SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1
ผมไม่ได้เรียนมาทางด้านเมือง ไม่ได้เป็นนัก Urban Studies และวิจัยเรื่องเมืองไม่ค่อย
เหมือนกับที่ไหนเขาทากัน การศึกษาแบบไทยของเราส่วนใหญ่เป็นแบบนาเข้า อย่างตะวันตกเขาเปิด
วิชา Urban Studies เราก็ส่งคนไปเรียนจนจบ ดร. เสร็จแล้วเราก็กลับมาตั้งสาขา Urban Studies แล้วก็
ผลิตนักศึกษาออกไปตามหลักสูตร ตามปรัชญาของตะวันตก วิธีการมองปัญหา มองโอกาส ก็มองแบบ
ตะวันตก แต่สิ่งที่ผมจะกล่าวมันจะเป็นอีกแบบหนึ่ง เพราะว่าผมไม่ได้เรียน Urban Studies มา แต่ผมก็
คิด อ่าน วิจัย และไปดูอะไรเกี่ยวกับเมืองมานานพอสมควร อีกทั้งเขียนเกี่ยวกับเรื่องเมืองมาพอสมควร
จึงมีอะไรที่จะมานาเสนอให้ถกคิดกันต่อไป
สาหรับประเทศไทย เรามักจะมองเมืองเป็นของใหม่ ชนบทเป็นของเก่าดั้งเดิม เมืองเป็นของที่
ได้จากการพัฒนาสู่ความทันสมัยแบบตะวันตก คิดแบบนี้เมืองก็เป็นของใหม่ เป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้น แต่
ผมไม่อยากให้คิดแบบนี้ ผมคิดว่า เมืองมันเก่ามาก คาว่า “เมือง” ในภาษาไทยเป็นคาโบราณ ในภาษา
ถิ่นไทยอื่นๆ เรียกว่า “เมิง” บ้าง “มอง” บ้าง ซึ่งมีความหมายใกล้เคียงกัน หมายถึง ที่ราบลุ่มแม่น้าที่มี
การปกครอง เพราะฉะนั้น ทางภาคเหนือก็มีเมืองพะเยา เมืองลาปาง เมืองลาพูน ทางภาคกลางก็มีเมือง
อยุธยา ในทีแรกความหมายมันเป็นความหมายของเมืองบนที่ราบลุ่มแม่น้าและอยู่ไม่ไกลจากภูเขา
ภาษาไทยเดิมทีก็เป็นของคนเผ่าไทย ไต ลาว ซึ่งรวมทั้งคนภาคอีสาน คนภาคเหนือของเราด้วย เดิมคน
เหล่านี้อาศัยอยู่ตอนใต้ของจีน ตอนเหนือของเวียดนาม อยู่กับภูเขา แต่ว่าเราไม่ใช่เผ่าภูเขา เราเป็นเผ่า
ที่ราบ แต่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้าที่อยู่ไม่ไกลจากภูเขา และเมืองของเราจะเป็นเมืองขนาดเล็กๆ เพราะมันจะ
มีภูเขามากั้นเมืองเอาไว้
1
ถอดความและเรียบเรียงจาก งานสัมมนาวิชาการ เรื่อง พลวัตเมืองภูมิภาคกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน จัดโดยหลักสูตรปรัชญาดุษฎี
บัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในวันที่ 13 มกราคม 2561 ณ และงานเสวนา
สาธารณะ เรื่องท้องถิ่นนิยม เมืองนิยม จัดโดย กลุ่มภาคประชาสังคมอุดรธานี นาโดยกลุ่ม SE ESAN ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคาร 17 ณ
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ในวันที่ 14 มกราคม 2561
2
ตราบจนกระทั่งคนไทยลงมาถึงที่ราบภาคกลาง จึงจะพ้นไปจากสภาพเมืองในแบบที่ผมกล่าวไป
ในตอนต้น มันจะเป็นเมืองที่ราบลุ่มที่แผ่ออกไปไกลมาก จากทางลงแถวภูพานแล้วย้ายมาอยู่แถบที่ราบ
สูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เราเรียกกันว่า “ที่ราบสูง” เมืองก็เริ่มจะไม่ใกล้กับภูเขาแล้ว แต่ยังคงติดกับ
ลุ่มแม่น้าอยู่ ดังนั้น คาว่า “เมิง มอง เมือง” เป็นของเก่ามาก เมืองไทยเราก็เรียกว่า “เมืองไทย” ไม่ได้
เรียกว่า “ไทยแลนด์” เพราะฉะนั้น คาว่า “เมือง” ในความหมายโบราณมันจึงหมายถึงทั้งบริเวณที่อยู่
ในกาแพงเมืองกับบริเวณที่อยู่รอบๆ กาแพงเมืองที่เมืองแผ่ไปถึง เพราะฉะนั้น เมืองของไทยแต่ดั้งเดิม
มันมีความหมายหมายถึงทั้งเมืองแบบปัจจุบันและเมืองแบบชนบทที่อยู่รอบๆ
ต่อมาเมื่อสังคมศาสตร์แบบอเมริกันเข้ามา มันเกิดคาว่า “ชนบท” ขึ้นมา และคาว่า “ชนบท”
ถูกพิจารณาโดยแยกจากเมืองทั้งในทางวิชาการและในทางการพัฒนา ทาให้เรามองสองสิ่งนี้แยกออก
จากกัน จากนั้นเราก็นิยมพูดถึงประเด็นการพัฒนาชนบทและประเด็นความเหลื่อมล้าของเมืองกับชนบท
ซึ่ง “เมือง” ยังมีฐานะที่เหนือกว่า เมืองเอาเปรียบชนบท เมืองดูดซับอะไรของชนบทเข้ามา ประเด็น
เหล่านี้มันเป็นกรอบในการคิดแบบตะวันตก โดยเฉพาะแบบอเมริกัน ซึ่งเมืองกับชนบทมันแยกออกจาก
กันชัด ส่วนหนึ่งเป็นเพราะอเมริกาเขามีพื้นที่ใหญ่ไพศาลมาก ส่วนใหญ่ภาคชนบทของอเมริกาเป็นไร่
ข้าวโพด เป็นป่า เป็นเขา เป็นทะเล แต่เมืองอเมริกาไม่ใช่ไม่เจริญ เมืองก็เจริญ เพียงแต่เขาแยกเมืองกับ
ชนบทออกจากกันชัด ในทางกลับกัน “เมือง” ในความหมายแบบไทยดั้งเดิม มันไม่แยกชนบทกับเมือง
สาหรับประเทศไทย สิ่งที่ตรงข้ามกับ “เมือง” คือ “ป่า” ไม่ใช่ “ชนบท” ชนบทเป็นส่วนหนึ่งของเมือง
สองสิ่งนี้สัมพันธ์กันผ่านระบบศักดินา ในเมืองก็เป็นที่อยู่ของเจ้า พระ ขุนนาง และชาวบ้าน ส่วนชนบท
จะเป็นที่อยู่ของไพร่ ทาส แล้วก็เชื่อมโยงกับเมืองโดยผ่านระบบศักดินา ถ้ามองแบบไทย ความสัมพันธ์ก็
เป็นทั้งแบบบังคับบัญชา แต่ก็มีแบบเกื้อกูลและก็มีแบบสนับสนุนกัน
ผมมีความรู้สึกอยู่ว่า คนไทยมักคิดว่าความเป็นไทยแท้คือความเป็นชนบท เราไม่ค่อยวางใจกับ
เมือง ไม่ค่อยสนิทใจกับเมือง รู้สึกว่าเมืองเป็นของต่างประเทศ ไม่ใช่ของไทย เป็นของต่างประเทศที่ไทย
เอาเข้ามาทา พวกเราโดยเฉพาะคนในยุคผมมักมองเมืองแบบไม่ค่อยวางใจ เมืองคือที่อยู่ของชนชั้น
ปกครอง ทุนนิยม ชนชั้นกลางสมัยใหม่ ซึ่งบางทีก็ดูถูกเหยียดหยามคนในชนบท ในอีกทางหนึ่ง เราก็
กลัวว่าชนบทจะล่มสลาย กลัวว่าชนบทจะหมดบทบาทและเหลือคนน้อยลงไปทุกที แล้วเราก็คิดแบบนี้
นานทีเดียวว่า คาตอบอยู่ที่ “ชนบทและหมู่บ้าน” แต่ในความเป็นจริง เมืองมันโตขึ้นทุกวัน แต่น้อยคน
ที่จะนาเสนอเรื่องเมือง เรื่องชนชั้นกลาง เรื่องการกลายเป็นเมือง อีกทั้งการศึกษาเรื่องเมืองมักจะมีแต่
งานศึกษาเกี่ยวกับข้อบกพร่อง ปัญหาคนจน ปัญหาสามล้อ ปัญหาโสเภณี ปัญหาสลัม นักวิชาการเรื่อง
3
เมืองจึงศึกษาเรื่องเมืองจากปัญหากันเป็นจานวนมาก ซึ่งก็สอดรับกับอารมณ์ความรู้สึกของคนไทย
ในช่วงที่ผมเป็นหนุ่มจนถึงวัยกลางคนตอนต้น ที่คนมักมีความรู้สึกว่าเมืองเต็มไปด้วยปัญหา
แต่เมื่อกาลเวลาผ่านไป เวลานี้ประเทศไทย เมืองใหญ่กว่าชนบทแล้ว จะชอบหรือไม่ชอบก็ตาม
เมืองมันโตวันโตคืน เพราะฉะนั้น โลกทัศน์และมุมมองของเราที่ยังมองว่า เมืองเป็นปัญหา เมืองไม่ใช่
ของเรา เมืองเป็นของที่ทุนนิยมมันวางไว้ให้เราและกดลงมาที่เรา เมืองเกิดจากระบบโลก ผมคิดว่ามัน
อุปสรรคทางความคิด ผมแนะนาว่าควรจะสลัดมันทิ้งให้มาก เพราะโลกมันเปลี่ยนไปมากเหลือเกิน ณ
เวลานี้โลกเรา เมืองมันมากกว่าชนบทแล้ว สมมติถ้าโลกเรามีอายุ 365 วัน ถึงชนบทจะมากกว่าเมืองมา
364 วัน แต่วันที่ 365 เมืองมันเริ่มใหญ่กว่าชนบทแล้ว เพราะฉะนั้น ข้อเท็จจริงก็เป็นเช่นนี้ รับรู้กันอย่าง
นี้กันทั้งโลก ความเป็นจริงมันกาลังเปลี่ยน
เมื่อสองสามปีที่แล้วมา คนทั่วโลกอยู่ในเมืองมากกว่าอยู่ในชนบทแล้ว แล้วก็ถัดออกมาอีกปีสอง
ปี สถิติของประเทศไทยก็บอกว่า คนที่อยู่ในเขตเทศบาล กรุงเทพ พัทยา มากกว่าคนที่อยู่ใน อบต. แต่
เราก็อย่าไปติดวิธีคิดที่ว่า อบต. ต้องเป็นชนบท คาว่า “อบต. ตาบล หมู่บ้าน” มันเป็นคาลวงตา ทาให้
เรารู้สึกว่าเขายังเป็นชนบท แต่ถ้าท่านทั้งหลายเป็นนักสังคมวิทยา จะเห็นว่าชนบทแท้ๆ ในเมืองไทย
แทบจะไม่เหลือแล้ว ที่เหลืออยู่นับว่าเป็นเมืองขนาดเล็กทั้งนั้น ผมอยากให้มอง อบต. เป็นเมืองขนาด
เล็ก เมืองขนาดกลาง เพราะว่าบางที่คนเป็นหมื่น ถ้าเรายังมองมันเป็นชนบท เราก็จะมีกรอบในการมอง
เป็นอีกแบบหนึ่ง และที่ผมบอกว่ามันไม่ใช่ชนบทก็เพราะถ้าบอกว่า การเป็นเมืองวัดดูที่เซเว่นอีเลฟเว่น
ไปที่ไหน ผมว่ามันเหลือชนบทน้อยเหลือเกิน หรือถ้านับว่าร้านค้ามีที่ไหนหนาแน่นก็ไม่เรียกว่าชนบท
แล้ว หายากมาก ที่ไหนที่ไม่มีคนจบปริญญาตรีเลย หายากมาก ที่ไหนที่ไม่มีไฟฟ้าไม่มีน้าสะอาด หา
ยากมาก ที่ไหนที่ไม่มีคนไปมาหาสู่กันยาก ถูกล็อกเอาไว้ อยู่กันเป็นพ็อกเก็ต (Pocket) ที่เรียกว่า
หมู่บ้าน ตาบล และติดต่อคนอื่นไม่ได้ หายากมาก
ชนบทของไทยก็ไม่ได้เป็นชนบท ถึงเหลืออยู่ก็ไม่ใช่ชนบทบ้านนอกเลย ถ้าไม่หมดก็เกือบหมด
มันจะเป็นบ้านนอกได้อย่างไร มันติดต่อกับโลกภายนอก อย่างขอนแก่น อุดรธานี คนที่อยู่ในชนบทหรือ
ตาบล มันอยู่แบบคนเมืองมากกว่า ติดต่อกับต่างประเทศ ติดต่อกับโลกได้คล่องแคล่ว ติดต่อกับ
กรุงเทพฯ ยิ่งคล่องแคล่วใหญ่ ชนบทที่เรียกว่าชนบทของไทย ถึงเหลืออยู่มันก็ต่อกับกรุงเทพฯ ทั้งนั้น
เพราะฉะนั้น ผมคิดว่ามันมีความจาเป็นเร่งด่วนที่เราจะต้องใช้โลกทัศน์ใหม่ โลกทัศน์ที่เห็นอะไรเป็น
เมืองให้มากขึ้น แต่ไม่ได้หมายความว่าให้เราดูถูกหรือทอดทิ้งชนบท แต่ทาอย่างไรจะให้ชนบทกลายเป็น
เมืองขนาดเล็กขนาดกลางได้ดียิ่งขึ้น ยั่งยืนยิ่งขึ้น มีอนาคตยิ่งขึ้น เหล่านี้เป็นหน้าที่ของเรา
4
ผมมาอีสานหลายครั้ง ผมว่าตอนนี้อีสานใหม่กาลังปรากฏขึ้นมา บางทีผมอยากจะใช้คาว่า
ปรากฏการณ์การเป็นเมืองเวลานี้เป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติการเป็นเมือง (Urban Revolution) ที่
ใช้คาว่า Revolution เพราะว่ามันเปลี่ยนวิถีชีวิตมาก ผมว่าอีสานเป็นบริเวณที่เมืองใหญ่มากเหลือเกิน
ยกเว้นกรุงเทพฯ กับปริมณฑลแล้ว ไม่มีบริเวณไหนในประเทศไทยที่มีเมืองใหญ่หมด เมืองใหญ่ของ
อีสาน นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ใหญ่ทั้งนั้น มหาสารคามก็
น่าสนใจมาก เพียงแค่สองอาเภอ คือ อาเภอเมืองกับอาเภอกันทรวิชัย มีประชากรนักศึกษาประมาณ 7-
8 หมื่นคน มันกลายเป็นเมืองมหาวิทยาลัยแล้ว แต่ในกรอบคิดของเรายังไม่มีกรอบคิดแบบนี้ เราก็ยัง
มองมหาสารคามเป็นสองเทศบาลสองอาเภอ แนวคิดของราชการก็คงยังต้องใช้แบบเดิม แต่ถ้าเราไปใช้
แต่ศัพท์แสงของวิชาการของทางการมันจะช้ากว่าความเป็นจริง อีกทั้งศักยภาพของเมืองในภาคอีสานสูง
มาก สาเหตุหนึ่งเป็นเพราะว่าประชากรภาคอีสานมีจานวนมาก แค่ประชากรอย่างเดียวก็ทาให้เมืองเล็ก
ไม่ได้แล้ว
เมืองในอีสาน ถึงแม้ว่าความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจหรือเทคโนโลยียังไม่สูงเท่าเมืองในภาค
ตะวันออก แต่ว่าลาพังแค่ประชากรกับภาคเกษตรก็ทาให้เมืองใหญ่มากแล้ว อีกทั้งในสมัยก่อน การ
เคลื่อนแรงงานจากชนบทในอีสานเข้าไปอยู่ในเมือง แล้วส่งเงินจากการทางานในเมืองกลับมายังภาค
อีสาน แล้วคนภาคอีสานก็เข้าไปใช้บริการในเมือง ทาให้เมืองในภาคอีสานใหญ่มากไปอีก
ผมมองภาคอีสานแบบนี้มาตลอดว่าเป็นภาคใหญ่ มีคนถึงหนึ่งในสามของประชากร ส่วนขนาด
พื้นที่นั้นยิ่งไม่ต้องพูดถึง ภาคอีสานจึงเป็นภาคที่สาคัญ สองวันมานี้ ผมมาแถวชายแดน ก็คิดว่าความ
เป็นเมืองของอีสานเวลานี้อยู่ในระดับแนวหน้าของประเทศอีกเช่นกัน อีสานมีเมืองขนาดใหญ่จานวนมาก
เหลือเกิน ไม่ว่าโคราช ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ใหญ่โตทั้งนั้น และกาลัง
เจริญเติบโตมาก แล้วในเวลานี้ เมือง ซึ่งก็มีตั้งแต่เมืองขนาดใหญ่ ลงมาจนถึง อบต. ซึ่งผมมองว่าเป็น
เมืองขนาดเล็ก ผมเลือกที่จะไม่มองเป็นชนบทแล้ว แต่มองว่า อบต. กาลังเปลี่ยนผ่านจากที่เป็นชนบท
มาเป็นชนบทที่ทันสมัย ทันโลก เป็นชนบทที่คนมีความสามารถ คนจาก อบต. ของอีสานนั้นไปทางาน
ทั่วโลก ทั่วประเทศไทย ไปทางานสาคัญๆ ลงไปจนถึงงานพื้นฐาน ประเทศไทยถ้าขาดคนจาก อบต.
ของอีสานนั้นจะยุ่งมาก พวกเราก็ช่วยกันทาให้ประเทศไทยขยับขึ้นมาเรื่อยๆ เวลานี้ตัว อบต. เองก็กาลัง
กลายเป็นเมืองขนาดเล็ก ผมก็อยากจะฝากถึงท่านที่ทางานอยู่ใน อบต. ของอีสาน ให้มองเห็น อบต. ว่า
เป็นเมืองขนาดเล็ก แล้วก็ต้องคิดว่าเมืองขนาดเล็กของเรานี้จะไปประสานกับเมืองขนาดกลาง ที่ตั้งของ
ศาลากลางจังหวัดของอีสานเกือบทุกจังหวัดเป็นเมือง อย่างน้อยที่สุด เมืองขนาดกลาง แล้วหลายเมืองที่
ผมเอ่ยชื่อมาข้างต้นเมื่อสักครู่นี้ คือ โคราช ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด มหาสารคาม เป็น
ต้น ผมคิดว่าเป็นเมืองขนาดใหญ่ ขบวนการเมืองขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่นั้นจะเป็นอีก
ขบวนการหนึ่งของอีสานใหม่
5
ความเป็นอีสานใหม่จะโยงกับอีกเรื่องหนึ่ง คือ อีสานกาลังจะมีคนชั้นกลางมากขึ้นเรื่อยๆ ดู
จากนักศึกษาของอีสานเวลานี้ มหาวิทยาลัยของไทยเวลานี้รับใช้นักศึกษาอีสานมากที่สุด นักศึกษา
อีสานอยู่ในระบบการศึกษาอุดมศึกษามากที่สุด คนเหล่านี้ก็เป็นเหมือนกับเตรียมคนชั้นกลาง เมื่อเขาจบ
การศึกษา ได้งานทา มีอาชีพที่มั่นคงพอสมควร เขาก็เป็นคนชั้นกลาง เพราะฉะนั้น กระแสอีสานใหม่
ในความเห็นผม ก็มีตั้งแต่เรื่องชนบทกาลังกลายเป็นเมืองขนาดเล็ก เมืองขนาดเล็กกาลัง
กลายเป็นเมืองขนาดกลาง เมืองขนาดกลางส่วนหนึ่งกาลังกลายเป็นเมืองขนาดใหญ่ และใน
เมืองนั้น ก็จะมีคนจากชนบทที่ไหลเข้ามาอยู่ และก็มีคนที่อยู่ในเมืองอยู่เดิมที่กาลังเติบโตเป็น
คนชั้นกลางที่มั่นคงยิ่งขึ้นๆ โดยเฉพาะเมื่อได้รับการศึกษา ซึ่งพี่น้องชาวอีสานก็สนใจการศึกษากัน
มากที่สุด พ่อแม่ทางานกันหามรุ่งหามค่า เหน็ดเหนื่อย ปู่ย่าตายายก็ช่วยกันเลี้ยงลูกเลี้ยงหลาน เพื่อ
ความอยู่ดีกินดีของครอบครัว แต่ถ้ามองจากสังคมไปก็คือกาลังสร้างคนชั้นกลางขึ้นมา คนชั้นกลางที่มี
ความรอบรู้ ความเข้าใจ และที่สาคัญที่สุดคือมีความรักบ้านรักเมือง รักอีสานของเรา รักจังหวัดของเรา
รักเมืองของเรา ทุ่มเทให้แก่บ้านเมืองของเรา
ในฐานะที่ผมเป็นเพื่อนมิตรของอีสานมานานก็อยากจะชี้ให้เห็นว่าอีสานนั้นมีอนาคตมาก
เนื่องจากมันใหญ่และมีความคล่องตัว ปรับตัวเข้ากับโอกาสต่างๆ ของเศรษฐกิจ ซึ่งก็เป็นอย่างนี้มา
ตั้งแต่ยุคไหนๆ แล้ว รวมทั้งยุคที่ฝรั่งเข้ามา อีสานก็ใช้โอกาสนี้ได้มากทีเดียว จนเข้ามาสู่ยุคที่บ้านเมืองมี
สงครามระหว่างฝ่ายรัฐบาลกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ อีสานก็ได้รับงบพัฒนา แล้วต่อมามีการเลือกตั้งอีสานก็
สามารถเลือกรัฐมนตรี เลือกพรรคการเมืองที่นาประโยชน์คืนสู่อีสานได้ไม่น้อย
มาจนถึงตอนนี้ มีอะไรที่เป็นโอกาสสาหรับคนอีสาน ผมคิดว่า เรื่องหนึ่งก็คือ เรื่องที่
อีสานกาลังเป็นเมือง เรื่องที่อีสานกาลังเป็นนคร อีสานกาลังเป็นมหานคร อันนี้ถ้าเรามองตัวเอง
บางทีเราก็มองไม่ออก แต่ให้ดูจากคนลาวที่เข้ามาดูเมืองไทย คนเวียดนามที่เข้ามาเห็นเมืองไทยที่ภาค
อีสาน เขาจะตื่นตะลึง คนเวียดนามอยู่อุดรธานีจานวนมาก เด็กเวียดนามมาเรียนที่อุดรแล้วก็ไม่กลับ
บ้านก็เยอะ คนเวียดนามขอมาดูงานที่ขอนแก่น อุดรธานี โคราช เป็นว่าเล่น เขาเห็นภาคอีสานเป็นตัว
แบบ ต้นแบบ แบบฉบับที่ต้องเอาอย่างของเขา การเป็นเมือง นคร มหานคร ก็เป็นโอกาสสาหรับอีสาน
ใหม่เรื่องแรกที่ผมเห็น
เรื่องที่สองก็คือ บูรพาภิวัตน์ บูรพาภิวัตน์เป็นศัพท์ที่ผมกับบางคน ใช้เรียกปรากฏการณ์ของ
โลกที่เวลานี้ โลกด้านตะวันออกเจริญทัดเทียมกับโลกตะวันตกขึ้นทุกที เดิมมันเป็นโลกยุคตะวันตก คือ
ฝรั่งเป็นใหญ่ ฝรั่งร่ารวย ฝรั่งเข้มแข็ง ฝรั่งไปทั่วโลก แต่ตอนนี้ฝรั่งช้าลง เฉื่อยลง เจริญน้อยลง แต่ว่า
เอเชียเรา ซีกตะวันออกของโลกเราเจริญเร็วขึ้นๆ เราจึงเรียกปรากฏการณ์นี้ว่าบูรพาภิวัตน์ บูรพา
6
แปลว่า ทิศตะวันออก พวกเราอาจจะคุ้นแต่คาว่าโลกาภิวัตน์ แต่ผมอยากจะฝากเอาไว้ว่า ตอนนี้โลกด้าน
ที่เป็นโลกาภิวัตน์ก็ยังสาคัญอยู่ แต่ด้านที่สาคัญมากกว่าคือด้านบูรพาภิวัตน์ คือปรากฏการณ์ที่น้าหนัก
ของโลกเหวี่ยงออกจากด้านตะวันตก มาสู่ด้านตะวันออกมากขึ้น และข่าวดีคือประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่ง
ของโลกตะวันออก ข่าวดียิ่งกว่านั้นคือจีนเป็นส่วนของโลกตะวันออกที่กาลังคึกคักที่สุด มีพลังที่สุด รวย
ที่สุด แล้วจีนก็สนใจภาคอีสาน กระแสบูรพาภิวัตน์นั้น ผมคิดว่าภาคอีสานจะได้รับก่อนใครๆ
โดยเฉพาะบูรพาภิวัตน์ที่มาทางบก เพราะว่ารถไฟความเร็วสูงและทางหลวงของจีนจะออกจากจีนตอน
ใต้ ผ่านลาว มาเข้าหนองคาย อุดร ขอนแก่น และผ่านไปยังจังหวัดต่างๆ ที่ผมไม่ได้เอ่ยชื่ออีกหลาย
จังหวัด แต่อย่างน้อยที่สุด จังหวัดของอีสานที่จะได้รับบูรพาภิวัตน์เต็มที่ก็คือหนองคาย อุดรธานี
และขอนแก่น
ผมคุยกับเอกอัครราชทูตจีนหลายคน หลายครั้ง พวกเขาก็พูดแต่เรื่องภาคอีสาน ซึ่งผมก็ยังงงที
แรก เพราะว่าถ้าดูแผนที่ก็จะเห็นว่าภาคเหนือของไทยนั้นเป็นบริเวณที่ใกล้กับจีนมากที่สุด ถ้าจีนจะเข้า
ไทยก็น่าจะเข้าที่ภาคเหนือ แต่ว่าวิธีคิดของจีนเป็นวิธีคิดของนักยุทธศาสตร์ระดับใหญ่ เพราะฉะนั้น เขา
ไม่ได้คิดว่ารถไฟของเขาจะออกจากจีนแล้วต้องมาเข้าไทยเลย แต่เขาคิดว่ามันจะต้องผ่านประเทศอื่น
ก่อน ซึ่งผ่านลาวก็ง่ายที่สุด ผ่านทั้งหลวงพระบางและเวียงจันทน์ จากนั้นก็จะมาเข้าไทย ดังนั้น ถ้ามา
ตามสายนี้ ตามยุทธศาสตร์ของจีนนั้น จะต้องเข้าไทยที่อีสานเป็นจุดแรก คือเข้าที่หนองคาย
เมืองใหญ่ที่ทางรถไฟของจีนจะต้องผ่านแน่นอนคืออุดรธานี และขอนแก่น ต้องผ่านแน่นอน
ความเจริญที่จีนจะนาโอกาสมาสู่เราจะมากมายมหาศาล
ถามว่าจีนรักอะไรอีสาน จีนชอบไก่ย่าง ไก่ปิ้ง แจ่วฮ้อน ของอีสานหรือ จีนเห็นว่าคนอีสานสวย
หล่อหรือ ผมคิดว่าไม่ใช่ จีนก็เหมือนอเมริกา เป็นระดับมหาอานาจ เขาดูแผนที่โลกเป็น พอดูแผนที่ปุ๊บ
เขาก็รู้ว่าภาคอีสานสาคัญ เช่นเดียวกัน สหรัฐอเมริกาเมื่อก่อนนั้น เขารักอะไรพวกเรานักหนาหรือจึงมา
สร้างฐานทัพทั่วอีสาน แล้วเหตุใดฐานทัพสหรัฐที่อุดรธานีจึงใหญ่มาก มีทหารสหรัฐกว่าสองหมื่นคน ก็
เพราะว่าภาคอีสานสาคัญ จากภาคอีสาน สหรัฐอเมริกาสามารถคุมลาว คุมเขมร คุมไปจนถึงเวียดนาม
คุมไปจนถึงจีนตอนใต้ ที่ตั้งของอีสานนั้นทาให้ไม่ว่าใครจะรักจะชอบอีสานหรือไม่อย่างไร อีสานก็
สาคัญเสมอ เพราะฉะนั้น สมัยสงครามเย็น ยุคที่รบกันในเวียดนาม อีสานจึงสาคัญที่สุดสาหรับอเมริกา
ฐานทัพของอเมริกาจึงมาอยู่ที่ภาคอีสานทั้งนั้น
หากวิเคราะห์ภูมิศาสตร์เพิ่ม ความจริงแล้วอีสานเป็นภาคของไทยที่ใกล้จีนที่สุด แต่เรา
มักจะไปเข้าใจแต่ว่าอีสานติดกับลาว แล้วอีสานอยู่ไม่ไกลจากเวียดนาม เราก็มักจะเห็นกันอยู่
แค่นั้น แต่ผมอยากบอกว่าถ้าดูแผนที่ให้ดี จะพบว่าอีสานเป็นภาคของไทยที่ใกล้จีนที่สุด
โดยเฉพาะในทางการบิน เพราะว่าเมืองสาคัญของจีนล้วนอยู่ริมทะเลทางตะวันออกของประเทศจีน
หมด เวลาบินจากเมืองด้านตะวันออกของจีน ไม่ว่าจะเป็นปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ นานกิง จะต้องบินผ่านอีสาน
7
ก่อน จึงจะถึงกรุงเทพฯ เครื่องบินจะไม่บินผ่านภาคเหนือ แต่จะต้องบินผ่านภาคอีสาน แล้วเวลาบินจาก
กรุงเทพฯ จะไปเมืองสาคัญของจีนทุกเมืองที่ผมกล่าวมาในเบื้องต้น พอเครื่องบินขึ้นสักครู่หนึ่ง มันจะ
ผ่านโคราช จากโคราชก็จะต้องผ่านอีสาน ต้องผ่านอุดรธานี หนองคาย บึงกาฬ แล้วจึงจะไปสู่เวียดนาม
ฮ่องกง ไทเป เซี่ยงไฮ้ ปักกิ่ง ฯลฯ
แปลว่าอีสานจะเป็นทั้งสะพานเชื่อมทางบกด้วยรถไฟความเร็วสูง ด้วยทางหลวงที่จะสร้างมา ที่
ผมกล่าวในตอนต้น และประการที่สองจะเป็นสะพานเชื่อมทางอากาศ เช่น จากฮ่องกง มาเก๊า หรือปักกิ่ง
ถ้าบินลงที่บึงกาฬหรืออุดรธานีก่อนจะร่นเวลาบินให้น้อยกว่ามาลงที่กรุงเทพฯ ประมาณหนึ่งชั่วโมง ขา
กลับไปจีนก็เช่นกัน ถ้ากลับจากอุดรธานี จะตัดเวลาบินให้สั้นลงกว่ากลับจากกรุงเทพฯ ชั่วโมงหนึ่ง
เพราะฉะนั้น ภาคอีสานเป็นภาคที่มีอนาคต แล้วเราก็ได้เห็นแล้วในเวลานี้ว่าไม่ใช่แค่เป็นอนาคต
แต่เป็นปัจจุบันด้วย ปรากฏการณ์ที่เมืองของภาคอีสานจะใหญ่ขึ้นๆ นั้นเป็นปรากฏการณ์ที่หลีกเลี่ยงได้
ยาก มันอาจจะมีอุปสรรคอะไรอยู่บ้าง แต่ตามทิศทางใหญ่ๆ อีสานจะใหญ่ขึ้นๆ โดยเฉพาะจากแรงของ
บูรพาภิวัตน์ เพราะฉะนั้น เราต้องสนใจภาษาจีน คนจีน ธรรมเนียมแบบจีน ลูกหลานต้องรู้ภาษาจีนให้
มากขึ้น จะไปอาศัยแต่ฝรั่งอย่างเดียวเหมือนในยุคสงครามเวียดนามไม่ได้แล้ว เพราะว่าฝรั่งแก่ เวลานี้
ฝรั่งเป็นสังคมคนแก่ แล้วฝรั่งก็มีปัญหามาก อเมริกาเวลานี้ก็ยังปฏิรูปไม่ได้ ยุโรปก็ปฏิรูปไม่ได้
เรื่องที่สาม หลั่นล้าอีโคโนมี ซึ่งหมายถึง เศรษฐกิจที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว การให้บริการเชิง
สร้างสรรค์ เป็นเศรษฐกิจที่ว่าด้วยน้าใจ ความห่วงใย ความสนุก การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ เชิง
ศิลปวัฒนธรรม ผมว่าเศรษฐกิจลักษณะนี้ เราควรจะต้องเรียนรู้จากภาคอื่นๆ ด้วย โดยเฉพาะอีสาน
จะต้องไปดูไปเรียนรู้จากภาคเหนือเป็นหลัก
ภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด ที่เราเรียกว่า “ล้านนา” มีเศรษฐกิจหลั่นล้าอีโคโนมีที่พอเลี้ยงตัวเอง
ได้ทุกจังหวัด จังหวัดที่มีเศรษฐกิจเชิงท่องเที่ยวติดอันดับโลกก็คือ จังหวัดเชียงใหม่ แต่มันก็กินมาจนถึง
ลาพูน เชียงรายด้วย สามจังหวัดนี้เป็นเมืองขนาดใหญ่ ขนาดกลางที่มีเศรษฐกิจหลักมาจากการ
ท่องเที่ยวมากขึ้นทุกที แต่ภาคเกษตรก็ยังสาคัญ ยังไม่หมด ภาคอุตสาหกรรมก็สาคัญ แต่ว่าภาคที่โดด
เด่นในล้านนาตอนบน คือ ภาคธุรกิจท่องเที่ยว เมื่อกล่าวถึงธุรกิจท่องเที่ยวหรือหลั่นล้าอีโคโนมี คนไทย
เรามักจะติดวิธีคิดว่ามันเป็นเหมือนของหวาน เครื่องเคียง ส่วนอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมเป็นอาหาร
จานหลักของเศรษฐกิจไทย แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่ ตอนนี้หลั่นล้าอีโคโนมีสูงถึงร้อยละ 20 ของรายได้
ประชาชาติ ในขณะที่เกษตรมีเพียงร้อยละ 8 อุตสาหกรรมร้อยละ 30 อีกทั้งการเติบโตของภาคเศรษฐกิจ
ท่องเที่ยว เศรษฐกิจบริการ เศรษฐกิจน้าใจมันโตเร็วกว่าภาคอุตสาหกรรม ถ้าเป็นอย่างนี้ต่อไปอีกสิบปี
ความสาคัญของภาคท่องเที่ยวกับภาคอุตสาหกรรมจะเท่ากัน ส่วนเกษตรจะลดลงไปอีก
เรื่องการทาท่องเที่ยวอีสาน ผมคิดว่าทาได้ ส่วนหนึ่งจิตใจของคนล้านนากับคนอีสาน ผมว่าไม่
ค่อยต่างกัน คือ มีสันถวไมตรี เป็นคนมีน้าใจ เอื้อเฟื้อ แต่เราไม่เคยทา คนอีสานที่ผ่านมาก็คือไปขาย
8
แรงงานในเมืองหลวงเมืองสาคัญ อาศัยความทรหด ความขยันขันแข็ง ความอดทน แต่จริงๆ แล้วเรา
อาจจะมีธาตุของความหลั่นล้าอยู่ในตัว เพราะผมดูจากเพลงฮิตของไทย หรือท่าราที่ฮิตของไทย หรือ
อาหารที่ฮิตของไทย ที่มันเป็นระดับประเทศ เป็นของอีสานหมด ราที่เป็นชั้นสูงของภาคเหนือไม่เป็นที่
ยึดกุมของมวลชนของประชาชน แต่เซิ้ง หมอลา เพลงลูกทุ่ง แจ่ว ส้มตา ไก่ย่าง มันกลายเป็นวัฒนธรรม
หนึ่งของคนไทยทั้งประเทศ เพราะฉะนั้น ผมคิดว่า เรามีศักยภาพอยู่ เพียงแต่ว่าต้องเปลี่ยนให้เป็นความ
เป็นจริงให้มากขึ้น ต้องทาให้เป็นการท่องเที่ยวที่มีรายได้สูงขึ้น คุณภาพสูงขึ้น
ส่วนภาคเกษตรจะมีอนาคตได้ ทางหนึ่งคือต้องปรับตัวให้เป็นการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เชิงการใช้
ชีวิตความเป็นอยู่ เรียกว่า “Experience Economy” นั่นคือ ต้องคิดว่าจะทาอย่างไรให้สวน ไร่ นาของ
เราดึงดูดคนให้เข้ามาพัก มาเที่ยว มาอยู่นานๆ มาเก็บผลไม้กิน มาลองปลูกข้าวเกี่ยวข้าวเหมือนใน
ญี่ปุ่น ฉะนั้น อีสานควรทาเศรษฐกิจหลั่นล้า และที่ผมเห็นมา หลายที่ทาได้ดี
หลักสูตรหรือสถาบันการศึกษา ต้องมองเห็นจุดหนักที่เป็นเรื่องราวที่เป็นจริงที่อยู่นอกตาราของ
เรา เพราะตาราของเรามันจะเต็มไปด้วยปัญหา ถ้าเราเอาตาราเป็นที่ตั้ง แทนที่จะเอาโอกาสเป็นที่ตั้ง เรา
มักเอาปัญหาเป็นที่ตั้งของการศึกษา อันที่จริงมันก็ศึกษาได้ แต่คิดว่าต้องเอาโอกาสเป็นจุดตั้งของ
การศึกษาให้มากขึ้นด้วย เพราะว่าเมื่อเราทาอะไรที่โอกาสมันมีแล้ว มันจะไปได้เร็ว มันจะสาเร็จ เราจะ
ไม่ท้อใจ เราจะฮึกเหิม ผลงานและความสาเร็จที่เรามีมันจะกลับมาช่วยแก้ปัญหาได้เกินครึ่งหนึ่ง แต่ถ้า
เราจับแต่เรื่องปัญหา มันไม่จบไม่สิ้น แล้วคนทาก็จะหดหู่ห่อเหี่ยวไปเรื่อยๆ นี่ไม่ใช่เรื่องวิชาการ แต่เป็น
เรื่องการมองชีวิต มองงานวิจัย มองยุทธศาสตร์ของชาติ มองการพัฒนาของประเทศ
9
ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ
ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ ศ.เดชา บุญค้า
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
10
- วารสารการพัฒนาเมือง Vol.1 ว่าด้วยเรื่องวัฒนธรรมของเมือง และนาเสนอการพัฒนาระบบและกลไกพัฒนา
เมืองของลาปาง
- วารสารการพัฒนาเมือง Vol.2 ว่าด้วยแนวคิดการพัฒนาเมือง Placemaking และนาเสนอเมืองสายบุรี เป็น
ตัวอย่างเมืองที่พัฒนาเมืองแบบ Placemaking
- วารสารการพัฒนาเมือง Vol.3 ว่าด้วยแนวคิด มุมมอง และตัวอย่างการขับเคลื่อนสู่การเป็นสมาร์ทซิตี้ทั้งใน
ไทยและต่างประเทศ
- วารสารการพัฒนาเมือง Vol.4 ว่าด้วยเรื่องการพัฒนาเมืองหางโจว ประเทศจีน ที่สามารถรักษาสิ่งแวดล้อม
ควบคู่ไปกับการยกระดับเทคโนโลยีและนวัตกรรมได้
- วารสารการพัฒนาเมือง Vol.5 ว่าด้วยแนวคิดเมืองสร้างสรรค์ที่ใช้วัฒนธรรมของเมืองเป็นหัวใจสาคัญในการ
สร้างเศรษฐกิจเมือง
- วารสารการพัฒนาเมือง Vol.6 ว่าด้วยเรื่องสุขภาวะคนเมือง และการใช้ชีวิตของคนในเมืองใหญ่
Vol.1 Vol.2 Vol.3
Vol.4 Vol.5 Vol.6

More Related Content

What's hot

บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐Theeraphisith Candasaro
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบนิติกร เตรียมสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบนิติกร เตรียมสอบท้องถิ่นแนวข้อสอบนิติกร เตรียมสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบนิติกร เตรียมสอบท้องถิ่นประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมsasithorn pachareon
 
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน เตรียมสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน เตรียมสอบท้องถิ่นแนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน เตรียมสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน เตรียมสอบท้องถิ่นประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบภาค ก.ท้องถิ่น ก.พ.และส่วนราชการอื่นๆ
แนวข้อสอบภาค ก.ท้องถิ่น ก.พ.และส่วนราชการอื่นๆแนวข้อสอบภาค ก.ท้องถิ่น ก.พ.และส่วนราชการอื่นๆ
แนวข้อสอบภาค ก.ท้องถิ่น ก.พ.และส่วนราชการอื่นๆประพันธ์ เวารัมย์
 
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการบันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการJurarat Chidsuan
 
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อแนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (20)

แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 2 ...
 
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
สรุป พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารพ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 2
 
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษาแนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
แนวข้อสอบนักวิชาการศึกษา
 
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง  75 ข้อแนวข้อสอบจริง  75 ข้อ
แนวข้อสอบจริง 75 ข้อ
 
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549  4...
แนวข้อสอบ พรบ. กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ พ.ศ. 2542 แก้ไข ถึง 2549 4...
 
แนวข้อสอบพัสดุ 61 ข้อ
แนวข้อสอบพัสดุ 61 ข้อแนวข้อสอบพัสดุ 61 ข้อ
แนวข้อสอบพัสดุ 61 ข้อ
 
แนวข้อสอบนิติกร เตรียมสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบนิติกร เตรียมสอบท้องถิ่นแนวข้อสอบนิติกร เตรียมสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบนิติกร เตรียมสอบท้องถิ่น
 
Social
SocialSocial
Social
 
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
แนวข้อสอบพรบ.เทศบาล 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
 
แนวข้อสอบจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบจัดเก็บรายได้
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน เตรียมสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน เตรียมสอบท้องถิ่นแนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน เตรียมสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน เตรียมสอบท้องถิ่น
 
แนวข้อสอบภาค ก.ท้องถิ่น ก.พ.และส่วนราชการอื่นๆ
แนวข้อสอบภาค ก.ท้องถิ่น ก.พ.และส่วนราชการอื่นๆแนวข้อสอบภาค ก.ท้องถิ่น ก.พ.และส่วนราชการอื่นๆ
แนวข้อสอบภาค ก.ท้องถิ่น ก.พ.และส่วนราชการอื่นๆ
 
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการบันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
 
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 okแนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมุลข่าวสาร 2540 ok
 
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อแนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 150 ข้อ
 

More from FURD_RSU

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กFURD_RSU
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD_RSU
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลFURD_RSU
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมFURD_RSU
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมFURD_RSU
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD_RSU
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD_RSU
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมFURD_RSU
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขFURD_RSU
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองFURD_RSU
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองFURD_RSU
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยFURD_RSU
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังFURD_RSU
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD_RSU
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีFURD_RSU
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD_RSU
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...FURD_RSU
 

More from FURD_RSU (20)

เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็กเมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
เมืองตะโหมด ต้นแบบการสร้างสุขภาวะเด็กเล็ก
 
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะFURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
FURD SUMMIT 2019 นวัตกรรมสร้างสรรค์เมืองสุขภาวะ
 
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูลเมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
เมืองบางคูรัด การสร้างสุขภาวะเมืองด้วยนวัตกรรมชุมชนเกื้อกูล
 
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคมเมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
เมืองหนองป่าครั่ง: การสร้างเมืองสุขภาวะด้วยแนวคิดการจัดสวัสดิการสังคม
 
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วมเมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
เมืองป่าตอง: การสร้างสุขภาวะเมืองท่องเที่ยวระดับโลก อย่างมีส่วนร่วม
 
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
นครเชียงราย: มหาวิทยาลัยวัยที่สาม : การพัฒนาผู้สูงอายุ สู่การพัฒนาเศรษฐกิจและ...
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 16
 
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
FURD Cities Monitor ฉบับที่ 15
 
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
เมืองหางโจว (杭州) ต้นแบบเมืองอัจฉริยะ และการพัฒนาสิ่งแวดล้อม
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุขInfo graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
Info graphic ยะลาโมเดล การจัดการเมืองเพื่อสันติสุข
 
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมืองinfo graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
info graphic เชียงใหม่โมเดล พลังพลเมือง
 
info graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมืองinfo graphic นิยามของมรดกเมือง
info graphic นิยามของมรดกเมือง
 
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทยInfo graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
Info graphic ความเป็นเมืองของประเทศไทย
 
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรังวิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
วิจัย สุมหัวกันในที่ที่สาม กระบวนการตามหาชุมชนทางวัฒนธรรมของคนรุ่นใหม่ในนครตรัง
 
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคมเมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
เมืองแม่มอก การสร้าง Care Giver ดูแลผู้สูงอายุโดยภาคประชาสังคม
 
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
FURD CITIES MONITOR VOL.14 (JANUARY 2019)
 
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรีโมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
โมเดลการดูแลสุขภาพในเขตเมือง เมืองรอบพื้นที่อุตสาหกรรม แหลมฉบัง จ.ชลบุรี
 
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
FURD CITIES MONITOR VOL.13 (DECEMBER 2018)
 
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
Trang hackathon รายงานผลกิจกรรมเชิงปฏิบัติการด้านนวัตกรรมทางสังคมเพื่อการพัฒน...
 

“อีสานใหม่” สู่ความเป็นเมือง และโอกาสในการพัฒนา (ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์)

  • 1.
  • 2.
  • 3. 1 ผมไม่ได้เรียนมาทางด้านเมือง ไม่ได้เป็นนัก Urban Studies และวิจัยเรื่องเมืองไม่ค่อย เหมือนกับที่ไหนเขาทากัน การศึกษาแบบไทยของเราส่วนใหญ่เป็นแบบนาเข้า อย่างตะวันตกเขาเปิด วิชา Urban Studies เราก็ส่งคนไปเรียนจนจบ ดร. เสร็จแล้วเราก็กลับมาตั้งสาขา Urban Studies แล้วก็ ผลิตนักศึกษาออกไปตามหลักสูตร ตามปรัชญาของตะวันตก วิธีการมองปัญหา มองโอกาส ก็มองแบบ ตะวันตก แต่สิ่งที่ผมจะกล่าวมันจะเป็นอีกแบบหนึ่ง เพราะว่าผมไม่ได้เรียน Urban Studies มา แต่ผมก็ คิด อ่าน วิจัย และไปดูอะไรเกี่ยวกับเมืองมานานพอสมควร อีกทั้งเขียนเกี่ยวกับเรื่องเมืองมาพอสมควร จึงมีอะไรที่จะมานาเสนอให้ถกคิดกันต่อไป สาหรับประเทศไทย เรามักจะมองเมืองเป็นของใหม่ ชนบทเป็นของเก่าดั้งเดิม เมืองเป็นของที่ ได้จากการพัฒนาสู่ความทันสมัยแบบตะวันตก คิดแบบนี้เมืองก็เป็นของใหม่ เป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้น แต่ ผมไม่อยากให้คิดแบบนี้ ผมคิดว่า เมืองมันเก่ามาก คาว่า “เมือง” ในภาษาไทยเป็นคาโบราณ ในภาษา ถิ่นไทยอื่นๆ เรียกว่า “เมิง” บ้าง “มอง” บ้าง ซึ่งมีความหมายใกล้เคียงกัน หมายถึง ที่ราบลุ่มแม่น้าที่มี การปกครอง เพราะฉะนั้น ทางภาคเหนือก็มีเมืองพะเยา เมืองลาปาง เมืองลาพูน ทางภาคกลางก็มีเมือง อยุธยา ในทีแรกความหมายมันเป็นความหมายของเมืองบนที่ราบลุ่มแม่น้าและอยู่ไม่ไกลจากภูเขา ภาษาไทยเดิมทีก็เป็นของคนเผ่าไทย ไต ลาว ซึ่งรวมทั้งคนภาคอีสาน คนภาคเหนือของเราด้วย เดิมคน เหล่านี้อาศัยอยู่ตอนใต้ของจีน ตอนเหนือของเวียดนาม อยู่กับภูเขา แต่ว่าเราไม่ใช่เผ่าภูเขา เราเป็นเผ่า ที่ราบ แต่เป็นที่ราบลุ่มแม่น้าที่อยู่ไม่ไกลจากภูเขา และเมืองของเราจะเป็นเมืองขนาดเล็กๆ เพราะมันจะ มีภูเขามากั้นเมืองเอาไว้ 1 ถอดความและเรียบเรียงจาก งานสัมมนาวิชาการ เรื่อง พลวัตเมืองภูมิภาคกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน จัดโดยหลักสูตรปรัชญาดุษฎี บัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ในวันที่ 13 มกราคม 2561 ณ และงานเสวนา สาธารณะ เรื่องท้องถิ่นนิยม เมืองนิยม จัดโดย กลุ่มภาคประชาสังคมอุดรธานี นาโดยกลุ่ม SE ESAN ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคาร 17 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ในวันที่ 14 มกราคม 2561
  • 4. 2 ตราบจนกระทั่งคนไทยลงมาถึงที่ราบภาคกลาง จึงจะพ้นไปจากสภาพเมืองในแบบที่ผมกล่าวไป ในตอนต้น มันจะเป็นเมืองที่ราบลุ่มที่แผ่ออกไปไกลมาก จากทางลงแถวภูพานแล้วย้ายมาอยู่แถบที่ราบ สูงภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เราเรียกกันว่า “ที่ราบสูง” เมืองก็เริ่มจะไม่ใกล้กับภูเขาแล้ว แต่ยังคงติดกับ ลุ่มแม่น้าอยู่ ดังนั้น คาว่า “เมิง มอง เมือง” เป็นของเก่ามาก เมืองไทยเราก็เรียกว่า “เมืองไทย” ไม่ได้ เรียกว่า “ไทยแลนด์” เพราะฉะนั้น คาว่า “เมือง” ในความหมายโบราณมันจึงหมายถึงทั้งบริเวณที่อยู่ ในกาแพงเมืองกับบริเวณที่อยู่รอบๆ กาแพงเมืองที่เมืองแผ่ไปถึง เพราะฉะนั้น เมืองของไทยแต่ดั้งเดิม มันมีความหมายหมายถึงทั้งเมืองแบบปัจจุบันและเมืองแบบชนบทที่อยู่รอบๆ ต่อมาเมื่อสังคมศาสตร์แบบอเมริกันเข้ามา มันเกิดคาว่า “ชนบท” ขึ้นมา และคาว่า “ชนบท” ถูกพิจารณาโดยแยกจากเมืองทั้งในทางวิชาการและในทางการพัฒนา ทาให้เรามองสองสิ่งนี้แยกออก จากกัน จากนั้นเราก็นิยมพูดถึงประเด็นการพัฒนาชนบทและประเด็นความเหลื่อมล้าของเมืองกับชนบท ซึ่ง “เมือง” ยังมีฐานะที่เหนือกว่า เมืองเอาเปรียบชนบท เมืองดูดซับอะไรของชนบทเข้ามา ประเด็น เหล่านี้มันเป็นกรอบในการคิดแบบตะวันตก โดยเฉพาะแบบอเมริกัน ซึ่งเมืองกับชนบทมันแยกออกจาก กันชัด ส่วนหนึ่งเป็นเพราะอเมริกาเขามีพื้นที่ใหญ่ไพศาลมาก ส่วนใหญ่ภาคชนบทของอเมริกาเป็นไร่ ข้าวโพด เป็นป่า เป็นเขา เป็นทะเล แต่เมืองอเมริกาไม่ใช่ไม่เจริญ เมืองก็เจริญ เพียงแต่เขาแยกเมืองกับ ชนบทออกจากกันชัด ในทางกลับกัน “เมือง” ในความหมายแบบไทยดั้งเดิม มันไม่แยกชนบทกับเมือง สาหรับประเทศไทย สิ่งที่ตรงข้ามกับ “เมือง” คือ “ป่า” ไม่ใช่ “ชนบท” ชนบทเป็นส่วนหนึ่งของเมือง สองสิ่งนี้สัมพันธ์กันผ่านระบบศักดินา ในเมืองก็เป็นที่อยู่ของเจ้า พระ ขุนนาง และชาวบ้าน ส่วนชนบท จะเป็นที่อยู่ของไพร่ ทาส แล้วก็เชื่อมโยงกับเมืองโดยผ่านระบบศักดินา ถ้ามองแบบไทย ความสัมพันธ์ก็ เป็นทั้งแบบบังคับบัญชา แต่ก็มีแบบเกื้อกูลและก็มีแบบสนับสนุนกัน ผมมีความรู้สึกอยู่ว่า คนไทยมักคิดว่าความเป็นไทยแท้คือความเป็นชนบท เราไม่ค่อยวางใจกับ เมือง ไม่ค่อยสนิทใจกับเมือง รู้สึกว่าเมืองเป็นของต่างประเทศ ไม่ใช่ของไทย เป็นของต่างประเทศที่ไทย เอาเข้ามาทา พวกเราโดยเฉพาะคนในยุคผมมักมองเมืองแบบไม่ค่อยวางใจ เมืองคือที่อยู่ของชนชั้น ปกครอง ทุนนิยม ชนชั้นกลางสมัยใหม่ ซึ่งบางทีก็ดูถูกเหยียดหยามคนในชนบท ในอีกทางหนึ่ง เราก็ กลัวว่าชนบทจะล่มสลาย กลัวว่าชนบทจะหมดบทบาทและเหลือคนน้อยลงไปทุกที แล้วเราก็คิดแบบนี้ นานทีเดียวว่า คาตอบอยู่ที่ “ชนบทและหมู่บ้าน” แต่ในความเป็นจริง เมืองมันโตขึ้นทุกวัน แต่น้อยคน ที่จะนาเสนอเรื่องเมือง เรื่องชนชั้นกลาง เรื่องการกลายเป็นเมือง อีกทั้งการศึกษาเรื่องเมืองมักจะมีแต่ งานศึกษาเกี่ยวกับข้อบกพร่อง ปัญหาคนจน ปัญหาสามล้อ ปัญหาโสเภณี ปัญหาสลัม นักวิชาการเรื่อง
  • 5. 3 เมืองจึงศึกษาเรื่องเมืองจากปัญหากันเป็นจานวนมาก ซึ่งก็สอดรับกับอารมณ์ความรู้สึกของคนไทย ในช่วงที่ผมเป็นหนุ่มจนถึงวัยกลางคนตอนต้น ที่คนมักมีความรู้สึกว่าเมืองเต็มไปด้วยปัญหา แต่เมื่อกาลเวลาผ่านไป เวลานี้ประเทศไทย เมืองใหญ่กว่าชนบทแล้ว จะชอบหรือไม่ชอบก็ตาม เมืองมันโตวันโตคืน เพราะฉะนั้น โลกทัศน์และมุมมองของเราที่ยังมองว่า เมืองเป็นปัญหา เมืองไม่ใช่ ของเรา เมืองเป็นของที่ทุนนิยมมันวางไว้ให้เราและกดลงมาที่เรา เมืองเกิดจากระบบโลก ผมคิดว่ามัน อุปสรรคทางความคิด ผมแนะนาว่าควรจะสลัดมันทิ้งให้มาก เพราะโลกมันเปลี่ยนไปมากเหลือเกิน ณ เวลานี้โลกเรา เมืองมันมากกว่าชนบทแล้ว สมมติถ้าโลกเรามีอายุ 365 วัน ถึงชนบทจะมากกว่าเมืองมา 364 วัน แต่วันที่ 365 เมืองมันเริ่มใหญ่กว่าชนบทแล้ว เพราะฉะนั้น ข้อเท็จจริงก็เป็นเช่นนี้ รับรู้กันอย่าง นี้กันทั้งโลก ความเป็นจริงมันกาลังเปลี่ยน เมื่อสองสามปีที่แล้วมา คนทั่วโลกอยู่ในเมืองมากกว่าอยู่ในชนบทแล้ว แล้วก็ถัดออกมาอีกปีสอง ปี สถิติของประเทศไทยก็บอกว่า คนที่อยู่ในเขตเทศบาล กรุงเทพ พัทยา มากกว่าคนที่อยู่ใน อบต. แต่ เราก็อย่าไปติดวิธีคิดที่ว่า อบต. ต้องเป็นชนบท คาว่า “อบต. ตาบล หมู่บ้าน” มันเป็นคาลวงตา ทาให้ เรารู้สึกว่าเขายังเป็นชนบท แต่ถ้าท่านทั้งหลายเป็นนักสังคมวิทยา จะเห็นว่าชนบทแท้ๆ ในเมืองไทย แทบจะไม่เหลือแล้ว ที่เหลืออยู่นับว่าเป็นเมืองขนาดเล็กทั้งนั้น ผมอยากให้มอง อบต. เป็นเมืองขนาด เล็ก เมืองขนาดกลาง เพราะว่าบางที่คนเป็นหมื่น ถ้าเรายังมองมันเป็นชนบท เราก็จะมีกรอบในการมอง เป็นอีกแบบหนึ่ง และที่ผมบอกว่ามันไม่ใช่ชนบทก็เพราะถ้าบอกว่า การเป็นเมืองวัดดูที่เซเว่นอีเลฟเว่น ไปที่ไหน ผมว่ามันเหลือชนบทน้อยเหลือเกิน หรือถ้านับว่าร้านค้ามีที่ไหนหนาแน่นก็ไม่เรียกว่าชนบท แล้ว หายากมาก ที่ไหนที่ไม่มีคนจบปริญญาตรีเลย หายากมาก ที่ไหนที่ไม่มีไฟฟ้าไม่มีน้าสะอาด หา ยากมาก ที่ไหนที่ไม่มีคนไปมาหาสู่กันยาก ถูกล็อกเอาไว้ อยู่กันเป็นพ็อกเก็ต (Pocket) ที่เรียกว่า หมู่บ้าน ตาบล และติดต่อคนอื่นไม่ได้ หายากมาก ชนบทของไทยก็ไม่ได้เป็นชนบท ถึงเหลืออยู่ก็ไม่ใช่ชนบทบ้านนอกเลย ถ้าไม่หมดก็เกือบหมด มันจะเป็นบ้านนอกได้อย่างไร มันติดต่อกับโลกภายนอก อย่างขอนแก่น อุดรธานี คนที่อยู่ในชนบทหรือ ตาบล มันอยู่แบบคนเมืองมากกว่า ติดต่อกับต่างประเทศ ติดต่อกับโลกได้คล่องแคล่ว ติดต่อกับ กรุงเทพฯ ยิ่งคล่องแคล่วใหญ่ ชนบทที่เรียกว่าชนบทของไทย ถึงเหลืออยู่มันก็ต่อกับกรุงเทพฯ ทั้งนั้น เพราะฉะนั้น ผมคิดว่ามันมีความจาเป็นเร่งด่วนที่เราจะต้องใช้โลกทัศน์ใหม่ โลกทัศน์ที่เห็นอะไรเป็น เมืองให้มากขึ้น แต่ไม่ได้หมายความว่าให้เราดูถูกหรือทอดทิ้งชนบท แต่ทาอย่างไรจะให้ชนบทกลายเป็น เมืองขนาดเล็กขนาดกลางได้ดียิ่งขึ้น ยั่งยืนยิ่งขึ้น มีอนาคตยิ่งขึ้น เหล่านี้เป็นหน้าที่ของเรา
  • 6. 4 ผมมาอีสานหลายครั้ง ผมว่าตอนนี้อีสานใหม่กาลังปรากฏขึ้นมา บางทีผมอยากจะใช้คาว่า ปรากฏการณ์การเป็นเมืองเวลานี้เป็นจุดเริ่มต้นของการปฏิวัติการเป็นเมือง (Urban Revolution) ที่ ใช้คาว่า Revolution เพราะว่ามันเปลี่ยนวิถีชีวิตมาก ผมว่าอีสานเป็นบริเวณที่เมืองใหญ่มากเหลือเกิน ยกเว้นกรุงเทพฯ กับปริมณฑลแล้ว ไม่มีบริเวณไหนในประเทศไทยที่มีเมืองใหญ่หมด เมืองใหญ่ของ อีสาน นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ใหญ่ทั้งนั้น มหาสารคามก็ น่าสนใจมาก เพียงแค่สองอาเภอ คือ อาเภอเมืองกับอาเภอกันทรวิชัย มีประชากรนักศึกษาประมาณ 7- 8 หมื่นคน มันกลายเป็นเมืองมหาวิทยาลัยแล้ว แต่ในกรอบคิดของเรายังไม่มีกรอบคิดแบบนี้ เราก็ยัง มองมหาสารคามเป็นสองเทศบาลสองอาเภอ แนวคิดของราชการก็คงยังต้องใช้แบบเดิม แต่ถ้าเราไปใช้ แต่ศัพท์แสงของวิชาการของทางการมันจะช้ากว่าความเป็นจริง อีกทั้งศักยภาพของเมืองในภาคอีสานสูง มาก สาเหตุหนึ่งเป็นเพราะว่าประชากรภาคอีสานมีจานวนมาก แค่ประชากรอย่างเดียวก็ทาให้เมืองเล็ก ไม่ได้แล้ว เมืองในอีสาน ถึงแม้ว่าความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจหรือเทคโนโลยียังไม่สูงเท่าเมืองในภาค ตะวันออก แต่ว่าลาพังแค่ประชากรกับภาคเกษตรก็ทาให้เมืองใหญ่มากแล้ว อีกทั้งในสมัยก่อน การ เคลื่อนแรงงานจากชนบทในอีสานเข้าไปอยู่ในเมือง แล้วส่งเงินจากการทางานในเมืองกลับมายังภาค อีสาน แล้วคนภาคอีสานก็เข้าไปใช้บริการในเมือง ทาให้เมืองในภาคอีสานใหญ่มากไปอีก ผมมองภาคอีสานแบบนี้มาตลอดว่าเป็นภาคใหญ่ มีคนถึงหนึ่งในสามของประชากร ส่วนขนาด พื้นที่นั้นยิ่งไม่ต้องพูดถึง ภาคอีสานจึงเป็นภาคที่สาคัญ สองวันมานี้ ผมมาแถวชายแดน ก็คิดว่าความ เป็นเมืองของอีสานเวลานี้อยู่ในระดับแนวหน้าของประเทศอีกเช่นกัน อีสานมีเมืองขนาดใหญ่จานวนมาก เหลือเกิน ไม่ว่าโคราช ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด มหาสารคาม ใหญ่โตทั้งนั้น และกาลัง เจริญเติบโตมาก แล้วในเวลานี้ เมือง ซึ่งก็มีตั้งแต่เมืองขนาดใหญ่ ลงมาจนถึง อบต. ซึ่งผมมองว่าเป็น เมืองขนาดเล็ก ผมเลือกที่จะไม่มองเป็นชนบทแล้ว แต่มองว่า อบต. กาลังเปลี่ยนผ่านจากที่เป็นชนบท มาเป็นชนบทที่ทันสมัย ทันโลก เป็นชนบทที่คนมีความสามารถ คนจาก อบต. ของอีสานนั้นไปทางาน ทั่วโลก ทั่วประเทศไทย ไปทางานสาคัญๆ ลงไปจนถึงงานพื้นฐาน ประเทศไทยถ้าขาดคนจาก อบต. ของอีสานนั้นจะยุ่งมาก พวกเราก็ช่วยกันทาให้ประเทศไทยขยับขึ้นมาเรื่อยๆ เวลานี้ตัว อบต. เองก็กาลัง กลายเป็นเมืองขนาดเล็ก ผมก็อยากจะฝากถึงท่านที่ทางานอยู่ใน อบต. ของอีสาน ให้มองเห็น อบต. ว่า เป็นเมืองขนาดเล็ก แล้วก็ต้องคิดว่าเมืองขนาดเล็กของเรานี้จะไปประสานกับเมืองขนาดกลาง ที่ตั้งของ ศาลากลางจังหวัดของอีสานเกือบทุกจังหวัดเป็นเมือง อย่างน้อยที่สุด เมืองขนาดกลาง แล้วหลายเมืองที่ ผมเอ่ยชื่อมาข้างต้นเมื่อสักครู่นี้ คือ โคราช ขอนแก่น อุดรธานี อุบลราชธานี ร้อยเอ็ด มหาสารคาม เป็น ต้น ผมคิดว่าเป็นเมืองขนาดใหญ่ ขบวนการเมืองขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่นั้นจะเป็นอีก ขบวนการหนึ่งของอีสานใหม่
  • 7. 5 ความเป็นอีสานใหม่จะโยงกับอีกเรื่องหนึ่ง คือ อีสานกาลังจะมีคนชั้นกลางมากขึ้นเรื่อยๆ ดู จากนักศึกษาของอีสานเวลานี้ มหาวิทยาลัยของไทยเวลานี้รับใช้นักศึกษาอีสานมากที่สุด นักศึกษา อีสานอยู่ในระบบการศึกษาอุดมศึกษามากที่สุด คนเหล่านี้ก็เป็นเหมือนกับเตรียมคนชั้นกลาง เมื่อเขาจบ การศึกษา ได้งานทา มีอาชีพที่มั่นคงพอสมควร เขาก็เป็นคนชั้นกลาง เพราะฉะนั้น กระแสอีสานใหม่ ในความเห็นผม ก็มีตั้งแต่เรื่องชนบทกาลังกลายเป็นเมืองขนาดเล็ก เมืองขนาดเล็กกาลัง กลายเป็นเมืองขนาดกลาง เมืองขนาดกลางส่วนหนึ่งกาลังกลายเป็นเมืองขนาดใหญ่ และใน เมืองนั้น ก็จะมีคนจากชนบทที่ไหลเข้ามาอยู่ และก็มีคนที่อยู่ในเมืองอยู่เดิมที่กาลังเติบโตเป็น คนชั้นกลางที่มั่นคงยิ่งขึ้นๆ โดยเฉพาะเมื่อได้รับการศึกษา ซึ่งพี่น้องชาวอีสานก็สนใจการศึกษากัน มากที่สุด พ่อแม่ทางานกันหามรุ่งหามค่า เหน็ดเหนื่อย ปู่ย่าตายายก็ช่วยกันเลี้ยงลูกเลี้ยงหลาน เพื่อ ความอยู่ดีกินดีของครอบครัว แต่ถ้ามองจากสังคมไปก็คือกาลังสร้างคนชั้นกลางขึ้นมา คนชั้นกลางที่มี ความรอบรู้ ความเข้าใจ และที่สาคัญที่สุดคือมีความรักบ้านรักเมือง รักอีสานของเรา รักจังหวัดของเรา รักเมืองของเรา ทุ่มเทให้แก่บ้านเมืองของเรา ในฐานะที่ผมเป็นเพื่อนมิตรของอีสานมานานก็อยากจะชี้ให้เห็นว่าอีสานนั้นมีอนาคตมาก เนื่องจากมันใหญ่และมีความคล่องตัว ปรับตัวเข้ากับโอกาสต่างๆ ของเศรษฐกิจ ซึ่งก็เป็นอย่างนี้มา ตั้งแต่ยุคไหนๆ แล้ว รวมทั้งยุคที่ฝรั่งเข้ามา อีสานก็ใช้โอกาสนี้ได้มากทีเดียว จนเข้ามาสู่ยุคที่บ้านเมืองมี สงครามระหว่างฝ่ายรัฐบาลกับฝ่ายคอมมิวนิสต์ อีสานก็ได้รับงบพัฒนา แล้วต่อมามีการเลือกตั้งอีสานก็ สามารถเลือกรัฐมนตรี เลือกพรรคการเมืองที่นาประโยชน์คืนสู่อีสานได้ไม่น้อย มาจนถึงตอนนี้ มีอะไรที่เป็นโอกาสสาหรับคนอีสาน ผมคิดว่า เรื่องหนึ่งก็คือ เรื่องที่ อีสานกาลังเป็นเมือง เรื่องที่อีสานกาลังเป็นนคร อีสานกาลังเป็นมหานคร อันนี้ถ้าเรามองตัวเอง บางทีเราก็มองไม่ออก แต่ให้ดูจากคนลาวที่เข้ามาดูเมืองไทย คนเวียดนามที่เข้ามาเห็นเมืองไทยที่ภาค อีสาน เขาจะตื่นตะลึง คนเวียดนามอยู่อุดรธานีจานวนมาก เด็กเวียดนามมาเรียนที่อุดรแล้วก็ไม่กลับ บ้านก็เยอะ คนเวียดนามขอมาดูงานที่ขอนแก่น อุดรธานี โคราช เป็นว่าเล่น เขาเห็นภาคอีสานเป็นตัว แบบ ต้นแบบ แบบฉบับที่ต้องเอาอย่างของเขา การเป็นเมือง นคร มหานคร ก็เป็นโอกาสสาหรับอีสาน ใหม่เรื่องแรกที่ผมเห็น เรื่องที่สองก็คือ บูรพาภิวัตน์ บูรพาภิวัตน์เป็นศัพท์ที่ผมกับบางคน ใช้เรียกปรากฏการณ์ของ โลกที่เวลานี้ โลกด้านตะวันออกเจริญทัดเทียมกับโลกตะวันตกขึ้นทุกที เดิมมันเป็นโลกยุคตะวันตก คือ ฝรั่งเป็นใหญ่ ฝรั่งร่ารวย ฝรั่งเข้มแข็ง ฝรั่งไปทั่วโลก แต่ตอนนี้ฝรั่งช้าลง เฉื่อยลง เจริญน้อยลง แต่ว่า เอเชียเรา ซีกตะวันออกของโลกเราเจริญเร็วขึ้นๆ เราจึงเรียกปรากฏการณ์นี้ว่าบูรพาภิวัตน์ บูรพา
  • 8. 6 แปลว่า ทิศตะวันออก พวกเราอาจจะคุ้นแต่คาว่าโลกาภิวัตน์ แต่ผมอยากจะฝากเอาไว้ว่า ตอนนี้โลกด้าน ที่เป็นโลกาภิวัตน์ก็ยังสาคัญอยู่ แต่ด้านที่สาคัญมากกว่าคือด้านบูรพาภิวัตน์ คือปรากฏการณ์ที่น้าหนัก ของโลกเหวี่ยงออกจากด้านตะวันตก มาสู่ด้านตะวันออกมากขึ้น และข่าวดีคือประเทศไทยเป็นส่วนหนึ่ง ของโลกตะวันออก ข่าวดียิ่งกว่านั้นคือจีนเป็นส่วนของโลกตะวันออกที่กาลังคึกคักที่สุด มีพลังที่สุด รวย ที่สุด แล้วจีนก็สนใจภาคอีสาน กระแสบูรพาภิวัตน์นั้น ผมคิดว่าภาคอีสานจะได้รับก่อนใครๆ โดยเฉพาะบูรพาภิวัตน์ที่มาทางบก เพราะว่ารถไฟความเร็วสูงและทางหลวงของจีนจะออกจากจีนตอน ใต้ ผ่านลาว มาเข้าหนองคาย อุดร ขอนแก่น และผ่านไปยังจังหวัดต่างๆ ที่ผมไม่ได้เอ่ยชื่ออีกหลาย จังหวัด แต่อย่างน้อยที่สุด จังหวัดของอีสานที่จะได้รับบูรพาภิวัตน์เต็มที่ก็คือหนองคาย อุดรธานี และขอนแก่น ผมคุยกับเอกอัครราชทูตจีนหลายคน หลายครั้ง พวกเขาก็พูดแต่เรื่องภาคอีสาน ซึ่งผมก็ยังงงที แรก เพราะว่าถ้าดูแผนที่ก็จะเห็นว่าภาคเหนือของไทยนั้นเป็นบริเวณที่ใกล้กับจีนมากที่สุด ถ้าจีนจะเข้า ไทยก็น่าจะเข้าที่ภาคเหนือ แต่ว่าวิธีคิดของจีนเป็นวิธีคิดของนักยุทธศาสตร์ระดับใหญ่ เพราะฉะนั้น เขา ไม่ได้คิดว่ารถไฟของเขาจะออกจากจีนแล้วต้องมาเข้าไทยเลย แต่เขาคิดว่ามันจะต้องผ่านประเทศอื่น ก่อน ซึ่งผ่านลาวก็ง่ายที่สุด ผ่านทั้งหลวงพระบางและเวียงจันทน์ จากนั้นก็จะมาเข้าไทย ดังนั้น ถ้ามา ตามสายนี้ ตามยุทธศาสตร์ของจีนนั้น จะต้องเข้าไทยที่อีสานเป็นจุดแรก คือเข้าที่หนองคาย เมืองใหญ่ที่ทางรถไฟของจีนจะต้องผ่านแน่นอนคืออุดรธานี และขอนแก่น ต้องผ่านแน่นอน ความเจริญที่จีนจะนาโอกาสมาสู่เราจะมากมายมหาศาล ถามว่าจีนรักอะไรอีสาน จีนชอบไก่ย่าง ไก่ปิ้ง แจ่วฮ้อน ของอีสานหรือ จีนเห็นว่าคนอีสานสวย หล่อหรือ ผมคิดว่าไม่ใช่ จีนก็เหมือนอเมริกา เป็นระดับมหาอานาจ เขาดูแผนที่โลกเป็น พอดูแผนที่ปุ๊บ เขาก็รู้ว่าภาคอีสานสาคัญ เช่นเดียวกัน สหรัฐอเมริกาเมื่อก่อนนั้น เขารักอะไรพวกเรานักหนาหรือจึงมา สร้างฐานทัพทั่วอีสาน แล้วเหตุใดฐานทัพสหรัฐที่อุดรธานีจึงใหญ่มาก มีทหารสหรัฐกว่าสองหมื่นคน ก็ เพราะว่าภาคอีสานสาคัญ จากภาคอีสาน สหรัฐอเมริกาสามารถคุมลาว คุมเขมร คุมไปจนถึงเวียดนาม คุมไปจนถึงจีนตอนใต้ ที่ตั้งของอีสานนั้นทาให้ไม่ว่าใครจะรักจะชอบอีสานหรือไม่อย่างไร อีสานก็ สาคัญเสมอ เพราะฉะนั้น สมัยสงครามเย็น ยุคที่รบกันในเวียดนาม อีสานจึงสาคัญที่สุดสาหรับอเมริกา ฐานทัพของอเมริกาจึงมาอยู่ที่ภาคอีสานทั้งนั้น หากวิเคราะห์ภูมิศาสตร์เพิ่ม ความจริงแล้วอีสานเป็นภาคของไทยที่ใกล้จีนที่สุด แต่เรา มักจะไปเข้าใจแต่ว่าอีสานติดกับลาว แล้วอีสานอยู่ไม่ไกลจากเวียดนาม เราก็มักจะเห็นกันอยู่ แค่นั้น แต่ผมอยากบอกว่าถ้าดูแผนที่ให้ดี จะพบว่าอีสานเป็นภาคของไทยที่ใกล้จีนที่สุด โดยเฉพาะในทางการบิน เพราะว่าเมืองสาคัญของจีนล้วนอยู่ริมทะเลทางตะวันออกของประเทศจีน หมด เวลาบินจากเมืองด้านตะวันออกของจีน ไม่ว่าจะเป็นปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ นานกิง จะต้องบินผ่านอีสาน
  • 9. 7 ก่อน จึงจะถึงกรุงเทพฯ เครื่องบินจะไม่บินผ่านภาคเหนือ แต่จะต้องบินผ่านภาคอีสาน แล้วเวลาบินจาก กรุงเทพฯ จะไปเมืองสาคัญของจีนทุกเมืองที่ผมกล่าวมาในเบื้องต้น พอเครื่องบินขึ้นสักครู่หนึ่ง มันจะ ผ่านโคราช จากโคราชก็จะต้องผ่านอีสาน ต้องผ่านอุดรธานี หนองคาย บึงกาฬ แล้วจึงจะไปสู่เวียดนาม ฮ่องกง ไทเป เซี่ยงไฮ้ ปักกิ่ง ฯลฯ แปลว่าอีสานจะเป็นทั้งสะพานเชื่อมทางบกด้วยรถไฟความเร็วสูง ด้วยทางหลวงที่จะสร้างมา ที่ ผมกล่าวในตอนต้น และประการที่สองจะเป็นสะพานเชื่อมทางอากาศ เช่น จากฮ่องกง มาเก๊า หรือปักกิ่ง ถ้าบินลงที่บึงกาฬหรืออุดรธานีก่อนจะร่นเวลาบินให้น้อยกว่ามาลงที่กรุงเทพฯ ประมาณหนึ่งชั่วโมง ขา กลับไปจีนก็เช่นกัน ถ้ากลับจากอุดรธานี จะตัดเวลาบินให้สั้นลงกว่ากลับจากกรุงเทพฯ ชั่วโมงหนึ่ง เพราะฉะนั้น ภาคอีสานเป็นภาคที่มีอนาคต แล้วเราก็ได้เห็นแล้วในเวลานี้ว่าไม่ใช่แค่เป็นอนาคต แต่เป็นปัจจุบันด้วย ปรากฏการณ์ที่เมืองของภาคอีสานจะใหญ่ขึ้นๆ นั้นเป็นปรากฏการณ์ที่หลีกเลี่ยงได้ ยาก มันอาจจะมีอุปสรรคอะไรอยู่บ้าง แต่ตามทิศทางใหญ่ๆ อีสานจะใหญ่ขึ้นๆ โดยเฉพาะจากแรงของ บูรพาภิวัตน์ เพราะฉะนั้น เราต้องสนใจภาษาจีน คนจีน ธรรมเนียมแบบจีน ลูกหลานต้องรู้ภาษาจีนให้ มากขึ้น จะไปอาศัยแต่ฝรั่งอย่างเดียวเหมือนในยุคสงครามเวียดนามไม่ได้แล้ว เพราะว่าฝรั่งแก่ เวลานี้ ฝรั่งเป็นสังคมคนแก่ แล้วฝรั่งก็มีปัญหามาก อเมริกาเวลานี้ก็ยังปฏิรูปไม่ได้ ยุโรปก็ปฏิรูปไม่ได้ เรื่องที่สาม หลั่นล้าอีโคโนมี ซึ่งหมายถึง เศรษฐกิจที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว การให้บริการเชิง สร้างสรรค์ เป็นเศรษฐกิจที่ว่าด้วยน้าใจ ความห่วงใย ความสนุก การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ เชิง ศิลปวัฒนธรรม ผมว่าเศรษฐกิจลักษณะนี้ เราควรจะต้องเรียนรู้จากภาคอื่นๆ ด้วย โดยเฉพาะอีสาน จะต้องไปดูไปเรียนรู้จากภาคเหนือเป็นหลัก ภาคเหนือตอนบน 8 จังหวัด ที่เราเรียกว่า “ล้านนา” มีเศรษฐกิจหลั่นล้าอีโคโนมีที่พอเลี้ยงตัวเอง ได้ทุกจังหวัด จังหวัดที่มีเศรษฐกิจเชิงท่องเที่ยวติดอันดับโลกก็คือ จังหวัดเชียงใหม่ แต่มันก็กินมาจนถึง ลาพูน เชียงรายด้วย สามจังหวัดนี้เป็นเมืองขนาดใหญ่ ขนาดกลางที่มีเศรษฐกิจหลักมาจากการ ท่องเที่ยวมากขึ้นทุกที แต่ภาคเกษตรก็ยังสาคัญ ยังไม่หมด ภาคอุตสาหกรรมก็สาคัญ แต่ว่าภาคที่โดด เด่นในล้านนาตอนบน คือ ภาคธุรกิจท่องเที่ยว เมื่อกล่าวถึงธุรกิจท่องเที่ยวหรือหลั่นล้าอีโคโนมี คนไทย เรามักจะติดวิธีคิดว่ามันเป็นเหมือนของหวาน เครื่องเคียง ส่วนอุตสาหกรรมและเกษตรกรรมเป็นอาหาร จานหลักของเศรษฐกิจไทย แต่จริงๆ แล้วไม่ใช่ ตอนนี้หลั่นล้าอีโคโนมีสูงถึงร้อยละ 20 ของรายได้ ประชาชาติ ในขณะที่เกษตรมีเพียงร้อยละ 8 อุตสาหกรรมร้อยละ 30 อีกทั้งการเติบโตของภาคเศรษฐกิจ ท่องเที่ยว เศรษฐกิจบริการ เศรษฐกิจน้าใจมันโตเร็วกว่าภาคอุตสาหกรรม ถ้าเป็นอย่างนี้ต่อไปอีกสิบปี ความสาคัญของภาคท่องเที่ยวกับภาคอุตสาหกรรมจะเท่ากัน ส่วนเกษตรจะลดลงไปอีก เรื่องการทาท่องเที่ยวอีสาน ผมคิดว่าทาได้ ส่วนหนึ่งจิตใจของคนล้านนากับคนอีสาน ผมว่าไม่ ค่อยต่างกัน คือ มีสันถวไมตรี เป็นคนมีน้าใจ เอื้อเฟื้อ แต่เราไม่เคยทา คนอีสานที่ผ่านมาก็คือไปขาย
  • 10. 8 แรงงานในเมืองหลวงเมืองสาคัญ อาศัยความทรหด ความขยันขันแข็ง ความอดทน แต่จริงๆ แล้วเรา อาจจะมีธาตุของความหลั่นล้าอยู่ในตัว เพราะผมดูจากเพลงฮิตของไทย หรือท่าราที่ฮิตของไทย หรือ อาหารที่ฮิตของไทย ที่มันเป็นระดับประเทศ เป็นของอีสานหมด ราที่เป็นชั้นสูงของภาคเหนือไม่เป็นที่ ยึดกุมของมวลชนของประชาชน แต่เซิ้ง หมอลา เพลงลูกทุ่ง แจ่ว ส้มตา ไก่ย่าง มันกลายเป็นวัฒนธรรม หนึ่งของคนไทยทั้งประเทศ เพราะฉะนั้น ผมคิดว่า เรามีศักยภาพอยู่ เพียงแต่ว่าต้องเปลี่ยนให้เป็นความ เป็นจริงให้มากขึ้น ต้องทาให้เป็นการท่องเที่ยวที่มีรายได้สูงขึ้น คุณภาพสูงขึ้น ส่วนภาคเกษตรจะมีอนาคตได้ ทางหนึ่งคือต้องปรับตัวให้เป็นการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เชิงการใช้ ชีวิตความเป็นอยู่ เรียกว่า “Experience Economy” นั่นคือ ต้องคิดว่าจะทาอย่างไรให้สวน ไร่ นาของ เราดึงดูดคนให้เข้ามาพัก มาเที่ยว มาอยู่นานๆ มาเก็บผลไม้กิน มาลองปลูกข้าวเกี่ยวข้าวเหมือนใน ญี่ปุ่น ฉะนั้น อีสานควรทาเศรษฐกิจหลั่นล้า และที่ผมเห็นมา หลายที่ทาได้ดี หลักสูตรหรือสถาบันการศึกษา ต้องมองเห็นจุดหนักที่เป็นเรื่องราวที่เป็นจริงที่อยู่นอกตาราของ เรา เพราะตาราของเรามันจะเต็มไปด้วยปัญหา ถ้าเราเอาตาราเป็นที่ตั้ง แทนที่จะเอาโอกาสเป็นที่ตั้ง เรา มักเอาปัญหาเป็นที่ตั้งของการศึกษา อันที่จริงมันก็ศึกษาได้ แต่คิดว่าต้องเอาโอกาสเป็นจุดตั้งของ การศึกษาให้มากขึ้นด้วย เพราะว่าเมื่อเราทาอะไรที่โอกาสมันมีแล้ว มันจะไปได้เร็ว มันจะสาเร็จ เราจะ ไม่ท้อใจ เราจะฮึกเหิม ผลงานและความสาเร็จที่เรามีมันจะกลับมาช่วยแก้ปัญหาได้เกินครึ่งหนึ่ง แต่ถ้า เราจับแต่เรื่องปัญหา มันไม่จบไม่สิ้น แล้วคนทาก็จะหดหู่ห่อเหี่ยวไปเรื่อยๆ นี่ไม่ใช่เรื่องวิชาการ แต่เป็น เรื่องการมองชีวิต มองงานวิจัย มองยุทธศาสตร์ของชาติ มองการพัฒนาของประเทศ
  • 11. 9 ยุวดี คาดการณ์ไกล บรรณาธิการ ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ ศ.เดชา บุญค้า ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ดร.พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
  • 12. 10 - วารสารการพัฒนาเมือง Vol.1 ว่าด้วยเรื่องวัฒนธรรมของเมือง และนาเสนอการพัฒนาระบบและกลไกพัฒนา เมืองของลาปาง - วารสารการพัฒนาเมือง Vol.2 ว่าด้วยแนวคิดการพัฒนาเมือง Placemaking และนาเสนอเมืองสายบุรี เป็น ตัวอย่างเมืองที่พัฒนาเมืองแบบ Placemaking - วารสารการพัฒนาเมือง Vol.3 ว่าด้วยแนวคิด มุมมอง และตัวอย่างการขับเคลื่อนสู่การเป็นสมาร์ทซิตี้ทั้งใน ไทยและต่างประเทศ - วารสารการพัฒนาเมือง Vol.4 ว่าด้วยเรื่องการพัฒนาเมืองหางโจว ประเทศจีน ที่สามารถรักษาสิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการยกระดับเทคโนโลยีและนวัตกรรมได้ - วารสารการพัฒนาเมือง Vol.5 ว่าด้วยแนวคิดเมืองสร้างสรรค์ที่ใช้วัฒนธรรมของเมืองเป็นหัวใจสาคัญในการ สร้างเศรษฐกิจเมือง - วารสารการพัฒนาเมือง Vol.6 ว่าด้วยเรื่องสุขภาวะคนเมือง และการใช้ชีวิตของคนในเมืองใหญ่ Vol.1 Vol.2 Vol.3 Vol.4 Vol.5 Vol.6