัวข้อ “สถานการณ์ปัจจุบันและวิกฤต การณ์การใช้สารเคมีในภาคการเกษตร ” อาจารย์ ดร.เชิดศักดิ์ ใจแข็ง 10:30-11:00 รับประทานอาหารว่าง 11.00-12:00 บรรยาย หัวข้อ “การผลัดส่งอันตรายจากการใช้สาร เคมีกาจัดศัตรูพืชจากผู้ผลิตสู่ผู้บริโภค ” อาจารย์ ดร.เชิดศักดิ์ ใจแข็ง 12:00-13:00 รับประทานอาหารกลางวัน เลือกกินอย่างไรดีนะ อืม....