SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
โดย ครูอรุณ แห้วเพ็ชร
ม. 2
ทัศนธาตุ(Visual Elements) หมายถึง ส่วนประกอบของศิลปะที่มองเห็นได้
ประกอบไปด้วยจุด เส้น รูปร่าง รูปทรง ขนาด สัดส่วน แสงเงา สี บริเวณว่าง และพื้นผิว
จุด (Dot) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. จุดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ จุดในลาย
ของสัตว์และพืช เช่น จุดในลายของเสือ จุดในลายของดอกไม้
ใบไม้เป็นต้น
2. จุดที่เกิดจากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ ได้แก่ การแต้ม
ขีด จิ้ม กดด้วยวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ
ความหมายของทัศนธาตุ
เส้น (Line)
- เส้นนอน ให้ความรู้สึกกว้างขวาง เงียบสงบ นิ่ง ราบเรียบ ผ่อนคลายสายตา
-เส้นตั้ง ให้ความรู้สึกสูงสง่า มั่นคง แข็งแรง รุ่งเรือง
- เส้นเฉียง ให้ความรู้สึกไม่มั่นคง เคลื่อนไหว รวดเร็ว แปรปรวน
- เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกอ่อนไหว สุภาพอ่อนโยน สบาย นุ่มนวล เย้ายวน
- เส้นโค้งก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว การคลี่คลาย ขยายตัว มึนงง
- เส้นโค้งกลับหลังหรือเส้นโค้งงดงาม ให้ความรู้สึกนุ่มนวล อ่อนช้อย
งดงาม มักพบในงานศิลปะไทย เช่น ลายไทย ช่อฟ้า เป็นต้น
- เส้นซิกแซ็กหรือเส้นฟันปลา ให้ความรู้สึกรุนแรง กระแทกเป็นห้วงๆ
ตื่นเต้น สับสนวุ่นวาย และการขัดแย้ง
- เส้นประ ให้ความรู้สึกไม่ต่อเนื่อง ไม่มั่นคง ไม่แน่นอน
เส้นลักษณะต่าง ๆ
ภาพที่แสดงการนาเส้นลักษณะต่าง ๆ
มาสร้างสรรค์ในงานวาดเส้น
ภาพที่แสดงความรู้สึกทางอารมณ์โดย
เน้นด้วยเส้น
รูปร่างและรูปทรง
รูปร่าง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1. รูปร่างธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง
รูปร่างที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น คน สัตว์และพืช เป็นต้น
2. รูปร่างเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถึง
รูปร่างที่มนุษย์สร้างขึ้นมีโครงสร้างแน่นอน เช่น
รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม และรูปวงกลม เป็นต้น
3. รูปร่างอิสระ (Free Shape) หมายถึง รูปร่างที่เกิด
ขึ้นตามความต้องการของผู้สร้างสรรค์ให้ความรู้สึกที่เป็นเสรี
ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอนของตัวเอง
รูปทรง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1.รูปทรงธรรมชาติ (Natural Form) หมายถึง รูปทรงที่
เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีลักษณะ 3 มิติ เช่น สัตว์และพืช
2. รูปทรงเรขาคณิต (Geometrical Form) หมายถึง รูปทรง
ที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น มีโครงสร้างที่แน่นอน มีลักษณะ
3 มิติ เช่น รูปทรงกรวยกลม รูปทรงกรวยเหลี่ยม
3. รูปทรงอิสระ (Free Form) หมายถึง รูปทรงที่เกิด
ขึ้นเองตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นมา
สัดส่วนของ “แจกันดอกไม้”
ผลงานของนายกฤษฎา แสงประชาธนารักษ์
ภาพแสดงสัดส่วนความสูงของคนที่เป็นมาตรฐานสากล
ขนาด(Size)
หมายถึง ลักษณะของรูปที่กาหนดได้ว่า ใหญ่ เล็ก สั้น ยาว
หนา และบาง
สัดส่วน(Proportion)
แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
1. สัดส่วนที่สมบูรณ์ด้วยตัวเอง เช่น สัดส่วนของคน
2. สัดส่วนที่สมบูรณ์ด้วยการประกอบกับสิ่งอื่น เช่น สัดส่วน
ระหว่างโต๊ะกับเก้าอี้ สัดส่วนระหว่างดอกไม้กับแจกัน
แสงเงา(Light&Shade)
ลักษณะแสงและเงาของวัตถุทรงกลม มีดังนี้
1. จุดเน้นแสง (High Light)
2. เงาอ่อน (Half Tone)
3. เงาแก่ (Dark Tone)
4. แสงสะท้อน (Reflected Light)
5. เงาตกทอด (Cost Shadow)
คุณค่าของแสงเงา
1. ช่วยแสดงรายละเอียดและความเหมือนจริง
2. ช่วยทาให้ภาพมีมิติ ความกลม ตื้น ลึก
หนา บาง มีระยะใกล้กลาง และไกล
3. ช่วยแสดงบรรยากาศ กาลเวลา เช้า
กลางวัน เย็น และกลางคืน
แสงเงา รายละเอียด และความเหมือนจริง
ทาให้เกิดมิติความตื้น-ลึก และระยะใกล้-ไกล
ผลงานของนายภัคพงศ์บุญไมตรีสัมพันธ์
สี (Colour)
สี หมายถึง ลักษณะความเข้มของแสงที่ส่องมากระทบตาเรา
ให้เห็นเป็นสีขาว ดา แดง เขียว เหลือง และน้าเงิน เป็นต้น
สีกับความรู้สึก
สีแดง ให้ความรู้สึกร้อนแรง ตื้นเต้น เร้าใจ อันตราย
สีเหลือง ให้ความรู้สึกสว่าง สดใส เลื่อมใส ศรัทธา
สีน้าเงิน ให้ความรู้สึกสุภาพ หนักแน่น จริงจัง อดทน ขรึม
สีส้ม ให้ความรู้สึกสนุกสนาน ร่าเริง กระปรี้กระเปร่า
สีเขียว ให้ความรู้สึกร่มรื่น สดชื่น แจ่มใส มีชีวิต
สีม่วง ให้ความรู้สึกเศร้า ฝัน แปลก โดดเดี่ยว ลี้ลับ
สีฟ้า ให้ความรู้สึกนุ่มนวล สงบเสงี่ยม เรียบร้อย ประณีต
สีชมพู ให้ความรู้สึกสดใส สดชื่น นุ่มนวล น่ารัก
สีน้าตาล ให้ความรู้สึกเงียบขรึม เก่าแก่ หนักแน่น
สีดา ให้ความรู้สึกหดหู่ เศร้าใจ ทุกข์ ลี้ลับ มืด
สีขาว ให้ความรู้สึกสะอาด บริสุทธิ์ สุภาพ เรียบร้อย
แสงเงาทาให้เกิดบรรยากาศของกาลเวลา
ผลงานของนายกฤษฎา แสงประชาธนารักษ์
บริเวณว่าง (Space)
หมายถึง ช่องว่างหรือพื้นที่ว่างที่ล้อมรอบรูปร่าง รูปทรง ระยะทางระหว่างรูปร่างกับ
รูปร่าง รูปทรงกับรูปทรง และพื้นที่ว่างภายในรูปทรง
ลักษณะของบริเวณว่าง ได้แก่
1. บริเวณว่างทางกายภาพ (Physical Space) หมายถึง บริเวณว่างที่ปรากฏจริงในงานประติมากรรม
และงานสถาปัตยกรรม เป็นบริเวณว่างที่สามารถรับรู้และสัมผัสได้ด้วยความเป็นจริงทางกายภาพ มีอากาศอยู่โดยรอบ
2. บริเวณว่างในรูปภาพ (Pictorial Space) หมายถึง บริเวณว่างที่ปรากฏในงานจิตรกรรม
และงานภาพพิมพ์เป็นบริเวณว่าแบบลวงตา ไม่สามารถสัมผัสได้ด้วยความเป็นจริง
บริเวณว่างในงานประติมากรรม บริเวณว่างในงานจิตรกรรม
พื้นผิว (Texture)
หมายถึง ลักษณะของพื้นผิวที่เรามองเห็นและสัมผัสได้เช่น ผิวมัน ด้าน หยาบ ละเอียด
ขรุขระในงานจิตรกรรม งานประติมากรรม และงานสถาปัตยกรรม
ความรู้สึกที่มีต่อพื้นผิว
1. ลักษณะพื้นผิวเรียบละเอียด ให้ความรู้สึกนุ่มนวล อ่อนไหว บางเบา แสดงความเป็นผู้หญิง
2. ลักษณะผิวหยาบ ให้ความรู้สึกเข้มแข็ง หนักแน่น กระด้าง และน่ากลัว แสดงความเป็นผู้ชาย
3. ลักษณะผิวขรุขระ ให้ความรู้สึกตื่นเต้นและดึงดูดความสนใจ
ผิวขรุขระหรือผิวหยาบให้ความรู้สึกหยาบกระด้าง น่ากลัว และดูน่าตื่นเต้นกว่าผิวละเอียดหรือผิวเรียบ
การเกิดของพื้นผิว
เกิดขึ้นได้2 ลักษณะ ดังนี้
1. เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ ผิวของเปลือกไม้
ใบไม้ก้อนหิน ผิวดิน พื้นดิน และพื้นทราย เป็นต้น
2. เกิดขึ้นโดยมนุษย์สร้างสรรค์ ได้แก่ การขูด ขีด เขียน
แกะสลัก ขัดถูให้เป็นรอย ลวดลายในลักษณะต่างๆ เช่น
การแกะสลัก เป็นต้น
พื้นผิวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
พื้นผิวที่เกิดขึ้นโดยมนุษย์สร้างขึ้น
หลักองค์ประกอบศิลป์ (Composition) หมายถึง การนาทัศนธาตุของ
ศิลปะซึ่งประกอบไปด้วยจุด เส้น รูปร่าง รูปทรง ขนาด สัดส่วน
แสงเงา สี บริเวณว่าง และพื้นผิวมาจัดภาพหรือองค์ประกอบรวม
เข้าด้วยกัน และให้ประสานสัมพันธ์กัน เพื่อให้เกิดคุณค่าทางความงาม
หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ มีดังนี้
1. เอกภาพ (Unity)
2. ดุลยภาพ (Balance)
3. จุดเด่น (Dominance)
4. ความกลมกลืน (Harmony)
5. ความขัดแย้ง (Contrast)
หลักองค์ประกอบศิลป์
ภาพแสดงการจัดองค์ประกอบศิลป์
เอกภาพ (Unity)
หมายถึง การจัดทัศนธาตุของศิลปะให้มีความประสานกลมกลืน มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันเป็น
กลุ่มก้อน ไม่กระจัดกระจาย และแสดงออกให้เห็นได้ถึงความพอดีของความงาม
การจัดองค์ประกอบของภาพที่แสดงความ
เป็นกลุ่มเป็นก้อน ความเป็นเอกภาพภายในภาพ
ผลงานของ Hendrik Dieuenbach
ภาพที่แสดงออกให้เห็นถึงความพอดีของความงาม
ความเป็นเอกภาพภายในภาพ
ผลงานของ Paul Klieg
“วัดไหล่หินแก้วช้างยืน” ผลงานของทรงเดช ทิพย์ทอง
ดุลยภาพ (Balance)
หรือความสมดุล หมายถึง การนาทัศนธาตุ
ทางศิลปะมาจัดองค์ประกอบศิลป์ให้มีความประสานกลมกลืน
ความพอเหมาะพอดีของส่วนต่างๆ
ความสมดุล แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. ความสมดุลแบบสองข้างเท่ากัน คือ
การนาทัศนธาตุทางศิลปะมาจัดองค์ประกอบศิลป์
โดยให้น้าหนักทั้งสองข้างเท่ากันหรือเหมือนกัน
ดูแล้วรู้สึกสงบนิ่ง มั่นคง เลื่อมใส
2. ความสมดุลแบบสองข้างไม่เท่ากัน คือ การนาทัศนธาตุ
ทางศิลปะมาจัดองค์ประกอบศิลป์ โดยจัดวางให้ไม่เท่ากันหรือ
ไม่เหมือนกันทั้งสองข้าง แต่มองดูแล้วให้ความรู้สึกว่าเท่ากัน
จากน้าหนักโดยส่วนรวม ให้อารมณ์ ความรู้สึกเคลื่อนไหว
“วัดไหล่หินแก้วช้างยืน”
ผลงานของทรงเดช ทิพย์ทอง
จุดเด่น (Dominance)
หรือจุดสนใจ หมายถึง ส่วนสาคัญที่ปรากฏชัด สะดุดตาในผลงานศิลปะ ตาแหน่งของจุดเด่นนิยมจัด
วางไว้ในระยะหน้า หรือระยะกลาง แต่ไม่ควรวางไว้ตรงกลางพอดี เพราะจะทาให้ภาพเกิดความรู้สึกนิ่ง ไม่เกิดการ
เคลื่อนไหว จุดเด่นที่ดีควรมีเพียงจุดเดียว
ตาแหน่งของจุดเด่นที่เหมาะสมสวยงาม ผลงานของ นายกฤษฎา แสงประชาธนารักษ์
การเน้นจุดเด่น ได้แก่
1. เน้นด้วยรูปร่าง รูปทรง หรือขนาด เป็นการนา
รูปร่างรูปทรงที่มีลักษณะแตกต่างกันมาจัดรวมกัน จะทา
ให้เกิดความเด่นชัดขึ้นในรูปทรงที่ต้องการเน้น
2. เน้นด้วยค่าน้าหนักของสี แสงเงา ให้มีความแตกต่าง
กันจากน้าหนักอ่อนสุดไปยังน้าหนักเข้มสุด ซึ่งสามารถ
สร้างจุดเด่นได้
ภาพที่มีขนาดใหญ่ ย่อมเห็นได้ง่าย
และเด่นชัดกว่าขนาดเล็ก
“ความสงบ”
ผลงานของสุรสิทธิ์ เสาว์คง
3. เน้นด้วยสี การใช้สีต่างวรรณะกันจะช่วยเน้นภาพ
ซึ่งกันและกัน เช่น ภาพที่มีสีวรรณะเย็น สามารถใช้สีวรรณะ
อุ่นเข้าไปช่วยเน้นเพื่อให้เกิดความขัดแย้ง
4. เน้นด้วยเส้น เป็นการนาเส้นมาช่วยเน้นให้ภาพเกิด
ความเด่นชัดขึ้น เช่น การตัดเส้นเน้นภาพในงานจิตรกรรมไทย
การใช้เส้นนาพาสายตาไปยังจุดเด่นของภาพ
ภาพแสดงการเน้นด้วยสี
ภาพแสดงการเน้นด้วยเส้น
ผลงานของฟินเซนต์ฟาน ก็อก
ภาพจิตรกรรมฝาผนัง
วัดภูมินทร์จังหวัดน่าน
ความกลมกลืน (Harmony)
1. ความกลมกลืนด้วยเส้น เป็นการใช้เส้นในลักษณะ
เดียวกันหรือทิศทางเดียวกันมาจัดรวมกัน
2. ความกลมกลืนด้วยรูปร่าง รูปทรง เป็นการนารูปร่าง
รูปทรงที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือลักษณะใกล้เคียงกันมาจัดรวมกัน
3. ความกลมกลืนด้วยขนาด เป็นการจัดองค์ประกอบศิลป์
ในลักษณะการใช้ขนาดของรูปทรงที่ใกล้เคียงกันและ
ลดหลั่นกันมาจัดรวมกัน
4. ความกลมกลืนด้วยทิศทาง ทิศทางที่เหมือนกัน
ย่อมกลมกลืนกัน
5. ความกลมกลืนด้วยค่าน้าหนักของแสงเงา
โดยการไล่ค่าน้าหนักอ่อน-แก่
6. ความกลมกลืนด้วยลักษณะผิว
โดยการนาลักษณะผิวหรือพื้นผิวที่เหมือนกันหรือใกล้เคียงกัน
มาจัดรวมกันเพื่อให้เกิดความกลมกลืน
7. ความกลมกลืนด้วยสี เป็นการนาสีที่อยู่ในวรรณะเดียวกัน
หรือสีใกล้เคียงกันมาจัดองค์ประกอบให้ประสานกลมกลืนกัน
ความขัดแย้ง (Contrast)
1. ความขัดแย้งด้วยเส้น เป็นการนาเส้นที่มีลักษณะต่างกันมา
สร้างความขัดแย้งในงานศิลปะ
2. ความขัดแย้งด้วยรูปร่าง รูปทรง เป็นการนารูปร่าง รูปทรง
มีลักษณะไม่เหมือนกัน หรือลักษณะไม่ใกล้เคียงกันมาจัดรวมกัน
3. ความขัดแย้งด้วยขนาด เป็นการใช้ขนาดของรูปร่าง รูปทรง
ที่มีขนาดใหญ่และขนาดเล็กแตกต่างกันมาจัดองค์ประกอบศิลป์ร่วมกัน
4. ความขัดแย้งด้วยทิศทาง เป็นการจัดวางให้ทิศทางของเส้น
รูปร่าง รูปทรง แสงเงา ฯลฯ มีความขัดแย้งกัน การแก้ไขจะต้องลด
ปริมาณความขัดแย้งของทิศทางให้เหลือน้อยลง
5. ความขัดแย้งด้วยสี เป็นการนาสี
ตรงกันข้ามและสีตัดกันมาใช้ร่วมกัน
6. ความขัดแย้งด้วยพื้นผิว เป็นการนาลักษณะผิว
ที่แตกต่างกันมาจัดรวมกันในงานศิลปะ เช่น
ลักษณะผิวหยาบขัดแย้งกับลักษณะผิวเรียบ
ประโยชน์และคุณค่าขององค์ประกอบศิลป์
1. ช่วยในการจัดวางผังเมือง โดยการนาหลักการจัดองค์ประกอบศิลป์มาใช้จัดระเบียบของเมือง
ให้มีการใช้พื้นที่อย่างมีแบบแผน มีการแบ่งสัดส่วนของพื้นที่ได้อย่างเหมาะสม
2. ช่วยเสริมสร้างคุณค่าของงานวิจิตรศิลป์ โดยการนาหลักองค์ประกอบศิลป์ มาช่วยพัฒนางานศิลปะด้าน
วิจิตรศิลป์ให้เกิดคุณค่าทางความงามมากขึ้น
3. ช่วยเสริมสร้างคุณค่าของงานประยุกต์ศิลป์ ให้เกิดคุณค่าทางประโยชน์ใช้สอยและคุณค่าทางความงาม
ควบคู่กันไปอย่างเหมาะสม ทาให้เป็นที่สนใจและต้องการของสังคมภายในประเทศและพัฒนาสู่สังคมโลกได้
4. ช่วยพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ในชีวิตประจาวันของตนเอง โดยการออกแบบตกแต่งที่อยู่อาศัย สานักงาน
เวทีการแสดง
5. ช่วยพัฒนาบุคลิกภาพของตนเอง ใช้ในการแต่งกาย การจัดวางอิริยาบถให้ดูดี และมีความสัมพันธ์
ไปถึงเรื่องสุขภาพที่ดีด้วย เช่น การนั่ง การหิ้วของ การเล่นกีฬา บางครั้งก็ต้องใช้หลักการของความสมดุล
ถ้าไม่ได้จังหวะอาจส่งผลเสียต่อร่างกาย
6. ช่วยพัฒนาสุนทรียภาพ ยกระดับจิตใจให้ละเอียดอ่อน มองโลกในแง่ดี รักความประณีตสวยงาม
มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย และดารงชีวิตอย่างมีความสุข

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าวบทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าวนางสาวอัมพร แสงมณี
 
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงHeeroyuy Heero
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกRuzz Vimolrut
 
ปลายภาค ม4 2557
ปลายภาค ม4 2557ปลายภาค ม4 2557
ปลายภาค ม4 2557peter dontoom
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2teerachon
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชาkkrunuch
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1Wangkaew
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการDuangnapa Inyayot
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก
ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก
ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกNat Basri
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยากทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยากDarika Roopdee
 
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมSophinyaDara
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 

What's hot (20)

บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าวบทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
 
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
 
ปลายภาค ม4 2557
ปลายภาค ม4 2557ปลายภาค ม4 2557
ปลายภาค ม4 2557
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
 
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
174 ภาษาไทย ม.3 ฉบับที่ 1
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการเกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
เกณฑ์การพิจารณาให้คะแนน การประกวดนิทรรศการทางวิชาการ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก
ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอกปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก
ปริมาตรของปริซึมและทรงกระบอก
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยากทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
ทศนิยมไม่ใช่เรื่องยาก
 
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรม
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 

Similar to ทัศนธาตุสร้างสรรค์ (7)

ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
Content01
Content01Content01
Content01
 
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลายเอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
เอกสารประกอบการเรียนทัศนศิลป์ม.ปลาย
 
9789740329640
97897403296409789740329640
9789740329640
 
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบpptความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
ความหมายศิลปะ ม.5. ลงเวบppt
 

ทัศนธาตุสร้างสรรค์

  • 2. ทัศนธาตุ(Visual Elements) หมายถึง ส่วนประกอบของศิลปะที่มองเห็นได้ ประกอบไปด้วยจุด เส้น รูปร่าง รูปทรง ขนาด สัดส่วน แสงเงา สี บริเวณว่าง และพื้นผิว จุด (Dot) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. จุดที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ จุดในลาย ของสัตว์และพืช เช่น จุดในลายของเสือ จุดในลายของดอกไม้ ใบไม้เป็นต้น 2. จุดที่เกิดจากการสร้างสรรค์ของมนุษย์ ได้แก่ การแต้ม ขีด จิ้ม กดด้วยวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ ความหมายของทัศนธาตุ
  • 3. เส้น (Line) - เส้นนอน ให้ความรู้สึกกว้างขวาง เงียบสงบ นิ่ง ราบเรียบ ผ่อนคลายสายตา -เส้นตั้ง ให้ความรู้สึกสูงสง่า มั่นคง แข็งแรง รุ่งเรือง - เส้นเฉียง ให้ความรู้สึกไม่มั่นคง เคลื่อนไหว รวดเร็ว แปรปรวน - เส้นโค้ง ให้ความรู้สึกอ่อนไหว สุภาพอ่อนโยน สบาย นุ่มนวล เย้ายวน - เส้นโค้งก้นหอย ให้ความรู้สึกเคลื่อนไหว การคลี่คลาย ขยายตัว มึนงง - เส้นโค้งกลับหลังหรือเส้นโค้งงดงาม ให้ความรู้สึกนุ่มนวล อ่อนช้อย งดงาม มักพบในงานศิลปะไทย เช่น ลายไทย ช่อฟ้า เป็นต้น - เส้นซิกแซ็กหรือเส้นฟันปลา ให้ความรู้สึกรุนแรง กระแทกเป็นห้วงๆ ตื่นเต้น สับสนวุ่นวาย และการขัดแย้ง - เส้นประ ให้ความรู้สึกไม่ต่อเนื่อง ไม่มั่นคง ไม่แน่นอน เส้นลักษณะต่าง ๆ
  • 5. รูปร่างและรูปทรง รูปร่าง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. รูปร่างธรรมชาติ (Natural Shape) หมายถึง รูปร่างที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น คน สัตว์และพืช เป็นต้น 2. รูปร่างเรขาคณิต (Geometrical Shape) หมายถึง รูปร่างที่มนุษย์สร้างขึ้นมีโครงสร้างแน่นอน เช่น รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม และรูปวงกลม เป็นต้น 3. รูปร่างอิสระ (Free Shape) หมายถึง รูปร่างที่เกิด ขึ้นตามความต้องการของผู้สร้างสรรค์ให้ความรู้สึกที่เป็นเสรี ไม่มีโครงสร้างที่แน่นอนของตัวเอง
  • 6. รูปทรง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1.รูปทรงธรรมชาติ (Natural Form) หมายถึง รูปทรงที่ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ มีลักษณะ 3 มิติ เช่น สัตว์และพืช 2. รูปทรงเรขาคณิต (Geometrical Form) หมายถึง รูปทรง ที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้น มีโครงสร้างที่แน่นอน มีลักษณะ 3 มิติ เช่น รูปทรงกรวยกลม รูปทรงกรวยเหลี่ยม 3. รูปทรงอิสระ (Free Form) หมายถึง รูปทรงที่เกิด ขึ้นเองตามธรรมชาติหรือมนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นมา
  • 7. สัดส่วนของ “แจกันดอกไม้” ผลงานของนายกฤษฎา แสงประชาธนารักษ์ ภาพแสดงสัดส่วนความสูงของคนที่เป็นมาตรฐานสากล ขนาด(Size) หมายถึง ลักษณะของรูปที่กาหนดได้ว่า ใหญ่ เล็ก สั้น ยาว หนา และบาง สัดส่วน(Proportion) แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ 1. สัดส่วนที่สมบูรณ์ด้วยตัวเอง เช่น สัดส่วนของคน 2. สัดส่วนที่สมบูรณ์ด้วยการประกอบกับสิ่งอื่น เช่น สัดส่วน ระหว่างโต๊ะกับเก้าอี้ สัดส่วนระหว่างดอกไม้กับแจกัน
  • 8. แสงเงา(Light&Shade) ลักษณะแสงและเงาของวัตถุทรงกลม มีดังนี้ 1. จุดเน้นแสง (High Light) 2. เงาอ่อน (Half Tone) 3. เงาแก่ (Dark Tone) 4. แสงสะท้อน (Reflected Light) 5. เงาตกทอด (Cost Shadow) คุณค่าของแสงเงา 1. ช่วยแสดงรายละเอียดและความเหมือนจริง 2. ช่วยทาให้ภาพมีมิติ ความกลม ตื้น ลึก หนา บาง มีระยะใกล้กลาง และไกล 3. ช่วยแสดงบรรยากาศ กาลเวลา เช้า กลางวัน เย็น และกลางคืน แสงเงา รายละเอียด และความเหมือนจริง ทาให้เกิดมิติความตื้น-ลึก และระยะใกล้-ไกล ผลงานของนายภัคพงศ์บุญไมตรีสัมพันธ์
  • 9. สี (Colour) สี หมายถึง ลักษณะความเข้มของแสงที่ส่องมากระทบตาเรา ให้เห็นเป็นสีขาว ดา แดง เขียว เหลือง และน้าเงิน เป็นต้น สีกับความรู้สึก สีแดง ให้ความรู้สึกร้อนแรง ตื้นเต้น เร้าใจ อันตราย สีเหลือง ให้ความรู้สึกสว่าง สดใส เลื่อมใส ศรัทธา สีน้าเงิน ให้ความรู้สึกสุภาพ หนักแน่น จริงจัง อดทน ขรึม สีส้ม ให้ความรู้สึกสนุกสนาน ร่าเริง กระปรี้กระเปร่า สีเขียว ให้ความรู้สึกร่มรื่น สดชื่น แจ่มใส มีชีวิต สีม่วง ให้ความรู้สึกเศร้า ฝัน แปลก โดดเดี่ยว ลี้ลับ สีฟ้า ให้ความรู้สึกนุ่มนวล สงบเสงี่ยม เรียบร้อย ประณีต สีชมพู ให้ความรู้สึกสดใส สดชื่น นุ่มนวล น่ารัก สีน้าตาล ให้ความรู้สึกเงียบขรึม เก่าแก่ หนักแน่น สีดา ให้ความรู้สึกหดหู่ เศร้าใจ ทุกข์ ลี้ลับ มืด สีขาว ให้ความรู้สึกสะอาด บริสุทธิ์ สุภาพ เรียบร้อย แสงเงาทาให้เกิดบรรยากาศของกาลเวลา ผลงานของนายกฤษฎา แสงประชาธนารักษ์
  • 10. บริเวณว่าง (Space) หมายถึง ช่องว่างหรือพื้นที่ว่างที่ล้อมรอบรูปร่าง รูปทรง ระยะทางระหว่างรูปร่างกับ รูปร่าง รูปทรงกับรูปทรง และพื้นที่ว่างภายในรูปทรง ลักษณะของบริเวณว่าง ได้แก่ 1. บริเวณว่างทางกายภาพ (Physical Space) หมายถึง บริเวณว่างที่ปรากฏจริงในงานประติมากรรม และงานสถาปัตยกรรม เป็นบริเวณว่างที่สามารถรับรู้และสัมผัสได้ด้วยความเป็นจริงทางกายภาพ มีอากาศอยู่โดยรอบ 2. บริเวณว่างในรูปภาพ (Pictorial Space) หมายถึง บริเวณว่างที่ปรากฏในงานจิตรกรรม และงานภาพพิมพ์เป็นบริเวณว่าแบบลวงตา ไม่สามารถสัมผัสได้ด้วยความเป็นจริง บริเวณว่างในงานประติมากรรม บริเวณว่างในงานจิตรกรรม
  • 11. พื้นผิว (Texture) หมายถึง ลักษณะของพื้นผิวที่เรามองเห็นและสัมผัสได้เช่น ผิวมัน ด้าน หยาบ ละเอียด ขรุขระในงานจิตรกรรม งานประติมากรรม และงานสถาปัตยกรรม ความรู้สึกที่มีต่อพื้นผิว 1. ลักษณะพื้นผิวเรียบละเอียด ให้ความรู้สึกนุ่มนวล อ่อนไหว บางเบา แสดงความเป็นผู้หญิง 2. ลักษณะผิวหยาบ ให้ความรู้สึกเข้มแข็ง หนักแน่น กระด้าง และน่ากลัว แสดงความเป็นผู้ชาย 3. ลักษณะผิวขรุขระ ให้ความรู้สึกตื่นเต้นและดึงดูดความสนใจ ผิวขรุขระหรือผิวหยาบให้ความรู้สึกหยาบกระด้าง น่ากลัว และดูน่าตื่นเต้นกว่าผิวละเอียดหรือผิวเรียบ
  • 12. การเกิดของพื้นผิว เกิดขึ้นได้2 ลักษณะ ดังนี้ 1. เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ ผิวของเปลือกไม้ ใบไม้ก้อนหิน ผิวดิน พื้นดิน และพื้นทราย เป็นต้น 2. เกิดขึ้นโดยมนุษย์สร้างสรรค์ ได้แก่ การขูด ขีด เขียน แกะสลัก ขัดถูให้เป็นรอย ลวดลายในลักษณะต่างๆ เช่น การแกะสลัก เป็นต้น พื้นผิวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ พื้นผิวที่เกิดขึ้นโดยมนุษย์สร้างขึ้น
  • 13. หลักองค์ประกอบศิลป์ (Composition) หมายถึง การนาทัศนธาตุของ ศิลปะซึ่งประกอบไปด้วยจุด เส้น รูปร่าง รูปทรง ขนาด สัดส่วน แสงเงา สี บริเวณว่าง และพื้นผิวมาจัดภาพหรือองค์ประกอบรวม เข้าด้วยกัน และให้ประสานสัมพันธ์กัน เพื่อให้เกิดคุณค่าทางความงาม หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ มีดังนี้ 1. เอกภาพ (Unity) 2. ดุลยภาพ (Balance) 3. จุดเด่น (Dominance) 4. ความกลมกลืน (Harmony) 5. ความขัดแย้ง (Contrast) หลักองค์ประกอบศิลป์ ภาพแสดงการจัดองค์ประกอบศิลป์
  • 14. เอกภาพ (Unity) หมายถึง การจัดทัศนธาตุของศิลปะให้มีความประสานกลมกลืน มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันเป็น กลุ่มก้อน ไม่กระจัดกระจาย และแสดงออกให้เห็นได้ถึงความพอดีของความงาม การจัดองค์ประกอบของภาพที่แสดงความ เป็นกลุ่มเป็นก้อน ความเป็นเอกภาพภายในภาพ ผลงานของ Hendrik Dieuenbach ภาพที่แสดงออกให้เห็นถึงความพอดีของความงาม ความเป็นเอกภาพภายในภาพ ผลงานของ Paul Klieg
  • 15. “วัดไหล่หินแก้วช้างยืน” ผลงานของทรงเดช ทิพย์ทอง ดุลยภาพ (Balance) หรือความสมดุล หมายถึง การนาทัศนธาตุ ทางศิลปะมาจัดองค์ประกอบศิลป์ให้มีความประสานกลมกลืน ความพอเหมาะพอดีของส่วนต่างๆ ความสมดุล แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. ความสมดุลแบบสองข้างเท่ากัน คือ การนาทัศนธาตุทางศิลปะมาจัดองค์ประกอบศิลป์ โดยให้น้าหนักทั้งสองข้างเท่ากันหรือเหมือนกัน ดูแล้วรู้สึกสงบนิ่ง มั่นคง เลื่อมใส 2. ความสมดุลแบบสองข้างไม่เท่ากัน คือ การนาทัศนธาตุ ทางศิลปะมาจัดองค์ประกอบศิลป์ โดยจัดวางให้ไม่เท่ากันหรือ ไม่เหมือนกันทั้งสองข้าง แต่มองดูแล้วให้ความรู้สึกว่าเท่ากัน จากน้าหนักโดยส่วนรวม ให้อารมณ์ ความรู้สึกเคลื่อนไหว “วัดไหล่หินแก้วช้างยืน” ผลงานของทรงเดช ทิพย์ทอง
  • 16. จุดเด่น (Dominance) หรือจุดสนใจ หมายถึง ส่วนสาคัญที่ปรากฏชัด สะดุดตาในผลงานศิลปะ ตาแหน่งของจุดเด่นนิยมจัด วางไว้ในระยะหน้า หรือระยะกลาง แต่ไม่ควรวางไว้ตรงกลางพอดี เพราะจะทาให้ภาพเกิดความรู้สึกนิ่ง ไม่เกิดการ เคลื่อนไหว จุดเด่นที่ดีควรมีเพียงจุดเดียว ตาแหน่งของจุดเด่นที่เหมาะสมสวยงาม ผลงานของ นายกฤษฎา แสงประชาธนารักษ์
  • 17. การเน้นจุดเด่น ได้แก่ 1. เน้นด้วยรูปร่าง รูปทรง หรือขนาด เป็นการนา รูปร่างรูปทรงที่มีลักษณะแตกต่างกันมาจัดรวมกัน จะทา ให้เกิดความเด่นชัดขึ้นในรูปทรงที่ต้องการเน้น 2. เน้นด้วยค่าน้าหนักของสี แสงเงา ให้มีความแตกต่าง กันจากน้าหนักอ่อนสุดไปยังน้าหนักเข้มสุด ซึ่งสามารถ สร้างจุดเด่นได้ ภาพที่มีขนาดใหญ่ ย่อมเห็นได้ง่าย และเด่นชัดกว่าขนาดเล็ก “ความสงบ” ผลงานของสุรสิทธิ์ เสาว์คง
  • 18. 3. เน้นด้วยสี การใช้สีต่างวรรณะกันจะช่วยเน้นภาพ ซึ่งกันและกัน เช่น ภาพที่มีสีวรรณะเย็น สามารถใช้สีวรรณะ อุ่นเข้าไปช่วยเน้นเพื่อให้เกิดความขัดแย้ง 4. เน้นด้วยเส้น เป็นการนาเส้นมาช่วยเน้นให้ภาพเกิด ความเด่นชัดขึ้น เช่น การตัดเส้นเน้นภาพในงานจิตรกรรมไทย การใช้เส้นนาพาสายตาไปยังจุดเด่นของภาพ ภาพแสดงการเน้นด้วยสี ภาพแสดงการเน้นด้วยเส้น ผลงานของฟินเซนต์ฟาน ก็อก ภาพจิตรกรรมฝาผนัง วัดภูมินทร์จังหวัดน่าน
  • 19. ความกลมกลืน (Harmony) 1. ความกลมกลืนด้วยเส้น เป็นการใช้เส้นในลักษณะ เดียวกันหรือทิศทางเดียวกันมาจัดรวมกัน 2. ความกลมกลืนด้วยรูปร่าง รูปทรง เป็นการนารูปร่าง รูปทรงที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือลักษณะใกล้เคียงกันมาจัดรวมกัน 3. ความกลมกลืนด้วยขนาด เป็นการจัดองค์ประกอบศิลป์ ในลักษณะการใช้ขนาดของรูปทรงที่ใกล้เคียงกันและ ลดหลั่นกันมาจัดรวมกัน
  • 20. 4. ความกลมกลืนด้วยทิศทาง ทิศทางที่เหมือนกัน ย่อมกลมกลืนกัน 5. ความกลมกลืนด้วยค่าน้าหนักของแสงเงา โดยการไล่ค่าน้าหนักอ่อน-แก่ 6. ความกลมกลืนด้วยลักษณะผิว โดยการนาลักษณะผิวหรือพื้นผิวที่เหมือนกันหรือใกล้เคียงกัน มาจัดรวมกันเพื่อให้เกิดความกลมกลืน 7. ความกลมกลืนด้วยสี เป็นการนาสีที่อยู่ในวรรณะเดียวกัน หรือสีใกล้เคียงกันมาจัดองค์ประกอบให้ประสานกลมกลืนกัน
  • 21. ความขัดแย้ง (Contrast) 1. ความขัดแย้งด้วยเส้น เป็นการนาเส้นที่มีลักษณะต่างกันมา สร้างความขัดแย้งในงานศิลปะ 2. ความขัดแย้งด้วยรูปร่าง รูปทรง เป็นการนารูปร่าง รูปทรง มีลักษณะไม่เหมือนกัน หรือลักษณะไม่ใกล้เคียงกันมาจัดรวมกัน 3. ความขัดแย้งด้วยขนาด เป็นการใช้ขนาดของรูปร่าง รูปทรง ที่มีขนาดใหญ่และขนาดเล็กแตกต่างกันมาจัดองค์ประกอบศิลป์ร่วมกัน
  • 22. 4. ความขัดแย้งด้วยทิศทาง เป็นการจัดวางให้ทิศทางของเส้น รูปร่าง รูปทรง แสงเงา ฯลฯ มีความขัดแย้งกัน การแก้ไขจะต้องลด ปริมาณความขัดแย้งของทิศทางให้เหลือน้อยลง 5. ความขัดแย้งด้วยสี เป็นการนาสี ตรงกันข้ามและสีตัดกันมาใช้ร่วมกัน 6. ความขัดแย้งด้วยพื้นผิว เป็นการนาลักษณะผิว ที่แตกต่างกันมาจัดรวมกันในงานศิลปะ เช่น ลักษณะผิวหยาบขัดแย้งกับลักษณะผิวเรียบ
  • 24. 2. ช่วยเสริมสร้างคุณค่าของงานวิจิตรศิลป์ โดยการนาหลักองค์ประกอบศิลป์ มาช่วยพัฒนางานศิลปะด้าน วิจิตรศิลป์ให้เกิดคุณค่าทางความงามมากขึ้น 3. ช่วยเสริมสร้างคุณค่าของงานประยุกต์ศิลป์ ให้เกิดคุณค่าทางประโยชน์ใช้สอยและคุณค่าทางความงาม ควบคู่กันไปอย่างเหมาะสม ทาให้เป็นที่สนใจและต้องการของสังคมภายในประเทศและพัฒนาสู่สังคมโลกได้ 4. ช่วยพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ในชีวิตประจาวันของตนเอง โดยการออกแบบตกแต่งที่อยู่อาศัย สานักงาน เวทีการแสดง 5. ช่วยพัฒนาบุคลิกภาพของตนเอง ใช้ในการแต่งกาย การจัดวางอิริยาบถให้ดูดี และมีความสัมพันธ์ ไปถึงเรื่องสุขภาพที่ดีด้วย เช่น การนั่ง การหิ้วของ การเล่นกีฬา บางครั้งก็ต้องใช้หลักการของความสมดุล ถ้าไม่ได้จังหวะอาจส่งผลเสียต่อร่างกาย 6. ช่วยพัฒนาสุนทรียภาพ ยกระดับจิตใจให้ละเอียดอ่อน มองโลกในแง่ดี รักความประณีตสวยงาม มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย และดารงชีวิตอย่างมีความสุข