SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
 สารสนเทศมากมาย ทั้งดีและไม่ดี ส่งตรงถึงบ้าน
 ผู้ไม่ประสงค์ดี ใช้ไอทีเป็นช่องทางหาเหยื่อ
 สังคมออนไลน์ การรวมกลุ่ม แฟชั่น ทาให้เด็กคล้อยตาม ตกเป็นทาส
ฟุ้งเฟ้อ มีความเชื่อผิดๆ
 การที่ใช้ง่าย แพร่หลาย ราคาถูก ทาให้เสี่ยงต่อการกระทาผิดกฎหมาย/ผิด
ศีลธรรม
 ใช้เวลากับของเล่นไอที/โลกออนไลน์มากเกิน อาจทาให้เสียโอกาส
การเรียนรู้ในด้านอื่นๆ
ภัยแฝงออนไลน์
 ไม่ให้ที่อยู่อีเมล์แก่คนที่เราไม่รู้จัก
 ไม่เปิดอีเมล์จากคนหรือองค์กร/ธุรกิจที่เราไม่รู้จัก
 อีเมล์อาจจะมีสิ่งที่ไม่ดีมากมาย เช่น เรื่องราวที่ไม่เป็นจริง การติฉินนินทา และ
จดหมายลูกโซ่ที่พยายามจะเอาเงินจากกระเป๋าเรา
 ไวรัส อาจผ่านมากับข้อมูลอีเมล์ เข้ามาสู่คอมพิวเตอร์ของเรา
 ภาพที่ไม่เหมาะสม ผิดกฎหมาย ภาพยนตร์ อาจถูกส่งมาพร้อมกับข้อมูลอีเมล์
 ปิดหน้าเว็บ
 ไม่ได้ผล ปิดเบราเซอร์ browser
 ถ้ายังไม่ได้ผล ปิดคอมพิวเตอร์พร้อมกับแจ้งผู้ปกครองหรือครู
 จาไว้ว่า เราสามารถหลีกเลี่ยงปัญหาโดยการบอกให้คนอื่นทราบหากเราพบ
อะไรผิดพลาด
วิธีการจัดการกับเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมที่ปรากฏบน
จอคอมพิวเตอร์
 ไม่สามารถเชื่อได้ว่าบุคคลเหล่านั้นเป็นคนอย่างที่เค้าพูด
 อย่าให้ชื่อจริง ควรใช้ชื่อสมมุติ
 อย่าให้ข้อมูลว่าคุณอยู่ทีไหน หมายเลขโทรศัพท์ (โทรศัพท์มือถือ) เรียนอยู่ที่ไหน
พ่อแม่เป็นใคร
 ทาความเข้าใจให้ชัดเจนถึงกฎของแต่ละห้องแชท ที่จะเข้าไปเล่น
 ให้จาไว้ว่าคุณอาจเป็นบุคคลนิรนามในอินเทอร์เน็ต แต่บ่อยครั้งที่คนอื่นสามารถ
สืบเสาะได้ว่าใครเป็นคนใส่ข้อมูลในอินเทอร์เน็ต ดังนั้น ต้องมีความสุภาพกับผู้อื่น
เสมอ
กฎของการแชท
• ไม่ออกไปพบกับบุคคลที่พบ รู้จักสื่อสารผ่านทาง
ออนไลน์
• ถ้ารู้สึกถูกกดดัน จากการสื่อสารออนไลน์กับใคร ให้
ปรึกษากับผู้ใหญ่ที่รับผิดชอบ
• ให้ชื่ออีเมลกับเพื่อนที่รู้จักดี ไม่ควรให้กับคนแปลกหน้า
• ปรึกษา หารือกับผู้ใหญ่ที่รับผิดชอบเสมอ อย่าให้ถูก
หลอกล่อ หรือถูกกดดันเพื่อไปพบเจอกับคนที่รู้จัก
ออนไลน์
• หากถูกใครหรือสิ่งใดรบกวนในห้องแชท ให้รีบออกจาก
การสนทนา และอย่าติดต่อ สนทนาอีก
กฎของการแชท การสื่อสารทางออนไลน์
o หากข้อมูลบางอันรู้สึกดีเกินที่จะเชื่อได้สรุปได้เลยว่าไม่จริง
o ให้ระวังอีเมล์ที่บอกว่าโปรดส่งต่อให้ทุก ๆ คน เพราะอาจจะมีแต่เรื่อง
หลอกลวงไร้สาระ หรือมีไวรัสที่ไม่ควรส่งต่อ
o อย่าเข้าไปในเวบไซด์ของธนาคารใด ๆ ที่อ้างบอกให้คุณแจ้งรหัสผ่าน
กฎ – การป้องกันไวรัส และข้อมูลขยะ
o เก็บรหัสผ่านเป็นความลับเสมอ
o ให้ระมัดระวัง เวบไซด์ที่ให้ดาวน์โหลดฟรี หรือมีเกมให้เล่นฟรี เพราะอาจเต็ม
ไปด้วยไวรัส หรือจะมีข้อมูลที่ไม่เหมาะสมส่งมาให้คุณ
o บางครั้ง บางคนอาจจะใช้เล่ห์ ลวงให้คุณเชื่อมต่อไปยังเวบไซด์ที่ไม่เหมาะสม
กฎ – การป้องกันไวรัส และข้อมูลขยะ
 ตรวจสอบให้มั่นใจว่าใส่เฉพาะข้อมูลที่ปลอดภัย
 ให้มีรหัสส่วนตัวเพื่อปกป้องรูปภาพของคุณ
 ต้องได้รับการอนุญาตจากพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครู ในการสร้างเว็บไซด์ของคุณเอง
และให้ท่านเหล่านั้นช่วยตรวจสอบ ทบทวนสม่าเสมอ
กฎการเผยแพร่เรื่องราวในเว็บบล็อก
 อย่าใส่เรื่องราวส่วนตัวเข้าไปในเว็บบล็อก หรือ ในการสนทนากลุ่ม
 จาเป็นต้องมีความระมัดระวังมาก ๆ ในการใส่อะไรลงไปในอินเทอร์เน็ต เพราะ
ทันทีที่มีการเผยแพร่คนจากทั่วโลกสามารถเห็นได้และอาจมีการนาข้อมูลไปใช้
ในทางผิด ๆ
กฎการเผยแพร่เรื่องราวในเว็บบล็อก
 เรียนรู้เกี่ยวกับมารยาททั่วไปในการใช้อินเทอร์เน็ต
netiquette
 ทาตามหลักพื้นฐานความปลอดภัย และเรียนรู้วิธีการ แนว
ปฏิบัติเมื่อต้องเผชิญกับสถานการณ์เสี่ยงออนไลน์
ข้อแนะนาการใช้อินเตอร์เน็ต
- ไม่ใช้อินเตอร์เน็ตเพื่อล่วงละเมิดหรือรบกวน ผู้อื่น
- ไม่ใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อการใด ๆ ที่ขัดต่อกฎหมายหรือศีลธรรม
- ไม่นาข้อมูลของผู้อื่นมาใช้ในทางที่ผิด หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูลนั้น ๆ
- ไม่บอกรหัสกับผู้อื่นแม้แต่เพื่อนสนิท
- ไม่ใช้บัญชีชื่อผู้ใช้ของผู้อื่น หรือใช้เครือข่ายโดยไม่ได้รับอนุญาต
- ไม่ยืมหรือใช้โปรแกรม รูปภาพ หรือข้อมูลของผู้อื่นบนอินเตอร์เน็ตโดยไม่ได้รับ
อนุญาตจากเจ้าของ
มารยาททั่วไปในการใช้อินเตอร์เน็ต
- ไม่ฝ่าฝืนข้อห้ามของผู้ให้บริการอินเตอร์เน็ต
- ไม่เจาะเข้าระบบของผู้อื่นหรือท้าลองให้ผู้อื่นเจาะระบบของตัวเอง
- หากพบมีการรั่วไหลในระบบ หรือบุคคลน่าสงสัยให้รีบแจ้งผู้ให้บริการในทันที
-หากต้องยกเลิกการใช้อินเตอร์เน็ตให้ลบข้อมูลทั้งหมดและแจ้งผู้ดูแลเว็บไซต์
- การทิ้งบัญชีชื่อผู้ใช้งานไว้บนอินเตอร์เน็ตอาจทาให้มีผู้ไม่หวังดีเจาะเข้ามาในระบบ
ได้
มารยาททั่วไปในการใช้อินเตอร์เน็ต
 ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัวเช่น เบอร์โทรศัพท์ ชื่อโรงเรียน ชื่อเพื่อนหรือ
ผู้ปกครอง
 ไม่นัดแนะเพื่อพบปะกับบุคคลที่รู้จักทางอินเตอร์เน็ตโดยไม่บอกผู้ปกครอง
 ไม่ส่งรูปหรือข้อมูลส่วนตัวให้กับคนที่รู้จักทางอินเตอร์เน็ต
 ไม่ให้ความสนใจหรือตอบโต้กับคนที่ถ้อยคาหยาบคาย
กฎความปลอดภัย
 ไม่โหลดสิ่งที่ไม่คุ้นเคยหรือเปิดเอกสารจากอีเมล์ของคนที่เราไม่รู้จัก
 หากพบข้อความหรือรูปภาพรุนแรง ให้รีบแจ้งผู้ปกครองหรือคุณครู
 เคารพในกฎระเบียบ นโยบาย หรือข้อตกลงที่ให้ไว้กับผู้ปกครองและคุณครูใน
การใช้อินเตอร์เน็ต
กฎความปลอดภัย
1.ตั้งรหัสผ่านในการใช้บัญชีอีเมลให้มีความปลอดภัยเพียงพอ ตั้งรหัสผ่านไม่น้อยกว่า 8
ตัวอักษร และเปลี่ยนรหัสผ่านทุก ๆ 3 เดือน
2. ไม่ใช้รหัสผ่านของบัญชีอีเมล เป็นรหัสผ่านในการใช้ Social Media เช่น Facebook
กาหนดให้ใช้ชื่อ E-mail เป็นชื่อผู้ใช้ ให้ตั้งรหัสผ่านใหม่ที่ไม่ใช่รหัสเดียวกับรหัสผ่านของ
บัญชีอีเมล
3.ให้ระวังในการคลิกลิงก์ดาวน์โหลดไฟล์ แม้จะส่งมาจากเพื่อน อาจมีโปรแกรมโทรจันแฝง
บัญญัติ 10 ประการ รู้รอดปลอดภัย การใช้อุปกรณ์ไอที
4. ดาวน์โหลดโปรแกรมหรือไฟล์จากผู้พัฒนาโดยตรง อย่าดาวน์โหลดผ่านลิงก์หรือ
โปรแกรมค้นหาข้อมูล (search engine)
5.หลีกเลี่ยง application ที่มีการขออนุญาตมากเกินความจาเป็น เมื่อมีการติดตั้งโปรแกรมใน
สมาร์ทโฟนหรืออุปกรณ์ไอที ควรตรวจดูการขออนุญาต (permission) ในการเข้าถึงข้อมูล
ในเครื่อง
6. แอพฯที่ไม่ได้ใช้งานแล้ว ให้ปิดบัญชีผู้ใช้ หากมีการถอนแอพพลิเคชั่นที่ไม่ใช้งาน ควรปิด
ไอดีบัญชีผู้ใช้
บัญญัติ 10 ประการ รู้รอดปลอดภัย การใช้อุปกรณ์ไอที
บัญญัติ 10 ประการ รู้รอดปลอดภัย การใช้อุปกรณ์ไอที
7. ซื้ออุปกรณ์ไอที สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต มือสอง ต้องระวัง หากซื้อเครื่องมือสอง ต้องติดตั้ง
ค่าใหม่ เพื่อป้องกันโปรแกรมแฝงต่าง ๆ
8. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ จากบริษัทผู้ให้บริการที่เชื่อถือได้
9. ติดตามข่าวสารความเคลื่อนไหวของไวรัสและภัยอินเทอร์เน็ต
10. ศึกษาเทคนิคการหลอกลวงหรือล้วงข้อมูล การหลอกลวงต้มตุ๋นผ่านกระบวนการทาง
สังคมที่เรียกว่า Social Engineering โดยให้ติดตามข่าวสารภัยใหม่ ๆ อย่างสม่าเสมอ
อ้างอิง

More Related Content

What's hot

เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
Rujroad Kaewurai
 
Like and-share-แบบไหนผิดพรบ
Like and-share-แบบไหนผิดพรบLike and-share-แบบไหนผิดพรบ
Like and-share-แบบไหนผิดพรบ
Se Ng
 

What's hot (11)

พรบ. คอมฯ
พรบ. คอมฯพรบ. คอมฯ
พรบ. คอมฯ
 
Like and share
Like and shareLike and share
Like and share
 
it
itit
it
 
Likeandshare11
Likeandshare11Likeandshare11
Likeandshare11
 
1
11
1
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อเอกสารรู้เท่าทันสื่อ
เอกสารรู้เท่าทันสื่อ
 
Like and-share-แบบไหนผิดพรบ
Like and-share-แบบไหนผิดพรบLike and-share-แบบไหนผิดพรบ
Like and-share-แบบไหนผิดพรบ
 
IS2
IS2IS2
IS2
 
Like&share13
Like&share13Like&share13
Like&share13
 
Like-Share แบบไหนผิด? พรบ.คอมฯ ปี 2560
Like-Share แบบไหนผิด? พรบ.คอมฯ ปี 2560Like-Share แบบไหนผิด? พรบ.คอมฯ ปี 2560
Like-Share แบบไหนผิด? พรบ.คอมฯ ปี 2560
 

Similar to ข้อปฏิบัติในการใช้ไอที

ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ปิยะดนัย วิเคียน
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 100
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 100
Khunjitjai Sroi Sirima
 
Random 140218214329-phpapp01
Random 140218214329-phpapp01Random 140218214329-phpapp01
Random 140218214329-phpapp01
Thanapon Hera
 
รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20
Kamonchapat Boonkua
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
Kannaree Jar
 

Similar to ข้อปฏิบัติในการใช้ไอที (13)

Game1
Game1Game1
Game1
 
อาชญากรรม
อาชญากรรมอาชญากรรม
อาชญากรรม
 
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ตผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
ผลกระทบจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต
 
สังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้าสังคมก้มหน้า
สังคมก้มหน้า
 
รู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อรู้เท่าทันสื่อ
รู้เท่าทันสื่อ
 
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 100
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์  100
อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ 100
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
Unit9
Unit9Unit9
Unit9
 
Random 140218214329-phpapp01
Random 140218214329-phpapp01Random 140218214329-phpapp01
Random 140218214329-phpapp01
 
รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
อาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯอาชญากรรมคอมฯ
อาชญากรรมคอมฯ
 
รายงานคอม12
รายงานคอม12รายงานคอม12
รายงานคอม12
 

More from Lilrat Witsawachatkun

More from Lilrat Witsawachatkun (12)

การปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญาการปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญา
 
ไข้หวัดใหญ่
ไข้หวัดใหญ่ไข้หวัดใหญ่
ไข้หวัดใหญ่
 
ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์ละครดึกดำบรรพ์
ละครดึกดำบรรพ์
 
ที่อยู่อาศัย
ที่อยู่อาศัยที่อยู่อาศัย
ที่อยู่อาศัย
 
ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์ระบบสืบพันธุ์
ระบบสืบพันธุ์
 
ตัวอักษรภาษาญี่ปุ่น
ตัวอักษรภาษาญี่ปุ่นตัวอักษรภาษาญี่ปุ่น
ตัวอักษรภาษาญี่ปุ่น
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
ระบบกระดูก
ระบบกระดูกระบบกระดูก
ระบบกระดูก
 
อินเดีย
อินเดียอินเดีย
อินเดีย
 
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
วัฒนธรรม กับ ภาษาของมนุษย์
 
ทุเรียน
ทุเรียนทุเรียน
ทุเรียน
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
 

ข้อปฏิบัติในการใช้ไอที