SlideShare a Scribd company logo
เอกสารสรุปการสอบปลัดอาเภอนี้ ข้าพเจ้าจัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสอบ
ปลัดอาเภอในปี 2559 ซึ่งมีการนาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มาอ่านแล้วสรุปเป็นประเด็นตามความ
เข้าใจของข้าพเจ้าเอง ข้อมูลจากสรุปนั้นมีการเอามาจากแหล่งต่างๆ ดังนี้
1. เอกสารประกอบการติวสอบปลัดอาเภอต่างๆ จากอาจารย์เศรษฐา เณรสุวรรณ (ป.Mc)
ปล.อาจารย์ที่ติว
2. คู่มือเตรียมสอบปลัดอาเภอ 2558 โดยกลุ่มราชสีห์ยุคใหม่ (เล่มสีฟ้ า+แนวข้อสอบเล่ม
สีเหลือ)
3. หนังสืออื่นๆ
การสอบปลัดอาเภอปี 2559 ข้าพเจ้าได้บรรลุผลตามความคาดหวังแล้ว และมีความตั้งใจ
ที่จะเผยแพร่สรุปที่ได้จัดทาขึ้นนี้เพื่อให้ผู้ทีมีความตั้งใจจะสอบปลัดอาเภอทุกๆ ท่านได้นาไปใช้
ประโยชน์ในการสอบครั้งต่อๆไป
นายกวีพงษ์เชิดชู
ลาดับที่ 373/2559
หมายเหตุ พรก. ในสรุปนี้ข้าพเจ้าย่อมาจากพระราชกฤษฎีกานะครับ มิใช่ พระราชกาหนด
การบริหารเบื้องต้น
การบริหาร (Administration) --> การทางานให้สาเร็จโดยใช้บุคคลอื่น
"การบริหาร" (Administration) --> "ระบบราชการ"
"การจัดการ" (Management) --> "เอกชน ภาคธุรกิจ"
ทรัพยากรในการบริหาร
- 4M
- 6M
ตลาด (Market)
เครื่องจักร (Machine)
ทฤษฎีในการบริหาร
1.ทฤษฎีระบบ --> องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กัน
David Eston
Input --> Process --> Output
-----Feedback----
2.ทฤษฎีแรงจูงใจ --> มนุษย์มีความต้องการเป็นลาดับขั้น
Maslow
- อยู่รอด
- ปลอดภัย
- ใฝ่หารัก
- พรรคนิยม
- อุดมคติ
3.ทฤษฎีกระบวนการบริหาร
"POSDCoRB" --> Gulicd และ Urwick
- Planning การวางแผน
- Organizing การจัดองค์กร
- Staffig การจัดคนเข้าทางาน
- Directing การสั่งการ
- Coordinating การประสานงาน
- Reporting การรายงาน
- Budgeting งบประมาณ
PA_POSDCoRB
- Policy --> การกาหนดโทษ
- Authoity --> การใช้อานาจ
ระดับของผู้บริหารสมัยใหม่
ผู้บริหารระดับสูง (Top and Senior Manager) --> กาหนดวิสัยทัศน์กลยุทธ์
ผู้บริหารระดับกลาง (Middle Manager) --> กาหนดและนากลยุทธ์ไปปฏิบัติกระตุ้นและ
สร้างทีมงาน
ผู้บริหารระดับต้น/หัวหน้างาน (Supervisor) --> ฝึกสอน/พี่เลี้ยง แนะนา สอนงาน แก้ไขปัญหา
การบริหารภาครัฐแนวใหม่
New Public Management
นิยาม
การนาเครื่องมือหรือเทคนิคทางการบริหารของเอกชนมาใช้ในการพัฒนาหรือปรับปรุงการทางาน
ของภาคราชการ
เหตุผลของการนามาใช้
- กระแสโลกาภิวัฒน์
- ความเสื่อมถอยของระบบราชการและขาดธรรมาภิบาล
การบริหารภาครัฐแนวใหม่
ถูกนามาใช้ในปี พ.ศ.2545 โดยถูกกาหนดอยู่ในกฎหมาย 2 ฉบับ คือ
- พ.ร.บ.บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 5 พ.ศ.2545
มาตรา 3/1 หลักในการบริหารของ "รัฐบาล"
- พรก.หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546
มาตรา 12 หลักในการบริหารของ "ส่วนราชการ"
มาตรา 3/1 --> รัฐบาล
1. ประโยชน์สุขของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของภาครัฐ
3. ความมีประสิทธิภาพ
4. ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ
5. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
6. ลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานไม่จาเป็น
7. กระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น
8. กระจายอานาจการตัดสินใจ
9. อานวยความสะดวก
10. ตอบสนองความต้องการของประชาชน
*ต้องมีผู้รับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อักษร*
มาตรา 12 --> ส่วนราชการ
1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน
2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของภาครัฐ
3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า
4. ไม่มีขั้นตอนเกินความจาเป็น
5. ปรับปรุงส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์
6. ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวก และได้รับการตอบสนองความต้องการ
7. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ
การวางแผนเชิงกลยุทธ์
"Strategic Planning"
ทหาร --> ยุทธวิธี --> รบ
เอกชน --> การวางแผนกลยุทธ์ --> เพื่อประสบความสาเร็จ
ราชการ --> การวางแผนยุทธศาสตร์ --> เพื่อพัฒนางาน
ความแตกต่างระหว่างแผนเชิงกลยุทธ์กับแผนทั่วไป
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การวางแผนทั่วไป
ภาพรวม(กว้างๆ) แผนเฉพาะเรื่อง
หลักการวางแผนเชิงกลยุทธ์
- องค์กรต้องการไปสู่จุดไหน Where do we want go?
- ปัจจุบันอยู่ ณ จุดใด Where are we now?
- เราจะไปสู่จุดหมายที่ต้องการได้อย่างไร How do we get there?
วางแผน --> นาไปปฏิบัติ --> ติดตามผล
กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์
มี 8ขั้นตอน
1.กาหนดภารกิจหลัก --> Mission --> สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงจุดมุ่งหมายในการดารงอยู่ขององค์กร
2.วิเคราะห์องค์กร --> SWOT--> จุดแข็ง จุดออ่อน โอกาส ภัยคุกคาม หรืออุปสรรค
3.กาหนดวิสัยทัศน์ --> Vision --> สิ่งที่อยากจะให้องค์กรเป็น ในอีก 3-5 ปีข้างหน้า
4.กาหนดประเด็นยุทธ์ศาสตร์ --> Strategic Issues --> สิ่งที่ต้องคานึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น
5.กาหนดเป้าประสงค์ --> Goal --> สิ่งที่องค์กรต้องการจะบรรลุ หรือองค์กรต้องการจะให้เกิดขึ้น
6.กาหนดตัวชี้วัด --> KPI --> สิ่งที่แสดงว่าองค์กรสามารถดาเนินงานได้บรรลุตามเป้าประสงค์
7.กาหนดค่าเป้าหมาย --> Target --> ตัวเลขหรือค่าที่องค์กรต้องการดาเนินการให้บรรลุตามตัวชี้วัด
8.กาหนดกลยุทธ์ --> Strategy --> แนวทางหรือวิธีการที่องค์กรจะดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์
ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดภารกิจหลักขององค์กร (Mission)
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ SWOT
วิเคราะห์จุดแข็ง - จุดอ่อน --> ภายในองค์กร -->ให้รู้จักเรา
(S) (W) Internal
วิเคราะห์โอกาส - อุปสรรค --> ภายนอก --> ให้รู้จักสภาพแวดล้อมภายนอก
(O) (T)
ขั้นตอนที่ 3
*วิสัยทัศน์ที่ดี
1. เป็นภาพฝันในอนาคต
2. เป็นสิ่งที่น่าสนใจสาหรับบุคคลต่างๆที่เกี่ยวข้อง
3. มีความเป็นไปได้ที่จะให้เกิดขึ้น
4. มีความชัดเจนเพียงพอที่จะใช้ในการวางแนวทางการพัฒนาองค์กร
5. สามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น
6. สื่อสารได้ง่ายและชัดเจน
7. กาหนดระยะเวลา
ขั้นตอนที่ 4 การกาหนดประเด็นกลยุทธ์
- เอาข้อมูลมาจาก SWOT มาใช้ในการกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เช่น
จุดแข็ง (S) --> เสริมให้ดีขึ้น
จุดอ่อน (W) --> แก้ไขให้ดีขึ้น
"ต้องคานึงถึงการพัฒนา เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กาหนด"
ขั้นตอนที่ 5 การกาหนดเป้าประสงค์ (Goal)
"สิ่งที่ต้องการให้เกิดในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์"
*เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์
1 ประเด็นยุทธศาสตร์ = 1 เป้าประสงค์
(นามธรรม) (รูปธรรม)
ขั้นตอนที่ 6 การกาหนดตัวชี้วัด KPI
"กาหนดสิ่งที่แสดงว่าองค์กรดาเนินการได้บรรลุตามเป้าประสงค์"
ขั้นตอนที่ 7 การกาหนดค่าเป้าหมาย (Target)
"กาหนดตัวเลขหรือค่าของตัวชี้วัด ที่องค์กรต้องการให้บรรลุตัวชี้วัด"
ขั้นตอนที่ 8 การกาหนดกลยุทธ์
"แนวทาง/วิธีการในการดาเนินการ"
*1กลยุทธ์สามารถกาหนดได้หลายโครงการ
เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่
1. "การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)"
การปกครองที่เป็นธรรม ถูกต้องตามศีลธรรม
หลักธรรมาภิบาล
1. นิติธรรม
2. คุณธรรม
3. โปร่งใส
4. มีส่วนร่วม
5. รับผิดชอบ
6. คุ้มค่า
2. การวิเคราะห์องค์กร (SWOT)
ปัจจัยภายใน --> ควบคุมได้
ปัจจัยภายนอก --> ควบคุมไม่ได้
3. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
Public Sector Management Quality Award
นิยาม
"การประเมินและปรับปรุงตนเอง เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้เท่าเทียมกับมาตรฐานสากล"
PMQA มีทั้งหมด 7 ข้อ
1. การนาองค์กร
2. การวางแผนกลยุทธ์
3. ให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
4. วัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้
5. มุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล
6. จัดกระบวนการ
7. ผลการดาเนินงาน
4. การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
นิยาม
"การรวบรวมความรู้ที่มีในองค์กร ที่กระจายอยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ"
ประเภทของ KM
1. อยู่ในตัวคน --> ไม่สามารถถ่ายทอดได้ (นามธรรม)
เช่น ประสบการณ์
2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง --> ถ่ายทอดได้ (รูปธรรม)
เช่น ทฤษฎี ทักษะการทางาน คู่มือต่างๆ
องค์ประกอบ
- คน
- เทคโนโลยี
- กระบวนการความรู้
แนวคิด
- แผนผังอิชิคาวะ
- แผนผังก้างปลา
- ตัวแบบปลาตะเพียน
5. การประเมินสมรรถนะ (Competency)
"พฤติกรรมที่องค์กรหรือหน่วยงาน ต้องการจากบุคคลากร เพราะเชื่อว่าถ้าทาในสิ่งที่กาหนด จะทาให้งานดีและ
บรรลุเป้าหมาย"
สมรรถนะของข้าราชการ
1. มุ่งผลสัมฤทธิ์
2. เต็มใจให้บริการ
3. สั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ
4. ยึดมั่นในความถูกต้อง ชอบธรรม จริยธรรม
5. ทางานเป็นทีม
6. การจัดทาคารับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Commitment)
"การทาข้อตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร"
(หาผู้รับผิดชอบงาน)
7. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Base Management : RBM) --> ใช้ในราชการของสวีเดน
"การบริหารที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ขององค์กร"
ผลผลิต (Output) --> วัดค่าได้ (รูปธรรม)
เช่น ปลูกมะม่วง ก็ต้องได้มะม่วง
ผลลัพธ์ (Outcome) --> วัดค่าไม่ได้ (นามธรรม)
เช่น ปลูกมะม่วง ผลที่ได้คือ ความอิ่มจากการกินมะม่วง หรือรสชาดจากมะม่วง
ผลสัมฤทธิ์ = ผลผลิต + ผลลัพธ์
(Result) Output Outcome
8. การประเมินผลความสาเร็จรอบด้าน (Balance Scorecard : BSC)
Kaplan และ Norton
"Balance Scorecard"
เอกชน ราชการ
มุมมองด้านการเงิน (กาไร) = ประสิทธิผล
มุมมองด้านลูกค้า = ความพึงพอใจ
มุมมองด้านกระบวนการภายใน = ประสิทธิภาพ
มุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนา = การพัฒนาองค์กร
9. การเปรียบเทียบองค์กร (Benchmarking) --> มาจากสารวจที่ดิน
"เปรียบเทียบเพื่อปรับปรุงให้เท่ากับคนอื่น หรือดีกว่าคนอื่น"
การเปรียบเทียบแบ่งเป็น 4 ประเภท
1. ในองค์กร
2. คู่แข่ง
3. ตามหน้าที่
4. ทั่วไป
10. การออกแบบกระบวนการใหม่ (Re-Engineering)
"รื้อระบบการทางาน"
Re-Engineering
1. เน้นความความสาคัญของลูกค้า
2. ผิดที่กระบวนงาน
3. เริ่มที่กระดาษเปล่า
11. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
"กระบวนการจัดการให้โอกาสเกิดความเสี่ยงลดลง"
การจัดการความเสี่ยง
1. ยอมรับความเสี่ยง
2. ลดหรือควบคุมความเสี่ยง
3. กระจายความเสี่ยง/โอนความเสี่ยง
4. การเลี่ยงความเสี่ยง
12. การกาหนดตัวชี้วัด (Key Performance Indicators : KPI)
"วัดผลการดาเนินงานว่าบรรลุตามเป้าหมาย"
โครงการ
ลักษณะของโครงการที่ดี
1. สามารถตอบสนองความต้องการ หรือแก้ปัญหาขององค์กรหรือหน่วยงานได้
2. มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจน สามารถดาเนินงานและปฏิบัติได้
3. รายละเอียดของโครงการที่สอดคล้องและสัมพันธ์กัน
4. เข้าใจง่าย และสะดวกต่อการดาเนินงาน
5. นาไปปฏิบัติได้ สอดคล้องกับแผนงานหลักขององค์กรและประเมินผลได้
6. ต้องกาหนดขึ้นจากข้อมูลที่เป็นจริง และได้รับการวิเคราะห์อย่างรอบคอบ
7. ได้รับการสนับสนุนในด้านทรัพยากร และการบริหาร
8. มีระยะเวลาในการดาเนินงาน
รูปแบบของโครงการ
1. ชื่อโครงการ
2. หลักการและเหตุผล
3. วัตถุประสงค์ มีได้มากกว่า 1 ข้อ ต้องคานึงถึงหลัก 5 ประการ (SMART)
1. S = ชัดเจนและเป็นไปได้
2. M = วัดได้
3. A = บรรลุผลได้
4. R = เป็นเหตุเป็นผล
5. T = เวลา
4. เป้าหมาย
5. ขั้นตอนการดาเนินงาน
6. สถานที่ดาเนินการ
7. ระยะเวลา
8. งบประมาณ
9. การวัดและประเมินผลโครงการ
10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
11. ผู้รับผิดชอบโครงการ
เทคนิคการเขียนโครงการ 6W2H ประกอบด้วย
1. ทาทาไม Why
2. ทาอะไร What
3. ทาที่ไหน Where
4. ทาเมื่อไหร่ When
5. ใครทา Who
6. ทาเพื่อใคร Whom
7. ทาอย่างไร How
8. ทาเท่าไหร่ How much
งบประมาณและทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ
ใช้หลัก 4 E ประกอบด้วย
1. Economy ประหยัด
2. Efficiency ประสิทธิภาพ
3. Effectiveness ประสิทธิผล
4. Equity ความยุติธรรม
แนวทางการเขียนโครงการ มี 2 แนวทาง
1. การเขียนโครงการแบบประเพณีนิยม (แบบดั้งเดิม) 6W2H ประกอบด้วย
1. Program ชื่อแผน
2. Project Title ชื่อโครงการ
3. Rationale for Project หลักการและเหตุผล
4. Objectives วัตถุประสงค์
5. Targets เป้าหมาย
6. Procedure การเนินงาน
7. Duration ระยะเวลา
8. Bud jets and Resources งบประมาณ และทรัพยากร
9. Project Manager ผู้รับผิดชอบโครงการ
10. Sponsor หน่วยงานในการสนับสนุน
11. Project Evou การประเมินผลโครงการ
12. Expected Outcome ผลที่คาดว่าจะได้
2. การเขียนแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ (Matrix)
- Ultimate goal วัตถุประสงค์สูงสุด
- Intermediate goal วัตถุประสงค์ระดับกลาง
- Outputs วัตถุประสงค์ระดับล่าง
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2534
นายกรัฐมนตรี --> รักษาการ
บังคับใช้ถัดจากวันประกาศ
การแบ่งส่วนราชการ คานึงถึง 2 ประการ
1.คุณภาพ
2. ปริมาณงาน
ระเบียบบริหารแผ่นดิน
ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่นส่วนกลาง
(แบ่งอานาจ) (กระจายอานาจ)(รวมอานาจ)
ส่วนที่ 1
ระเบียบ บริหารราชการส่วนกลาง
ส่วนกลาง
กระทรวง ทบวง
ที่มีฐานะเท่ากระทรวง
ทบวง --> สังกัดสานักนายกสานักนายกรัฐมนตรี กรม/ส่วนราชการที่มีฐานะเท่ากรม
สังกัด/ไม่สังกัด สานักนายก
เป็นนิติบุคคล
จัดตั้ง รวม โอน
พรบ.
ยุบ เปลี่ยนแปลงชื่อ
พรก.
ยกเว้น
*ปัจจุบันมี 20 กระทรวง
*
*กลุ่มภารกิจ
1. สานักนายกรัฐมนตรี
ผู้บังคับบัญชา
-
-
จัดตั้ง
รวม
โอน
ขึ้นใหม่ที่
ไม่กาหนดตาแหน่ง
อัตราของ ขรก.
ลูกจ้างเพิ่มขึ้น
พรก.
จังหวัด นิติบุคคล
อาเภอ ไม่เป็นนิติบุคคล
สานักงานรัฐมนตรี ไม่มีฐานะเป็นกรม ไม่เป็นนิติบุคคล
กฎกระทรวง
ส่วนราชการระดับกรม
2 ส่วนราชการขึ้นไป
อยู่ภายใต้กลุ่ม
ภารกิจเดียวกัน
หน.ภารกิจ
ไม่ต่ากว่า อธิบดี
นายกรัฐมนตรี บังคับบัญชา ขรก.
รองนายกฯ รมต.ประจาสานักนายก
ผู้ช่วยสั่ง *
ปฏิบัติราชการ *
ปลัดสานักนายก
นิติบุคคลรองปลัดสานักนายก
ผช.ปลัดสานักนายก
เป็น ขรก.พลเรือนสามัญ
หน้าที่
1. ควบคุม ขรก.ในสานักนายก
2. เป็นผู้บังคับบัญชา ขรก.ของส่วนราชการ ในสานักนายก รองจาก นายกฯ รองนายกฯ และรมต.ประจา
สานักนายก
3.บังคับบัญชา ขรก.และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ของสานักปลักสานักนายกฯ
สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
1.
2.
3.
4.
สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
สานักเลขาฯ นายก หน้าที่เกี่ยวกับการเมือง
เลขาฯ นายก ผู้บังคับบัญชา ขรก.การเมือง
รองเลขาฯ นายก ฝ่ายการเมือง ขรก.การเมือง
รองเลขาฯ นายก ฝ่ายบริหาร ขรก.พลเรือน
ผช.เลขาฯ นายก ขรก.พลเรือน
หน้าที่เกี่ยวกับ
ราชการในพระองค์**
รัฐสภา
ราชการของคณะรัฐมนตรี
1.
2.
3.
2. กระทรวง/ทบวง
ประกอบด้วย 3 ส่วน
1.
2.
3.
การบังคับบัญชา
1. รมต. --> บังคับบัญชา + รับผิดชอบงานในกระทรวง
2. รมช. --> ช่วยสั่ง + ปฏิบัติราชการ --> ตามที่ รมต.มอบหมาย
3. ป.กระทรวง --> แปลงนโยบาย --> เป็นแนวทาง + แผนการปฏิบัติราชการ
4. รอง ป.กระทรวง --> ช่วยสั่ง + ปฏิบัติราชการ --> ที่ ป.กระทรวงมอบหมาย
สานักงานรัฐมนตรี
มีหน้าที่เกี่ยวกับ --> ราชการทางการเมือง
1. เลขารัฐมนตรี --> ผู้บังคับบัญชา --> ขรก.การเมือง
2. ผช.เลขา --> 1 คนหรือหลายคนก็ได้ --> ขรก.การเมือง
เลขาฯ ครม. บังคับบัญชา ขรก. ขรก.พลเรือน
รองเลขาฯ ครม. ขรก.พลเรือน
ผช.เลขาฯ ครม. ขรก.พลเรือน
สานักงานรัฐมนตรี ไม่มีฐานะเป็นกรม และไม่เป็นนิติบุคคล
สานักงานปลัดกระทรวง มีฐานะเป็นกรม นิติบุคคล
กรม นิติบุคคล
สานักงานปลัดกระทรวง
หน้าที่
1. ราชการทั่วไปของกระทรวง + ราชการที่ ครม.ไม่ได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใด ในสังกัด
กระทรวงโดยเฉพาะ
2. กากับ + เร่งรัด การปฏิบัติราชการในกระทรวง --> ให้เป็นไปตามนโยบาย + แผนการปฏิบัติราชการ
ของกระทรวง
3.ทบวง
ราชการ --> สภาพ + ปริมาณงาน ไม่เหมาะที่จะจัดตั้งเป็นกระทรวง ประกอบด้วย
1. สานักงานรัฐมนตรี
2. สานักงานปลัดกระทรวง
3. กรม
4. กรม
ผู้บังคับบัญชา
1. อธิบดี --> บังคับบัญชา ขรก. + รับผิดชอบการปฏิบัติราชการของกรม
2. รองอธิบดี
5. การปฏิบัติราชการแทน
ปฏิบัติราชการแทน --> การมอบอานาจของผู้มีอานาจตามกฎหมาย --> ให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา/
มอบให้ ผวจ.
หลักเกณฑ์การมอบอานาจ
1. เมื่อมอบอานาจแล้ว --> ผู้รับมอบมีหน้าที่ต้องรับมอบ (ไม่สามารถปฎิเสธได้)
2. ผู้มอบ --> จะกาหนดให้ผู้รับมอบ --> มอบอานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งอื่นต่อไปได้
3. กรณี มอบให้ ผวจ. --> ครม. จะกาหนดหลักเกณฑ์ --> ให้ ผวจ. มอบอานาจให้ รองผวจ.+ปจ+หน.
ส่วนฯ
4. การมอบต้องทาเป็นหนังสือ
กรม
กอง
สนง.เลขานุการกรม
5. การมอบ --> ให้พิจารณา --> การอานวยความสะดวกแก่ประชาชน + ความรวดเร็วในการปฏิบัติ
ราชการ + การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตาแหน่งของผู้รับมอบอานาจ
6. เมื่อมอบแล้ว ผู้มอบมีหน้าที่
- กากับดูแล
- ติดตามผลการปฏิบัติราชการ
- มีอานาจแนะนา/แก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบได้
6. การรักษาราชการแทน
รักษาราชการแทน --> ผู้มีอานาจไม่อาจปฏิบัติราชการได้/ไม่มีผู้ดารงตาแหน่ง/มีแต่ไม่สามารถ
ปฏิบัติราชการได้
1.
2.
3.
4.
นายกรัฐมนตรี
ไม่มีรอง/มีแต่ทางานไม่ได้ครม.มอบ รมต.
มีรองหลายคน ครม.มอบรองคนใดคนหนึ่ง
รองนายก
รมต.
ไม่มี รมต.ช่วย/มีแต่ทางานไม่ได้ครม. --> มอบ รมต.คนใดคนหนึ่ง
รมต.ช่วยหลายคน ครม. --> มอบ รมต.ช่วยคนใดคนหนึ่ง
รมต.ช่วย
เลขารัฐมนตรี
ไม่มีเลขาฯ/มีแต่ทางานไม่ได้รมต. --> มอบ ขรก.ในกระทรวง
ผช.เลขา หลายคน รมต.มอบ
ผช.เลขา
ป.กระทรวง
ไม่มีรอง ป.กระทรวง/มีแต่ทางานไม่ได้
- รมต. --> แต่งตั้ง ขรก.ไม่ต่ากว่าอธิบดี/เทียบเท่า
รอง ป.หลายคน
รมต. --> แต่งตั้ง รองฯ
รอง ป.กระทรวง
นายก --> แต่งตั้ง
กรณี สานักนายก
กรณี สานักนายก
ไม่มีรอง ป.กระทรวง
ป.กระทรวง --> แต่งตั้ง ขรก. ไม่ต่ากว่า ผอ.กอง/เทียบเท่า
5.
*ผู้รักษาราชการแทน --> มีอานาจเช่นเดียวกับผู้ที่ตนแทน
*ไม่บังคับใช้ในราชการทหาร
7.ราชการในต่างประเทศ
** กระทรวงแบ่งท้องที่เป็นเขต --> วัตถุประสงค์เพื่อ --> ปฏิบัติงานทางวิชาการ
** ผู้ตรวจราชการกระทรวง --> พิจารณาจาก --> สภาพและ ปริมาณงาน
อธิบดี
ไม่มีเลขาฯ/มีแต่ทางานไม่ได้
ป.กระทรวง --> แต่งตั้ง ขรก.ในกรม เทียบเท่ารองอธิบดี/หน.กอง
รองหลายคน
ป.กระทรวง --> แต่งตั้ง
รองอธิบดี
ราชการในต่างประเทศ
รอง หน.คณะผู้แทน
หน.คณะผู้แทน
คณะผู้แทน
การบริหารราชการส่วนภูมิภาค
1. จังหวัด
ส่วนราชการที่ไม่ได้อยู่ในกากับ ของ ผวจ.
อานาจในการบังคับบัญชาของ ผวจ.
1. บังคับบัญชา ขรก.ฝ่ายบริหาร
2.กากับดูแลการปฏิบัติราชการ
3. ยับยั้งการกระทาใดๆ ของ ขรก ที่ขัดต่อกฎหมาย
4. ประสานงานและร่วมมือกับทหารฯลฯ
5.กากับการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานรัฐวิสาหกิจ
6. บรรจุ และแต่งตั้ง ลงโทษ ขรก ส่วนภูมิภาค
คณะกรมการจังหวัด
1. ผวจ. ประธาน
2. รองผวจ. 1 คน รองประธาน
3. หน.ส่วนประจาจังหวัด เช่น ปจ. อัยการจังหวัด กรรมการ
4. หน.สนง.จังหวัด กรรมการและเลขา
หน้าที่
1. จัดทาแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ
2. ความต้องการของประชาชนในจังหวัด
ตั้ง
ยุบ
เปลี่ยนแปลงเขต
พรบ.
นิติบุคคล
ขรก.ครู
No จังหวัดขรก.ใน สตง.
ขรก.ในมหาลัย ขรก.ฝ่ายอัยการ
ขรก.ตุลาการ
ทหาร
ผู้บังคับบัญชา
1.
2.
*รอง ผวจ. --> ป.มท. แต่งตั้งและสั่งบรรจุ
*ผวจ. + รองผวจ. + นอ. = สังกัด ก.มท. + No --> กรมการปกครอง
3.
4.
*คกก.ธรรมาธิบาล (ก.ธ.จ.) --> สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐใน
จังหวัด
การแบ่งส่วนราชการ
1. สนง.จังหวัด --> มีหน้าที่ราชการทั่วไป + การวางแผนพัฒนาจังหวัด --> หน.สนง.จ. = ผู้บังคับบัญชา
2. ส่วนต่างๆ ที่กระทรวง ทบวง กรม จัดตั้งขึ้น --> เกี่ยวกับราชการ --> มีหน.ส่วนราชการเป็นผู้ปกครอง
2. อาเภอ
ผวจ.
รับผิดชอบราชการในจังหวัด และอาเภอ
บังคับบัญชา ขรก.ฝ่ายบริหารในภูมิภาครับนโยบาย
มาปฏิบัติ
ปฏิบัติราชการแทน ผวจ.
ผู้ช่วยสั่ง
รอง ผวจ.
ปจ.
หน.ส่วนราชการประจาจังหวัด
สังกัด กระทรวง ทบวง กรม
ที่ส่งมาทาหน้าที่เป็น ผช.
ตั้ง
ยุบ
เปลี่ยนแปลงเขต
พรก.
No นิติบุคคล
การแบ่งส่วนราชการ
การบังคับบัญชา
1.
2.
3.
คณะบุคคลที่ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ย
1. นอ. พนักงานอัยการประจาจังหวัด / ปอ.ที่ได้รับมอบหมาย --> ประธาน
2. บุคคล จากบัญชีรายชื่อ --> ที่นอ.จัดทาขึ้นโดยความเห็นชอบจากคณะกรมการจังหวัด --> ให้คู่พิพาท
เลือกมาฝ่ายละ 1 คน
อาเภอ
สนง.อาเภอ
หน.ส่วนระดับอาเภอ
นอ. = ผู้ปกครอง
หน.ส่วน = ผู้ปกครอง
นอ. สังกัด มท. บริหารราชการในเขตอาเภอ
ปจ.
หน.ส่วน
สังกัด กระทรวง ทบวง กรม
ที่ส่งมาทาหน้าที่เป็น ผช.
ช่วยเหลือ นอ.
บังคับบัญชา ขรก.ในภูมิภาค
ที่สังกัด กระทรวง ทบวง กรม
เงื่อนไขในการไกล่เกลี่ย
ทางแพ่ง
ข้อพิพาทไม่เกิน 200,000 บาทหรือมากกว่านั้น
เป็นเรื่องพิพาทเกี่ยวกับที่ดิน มรดก
ฝ่ ายหนึ่งมีภูมิลาเนาในเขตอาเภอ
การไกล่เกลี่ย
ทางอาญา
ผู้ไกล่เกลี่ย
ความผิดยอมความได้ไม่ใช่ความผิดเกี่ยวกับเพศ
ความผิดเกิดในเขตอาเภอ
นอ
.
ปอ.ที่ นอ.มอบหมาย
คู่กรณียินยอม
การรักษาราชการแทน --> ในอาเภอ
1. ไม่มี นอ. --> ผวจ. แต่งตั้ง ปอ./หน.ส่วนประจาอาเภอ ผู้อาวุโส --> รักษาราชการแทน
2. มี นอ. แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ --> นอ.แต่งตั้ง ปอ./หน.ส่วนอาเภอ --> รักษาราชการแทน
3. ผวจ. + นอ. --> ไม่ได้แต่งตั้งให้ผู้ใดรักษาราชการแทน --> ปอ./หน.ส่วนอาเภอ --> รักษาราชการแทน
ส่วนราชการระดับอาเภอ --> 9 หน่วย
1. สนง.คลังจังหวัด ณ อาเภอ
2. สนง.ประมงอาเภอ
3. สนง.ปศุสัตว์อาเภอ
4. สนง. เกษตรอาเภอ
5. ที่ทาการปกครองอาเภอ
6. สนง.ที่ดินอาเภอ
7. สนง.พัฒนาชุมชนอาเภอ
8. เรือนจาอาเภอ
9. สนง.สาธารณสุขอาเภอ
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
มี 4 ส่วน
1. อบจ.
2. เทศบาล
3. สุขาภิบาล
4. ส่วนราชการอื่น ตามกฎหมายกาหนด ปัจจุบัน มี 3 ส่วน คือ
4.1 อบต.
4.2 กทม.
4.3 เมืองพัทยา
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)
จานวนไม่เกิน 14 คน
1. นายกฯ ประธาน
2. นายกฯ กาหนด รมต. 1 คน รองประธาน
3. ผู้ซึ่งคณะกรรมการกระจายอานาจให้แก่ อปท.มอบหมาย 1 คน
4. ผู้ทรงคุณวุฒิ --> ไม่เกิน 10 คน
- ครม. --> แต่งตั้ง ผู้ที่มีความรู้ + ความเชี่ยวชาญด้าน นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์
บริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงินการคลัง สังคมวิทยา --> ด้านละ 1 คน
- ครม. --> กาหนดให้ผู้ทรงฯ ไม่น้อยกว่า 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน --> ทางานเต็มเวลา
5. เลขาธิการ ก.พ.ร. --> เป็นกรรมการและเลขา
**ดารงตาแหน่งคราวละ 4 ปี --> แต่งตั้งได้ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน
พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551
นายกรัฐมนตรี --> รักษาการ
บังคับใช้ถัดจากวันประกาศ
นิยาม
“ขรก.พลเรือน” --> บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตาม พรบ.นี้ --> ได้รับเงินเดือน
จากเงินงบประมาณในกระทรวง --> กรมฝ่ายพลเรือน
*** พนักงานส่วนท้องถิ่น + ทหาร ไม่ใช่ฝ่ายพลเรือน
ประเภทของ ขรก.พลเรือน
1. ขรก.พลเรือนสามัญ
2. ขรก.พลเรือนในพระองค์
“ปลัดกระทรวง” --> ป.สานักนายก + ป.ทบวง
คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.)
คกก.ขรก.พลเรือน (ก.พ.) จานวน 10 – 12 คน
โครงสร้าง
1. นายก/รองนายกฯ ที่นายกมอบหมาย ประธาน
2. ป.ก.คลัง
3. ผอ.สานักงบประมาณ
4. เลขา คกก.พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
5. เลขา กพ.
6. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ผู้ทรงคุณวุฒิ
1. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าแต่งตั้ง จานวน ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน
2. เป็นผู้มีความรู้ด้าน
1. การบริหารทรัพยากรบุคคล
2. ด้านการบริหารและจัดการ
3. ด้านกฎหมาย
กรรมการโดยตาแหน่ง
3. วาระการดารงตาแหน่ง 3 ปี --> พ้นแล้วแต่งตั้งได้อีก
สนง.กพ.
หน้าที่ สนง.กพ. --> มี 14 ข้อ
7. จัดทายุทธศาสตร์ การดาเนินงาน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล
9. ดาเนินการเกี่ยวกับทุนเล่าเรียนหลวง ทุนรัฐบาล
10. ดูแลบุคลากรภาครัฐ และนักเรียนทุน
11. รับรองคุณวุฒิ
12. รักษา ทบ.ประวัติ และการควบคุม เกษียณอายุของ ขรก.
13. จัดทารายงานประจาปี เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ต่อ --> กพ. และครม.
สานักงาน กพ. เลขา กพ. เป็นผู้บังคับบัญชา ขึ้นตรงต่อนายก
คณะอนุกรรมการสามัญ อ.กพ.กระทรวง
อ.กพ.กรม
อ.กพ.จังหวัด
อ.กพ.ประจาส่วนราชการอื่น
คณะอนุกรรมการสามัญ (อ.ก.พ.)
ประเภท อ.ก.พ. จานวน ประธาน รอง
ผู้แทน
ขรก.
สนง.
ก.พ.
อนุกรรมการที่ ประธานแต่งตั้ง
หน้าที่
จานวน
ผู้ทรงคุณวุฒิ ขรก.ที่ดารงตาแหน่ง
ผู้มีความรู้ จานวน ประเภท จานวน
1. อ.ก.พ.
กระทรวง
ไม่เกิน
11 คน
รมต. ป.
กระทรวง
1 คน ไม่เกิน
8 คน
1. ด้านการบริหารทรัพยากร
บุคคล
2. ด้านการบริหารและการ
จัดการ
3. ด้านกฎหมาย
ไม่เกิน
3 คน
ประเภทบริหารระดับสูง ใน
กระทรวง
ไม่เกิน
5 คน
1.กาหนดนโยบาย
ระเบียบ
2.เกลี่ยอัตรากาลัง
3.ดาเนินการทางวินัยและ
ให้ออก
2. อ.ก.พ. กรม " อธิบดี รองอธิบดี - ไม่เกิน
9 คน
"
ไม่เกิน
3 คน
ประเภทบริหาร/อานวยการ ไม่เกิน
6 คน
1.กาหนดนโยบาย
ระเบียบ
2.เกลี่ยอัตรากาลังในกรม
3.ดาเนินการทางวินัยและ
ให้ออก
3. อ.ก.พ.
จังหวัด
" ผวจ. รอง ผวจ. - ไม่เกิน
9 คน
"
ไม่เกิน
3 คน
ประเภทบริหาร/อานวยการ ไม่เกิน
6 คน
1.กาหนดนโยบาย
ระเบียบ
2.ดาเนินการทางวินัยและ
ให้ออก
3.ปฏิบัติตาม อ.ก.พ.
กระทรวง/
อ.ก.พ. กรม มอบหมาย
คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม
คกก.พิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) --> ทางานเต็มเวลา
1. คณะกรรมการ --> จานวน 7 คน --> ทางานเต็มเวลา
2. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าแต่งตั้ง
กรรมการคัดเลือก --> 4 คน ประกอบด้วย
1. ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธาน
2. รองประธานศาลฎีกา --> ที่ประธานมอบหมาย กรรมการ
3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน --> ก.พ.เลือก กรรมการ
4. เลขา ก.พ. เลขา
คุณสมบัติของผู้จะได้รับคัดเลือก
1. มีสัญชาติไทย
2. อายุไม่ต่ากว่า 45 ปี
วาระการดารงตาแหน่ง
- ดารงตาแหน่ง 6 ปี --> นับแต่วันโปรดเกล้าฯ
- ดารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดียว
หน้าที่
1. เสนอแนะ ดาเนินการด้านบริหารทรัพยากรบุคคล ในส่วนที่เกี่ยวกับพิทักษ์ระบบคุณธรรม
2. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์
3. วินิจฉัย เรื่องราวร้องทุกข์
4. พิจารณาการคุ้มครองระบบคุณธรรม
5. ออกกฎ ก.พ.ค.
6. แต่งตั้ง กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์
จุดประสงค์ของการจัดระเบียบ
จุดประสงค์ของการจัดระเบียบ
ขรก.พลเรือน
ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ
ความมีประสิทธิภาพ
ความคุ้มค่า
ประเภทของ ขรก.
คุณสมบัติของ ขรก.พลเรือน
1. มีสัญชาติไทย
2. อายุไม่ต่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์
3. เลื่อมใสการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทางเป็นประมุข ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
ลักษณะต้องห้าม
1. ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง
2. คนไร้/เสมือนไร้
3. บ้า
4. โรคติดต่อร้ายแรง
5. อยู่ในระหว่างถูกพักราชการ/สั่งให้ออกจากราชการ
ขรก.อาจได้รับเงินเพิ่ม
หลักในการบรรจุคนเข้ารับราชการ
1. ความรู้ความสามารถ
2. ความเสมอภาค
3. ความเป็นธรรม
4. ประโยชน์ราชการ
ประเภทของ ขรก.พลเรือน
ขรก.พลเรือนสามัญ
ขรก.พลเรือนในพระองค์
ได้รับเงินเพิ่ม
ประจาอยู่ใน ตปท.
ตาแหน่งในบางท้องที่
ตาแหน่งบางสายงาน
ตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษตามระเบียบ ก.พ. --> ก.คลังเห็นชอบ
*ครม. --> มีอานาจปรับเงินเดือนให้เหมาะสม --> ไม่เกินร้อยละ 10 --> ตราเป็น พรก.
--> เกินร้อยละ 10 --> ตราเป็น พรบ.
ตาแหน่ง ขรก.พลเรือน --> 4 ประเภท
1.
2.
3.
4.
อ.ก.พ.กระทรวง
กาหนดตาแหน่งในส่วนราชการ
จานวนเท่าใด
ตาแหน่งประเภทใด
สายงานใด
ระดับใด
ใช้หลัก
1. ประสิทธิภาพ
2. ประสิทธิผล
3. ความไม่ซ้าซ้อน
4. ประหยัด
วิชาการ
ปฏิบัติการ
ชานาญการ
ชานาญการพิเศษ (8ว)
เชี่ยวชาญ
ทรงคุณวุฒิ
จ่าจังหวัด ป้ องกันจังหวัด
ผู้ตรวจราชการกรมการปกครอง
ที่ปรึกษา
ทั่วไป
ปฏิบัติงาน
ชานาญการ
อาวุธโส
ทักษะพิเศษ
บริหาร
ระดับต้น
ระดับสูง
รอง ป.กระทรวง
ป. กระทรวง
รอง อปค.
อปค. ผวจ.
ป.กระทรวง --> แต่งตั้ง
รมต. --> แต่งตั้ง
อานวยการ
ระดับต้น
ระดับสูง
ผอ.กอง
นอ.9
นอ.8
ปจ.
อธิบดี --> แต่งตั้ง
ป.กระทรวง --> แต่งตั้ง
*ขรก. --> ประเภทบริหาร --> ทางานครบ 4 ปี
ผู้มีอานาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง --> ย้าย/โอน ไปปฏิบัติหน้าที่อื่น
กรณี ครม. --> อนุมัติให้คงอยู่ --> ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้อีก ไม่เกิน 2 ปี
จรรยาบรรณ ขรก.
1. ยึดมั่น และยืนหยัดทาสิ่งที่ถูกต้อง
2. ซื่อสัตย์สุจริต และรับผิดชอบ
3. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้
4. ไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม
5. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
ความผิดทางวินัยร้ายแรง
1. ปฏิบัติ/ละเว้นการปฏิบัติ โดยมิชอบ --> เพื่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงแก่ผู้ใด/
การละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ --> โดยทุจริต
2. ละทิ้ง/ทอดทิ้งหน้าที่ + ไม่มีเหตุผลอันสมควร --> ทาให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง
3. ทิ้งราชการติดต่อกัน --> เกิน 15 วัน + ไม่มีเหตุอันควร
4. ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง
5. ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง/ทาร้าย --> ประชาชน + ผู้ติดต่อราชการ + อย่างร้ายแรง
6. ทาผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุก/หนักกว่าจาคุก + คาพิพากษาถึงที่สุด ยกเว้น ประมาทกับลหุโทษ
7. ละเว้นการกระทา/กระทาการใดๆ --> โดยไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ + ข้อห้าม --> เป็นเหตุให้เสียหายแก่
ราชการอย่าร้ายแรง
8. ทา/ไม่ทาใดๆ --> ที่ไม่ปฏิบัติตามที่ ก.พ. กาหนดให้เป็นความผิดร้ายแรง
โทษทางวินัย --> 5 สถาน
1. ภาคทัณฑ์
2. ตัดเงินเดือน โทษความผิดไม่ร้ายแรง
3. ลดเงินเดือน
4. ปลอดออก
5. ไล่ออก
*การลงโทษให้ทาเป็นหนังสือ + เหมาะสมกับความผิด + ยุติธรรม + ปราศจากอคติ
โทษความผิดร้ายแรง
การออกจากราชการ
1. ตาย
2. พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จ บานาญ
3. ลาออก
4. ถูกสั่งให้ออก
5. ถูกปลดออก/ไล่ออก
พ้นจากราชการตามกฎหมายบาเหน็จ บานาญ ขรก.
1. พ้นเมื่ออายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ --> ในสิ้นปีงบประมาณ
2. ต้องการให้รับราชการต่อ --> ต่อไปได้ไม่เกิน 10 ปี ในตาแหน่ง
2.1 ประเภทวิชาการ ได้แก่ เชี่ยวชาญ + ทรงคุณวุฒิ
2.2 ประเภททั่วไป ได้แก่ อาวุธโส + ทักษะพิเศษ
ลาออก
ลาออก
ยื่นหนังสือขอลาออก
ต่อผู้บังคับบัญชา
เหนือขึ้นไป 1 ชั้น
ก่อนวันลาออก
ไม่น้อยกว่า 30 วัน
กรณี ผู้บังคับบัญชา
ยับยั้ง
ยับยั้งได้ไม่เกิน 90 วัน
การลาออกที่มีผลนับแต่วันที่ลาออก (ออกได้ทันที)
1. เพื่อไปดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ
2. ดารงตาแหน่งทางการเมือง
3. สมัครรับเลือกตั้งเป็น สส./สว.
4. สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น/ผู้บริหารท้องถิ่น
ให้ออก
1. ป่วย ทางานไม่ได้
2. สมัครไปปฏิบัติงานใดๆ --> ตามความประสงค์ของทางราชการ
3. ขาดคุณสมบัติ
4. ทางานไม่มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล
5. หย่อนความสามารถ
6. ยุบเลิก/ยุบหน่วยงาน
7. ถูกสอบสวนกระทาความผิดร้ายแรง --> ถ้ารับราชการต่อไปจะเกิดความเสียหายแก่ราชการ
8. คาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก
การอุทธรณ์
1. ถูกให้ออกจากราชการ --> อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. --> ภายใน 30 วัน
2. ก.พ.ค. จะวินิจฉัยเอง/ตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยก็ได้
ระยะเวลาในการวินิจฉัยของ ก.พ.ค.
1. พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 120 วัน --> นับแต่วันได้รับอุทธรณ์
2. ขยายเวลาได้ไม่เกิน 2 ครั้ง --> ครั้งละไม่เกิน 60 วัน
*ผู้อุทธรณ์ไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉัยของ ก.พ.ค. --> ฟ้องศาลปกครองสูงสุด --> ใน 90 วัน นับแต่วัน
ทราบคาวินิจฉัยของ ก.พ.ค.
การร้องทุกข์
ร้องทุกข์
ร้องต่อผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไป
ร้องต่อ ก.พ.ค.
อานาจในการวินิจฉัยร้องทุกข์ของ ก.พ.ค.
1. ไม่รับเรื่องร้องทุกข์
2. ยกคาร้อง
3. วินิจฉัยให้แก้ไขหรือยกเลิกคาสั่ง
4. เยียวยาความเสียหายของผู้ร้องทุกข์
5. ดาเนินการอื่นใด เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ตามระเบียบที่ ก.พ.ค. กาหนด
ขรก.ในพระองค์
การบริหารงานบุคคล --> ตราเป็น พรก.
เป็นไปตาม
พระราชอัธยาศัย
การแต่งตั้ง
การพ้นจากตาแหน่ง
พรบ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545
** ประเทศไทย มีทั้งหมด 20 กระทรวง **
** สำนักนำยก ** มีหน่วยงานในสังกัด
1. สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี
2. กรมประชาสัมพันธ์
3. สานักงานคุ้มครองผู้บริโภค (ส่วนที่ขึ้นตรงต่อนายก)
4. สานักเลขาฯ นายกฯ
5. สานักเลขาฯ คณะรัฐมนตรี
6. สานักข่าวกรองแห่งชาติ
7. สานักงบประมาณ
8. สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
9. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา
10. สานักงาน ก.พ.
11. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
12. สานักงานพัฒนาระบบราชการ (กพร.)
13. สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)
** ส่วนรำชกำรไม่สังกัดสำนักนำยกฯ อยู่ในข้อบังคับของนำยก **
1. สานักราชเลขาธิการ
2. สานักพระราชวัง
3. สานักงานพระพุทธศาสนา
4. สานักงานประสานงานโครงการในพระราชดาริ อยู่ในบังคับบัญชาของนายกฯ
5. สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
6. ราชบัณฑิตยสถาน
7. สานักงานตารวจแห่งชาติ
8. สานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน
9. สานักงานอัยการสูงสุด
10. สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ปปท.)
อยู่ในบังคับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539
นายกรัฐมนตรี --> รักษาการ
วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ไม่บังคับใช้กับ
1. รัฐสภา และครม.
2. องค์กรที่ใช้อานาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ (องค์กรอิสระ)
3. การพิจารณาของนายกฯ หรือรมต. ในงานทางนโยบายโดยตรง
4. การพิจารณาคดีของศาล และการดาเนินงานของ จนท.ในกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับคดี
และการวางทรัพย์
5. การพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์
6. การดาเนินงานเกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศ
7. ราชการทหาร/จนท.ปฏิบัติหน้าที่ทางยุทธการร่วมกับทหารในการป้ องกัน และรักษาความมั่นคง
8. การดาเนินการตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
9. กิจการของทางศาสนา
นิยาม
“วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” --> การเตรียมการ + การดาเนินการของจนท. --> เพื่อจัดให้มี
1. คาสั่งทางปกครอง 2. กฎ และ 3. การดาเนินการใดๆในทางปกครอง
“การพิจารณาทางปกครอง” --> การเตรียม + ดาเนินการของจนท. --> จัดให้มีคาสั่งทางปกครอง
“คาสั่งทางปกครอง” --> 1. การใช้อานาจตามกฎหมายของ จนท. --> ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้น
ระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลต่อ
สถานภาพของสิทธิ หรือหน้าที่ของบุคคลไม่ว่าจะเป็นการชั่วคราว หรือถาวร
เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการ
รับจดทะเบียน ยกเว้น การออกกฎ
2. กฎ = พรก. กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ
ข้อบังคับ มีผลบังคับเป็นการทั่วไป --> ไม่บังคับแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง
คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง --> จานวน 11 – 15 คน
โครงสร้าง
1. ประธาน --> ครม.แต่งตั้ง --> ดารงตาแหน่ง 3 ปี
2. ป.สานักนายก
3. ป.มท.
4. เลขา ครม.
5. เลขา คกก.ก.พ.
6. เลขา คกก.กฤษฎีกา
7. ผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน
ผู้ทรงคุณวุฒิ
1. ครม. --> แต่งตั้งผู้ทรงฯ
2. วาระดารงตาแหน่ง --> 3 ปี
3. เมื่อพ้นแล้วได้รับแต่งตั้งได้อีก
คุณสมบัติผู้ทรงฯ
มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ทาง
1. นิติศาสตร์
2. รปศ.
3. รัฐศาสตร์
4. สังคมศาสตร์
5. การบริหารราชการแผ่นดิน
จนท.ต่อไปนี้จะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้
1. เป็นคู่กรณีเอง
2. เป็นคู่หมั้น/คู่สมรสของคู่กรณีเอง
3. เป็นญาติของคู่กรณี --> พ่อ แม่ ผู้สืบสันดานไม่ว่าชั้นใดๆ/พี่น้อง/ลูกพี่ ลูกน้อง นับได้เพียง 3 ชั้น/ญาติเกี่ยว
พันธ์ทางการแต่งงาน --> นับได้เพียง 2 ชั้น
4. เป็น/เคยเป็น ผู้แทนโดยชอบธรรม/ผู้พิทักษ์/ผู้แทน/ตัวแทน ของคู่กรณี
5. เป็นเจ้าหนี้/ลูกหนี้/นายจ้างของคู่กรณี
6. กรณีอื่น
การคัดค้าน ความเป็นกลางของ จนท.
- จนท.หยุดการพิจารณาเรื่องไว้ก่อน + แจ้งผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไป 1 ชั้น
- ที่ประชุมมีมติ 2 ใน 3 --> ให้ผู้ถูกคัดค้านทาหน้าที่ต่อไป --> กรรมการทาหน้าที่ต่อไปได้
*มติ --> ใช้วิธีการลงคะแนนลับ และให้เป็นที่สุด
แต่งตั้งให้ทาการแทน
1. แต่งตั้งบุคคลที่บรรลุนิติภาวะ ทาการแทน
- ความตายของคู่กรณี/ความสามารถ/ความสามารถของคู่กรณี --> การกระทาแทนไม่ถือว่าสิ้นสุด
เว้นแต่ ผู้รับสิทธิ์ตามกฎหมายของคู่กรณี/คู่กรณี --> ถอนการแต่งตั้ง
2. ผู้ยื่นคาขอมีผู้ร่วมเกิน 50 คน/คู่กรณีเกิน 50 คน --> ผู้ที่ถูกระบุชื่อ เป็นตัวแทนของคู่กรณี
กรณี คู่กรณีเกิน 50 คน --> ไม่ได้กาหนดใครเป็นตัวแทน --> จนท.แต่งตั้งคนที่คู่กรณีฝ่ายข้างมาก
เป็นตัวแทนร่วม
**ตัวแทนร่วม --> ต้องเป็นบุคคลธรรมดา
คาสั่งทางปกครอง
1. คาสั่งอนุญาต
2. คาสั่งลงโทษ ขรก.
3.ประกาศผลสอบ
4. คาสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน
*** คาสั่งย้าย ขรก. และประกาศแจ้งเตือน --> ไม่ใช่คาสั่งทางปกครอง
คู่กรณีมีโอกาสทราบข้อเท็จจริง และโต้แย้ง
1. คาสั่งทางปกครอง --> ให้คู่กรณีทราบข้อเท็จจริง + โต้แย้งได้
ยกเว้น จะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะ
2. ไม่บังคับใช้ในกรณี ดังนี้
- การบรรจุ + การเลื่อนเงินเดือน + การสั่งพักงาน/ให้ออกจากงาน + ให้พ้นจากตาแหน่ง
- แจ้งผลการสอบ/การวัดผลความรู้/ความสามารถของบุคคล
- ไม่ออกหนังสือเดินทางไป ตปท.
- ไม่ตรวจลงตราหนังสือเดินทางของคนต่างด้าว
- ไม่ออกใบอนุญาต/ไม่ต่อใบอนุญาตของคนต่างด้าว
- สั่งเนรเทศ
รูปแบบของคาสั่งทางปกครอง
1. หนังสือ --> ระบุ ว/ด/ป ที่ทาคาสั่ง + ชื่อ + ตาแหน่ง + ลายมือชื่อของผู้ทาคาสั่ง
2. วาจา
3. การสื่อความหมายในรูปแบบอื่น
อุทธรณ์คาสั่งทางปกครอง
*คาอุทธรณ์ที่ออกโดย รมต. --> ไม่ต้องอุทธรณ์ --> ฟ้องศาลปกครองได้เลย
- การอุทธรณ์ --> ไม่เป็นเหตุให้ทุเลา การบังคับตามคาสั่งทางปกครอง เว้นแต่ จะมีคาสั่งทุเลาโดยผู้มีอานาจ
- กรณี เห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ --> แก้ไขเปลี่ยนแปลง + ในกาหนดเวลาด้วย
- กรณี ไม่เห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ --> เร่งรายงานความเห็น + เหตุผล --> ไปยังผู้มีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์
ภายใน 30 วัน นับแต่ได้รับอุทธรณ์
ผู้มีอานาจพิจารณาอุทธรณ์
1.
2.
3.
ยื่นอุทธรณ์ต่อจนท.ผู้ทาคาสั่งทางปกครอง ภายใน 15 วันนับแต่วันได้รับแจ้งคาสั่ง
ทาเป็นหนังสือระบุข้อโต้แย้งจนท.พิจารณาคาอุทธรณ์โดยไม่ชักช้าไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันได้รับการอุทธรณ์
นายกฯ
รมต.
ผู้ทาคาสั่งเป็น
หน.ส่วนที่ขึ้นตรงต่อนายกฯ /รมต.
ปลัดกระทรวง
ปลัดกระทรวง
ป.ทบวง
ผู้ทาคาสั่งเป็น อธิบดี/เทียบเท่า
อธิบดี
หน.ส่วน
ที่มีฐานะ
เป็นกรม
ผู้ทาคาสั่งเป็น
เลขาฯ กรม
หน.ส่วนระดับกลาง
หน.ส่วนประจาเขต
4.
คาสั่งทางปกครองให้ชาระเงิน
- เมื่อถึงกาหนดแล้วไม่ชาระ --> จนท.มีหนังสือแจ้งเตือน ให้ชาระในเวลาที่กาหนด --> ระยะเวลาต้องไม่
น้อยกว่า 7 วัน
- เตือนล้วไม่ปฏิบัติตาม --> ยึด/อายัดทรัพย์และขายทอดตลาดเพื่อชาระหนี้ให้ครบถ้วน
ผู้มีอาจยึดทรัพย์
1. ป.กระทรวง --> ผู้ทาคาสั่ง เป็น จนท.ในสังกัด สนง.ป.กระทรวง
2. อธิบดี --> ผู้ทาคาสั่ง เป็น จนท.ในสังกัดของกรม
3. ผวจ. --> ผู้ทาคาสั่ง เป็น จนท.ของราชการส่วนภูมิภาค
การฝ่ าฝืนคาสั่งที่กาหนดให้กระทา/ละเว้นการกระทา
1. จนท./บุคคลอื่นกระทาการแทน --> ชดใช้ค่าใช้จ่ายและยื่นเพิ่ม --> ร้อยละ 25 ต่อปี ของค่าใช้จ่ายดังกล่าว
2. ชาระค่าปรับ ตามจานวนที่สมควรแก่เหตุ --> ไม่เกิน 20,000 บาท/วัน
จนท.ที่มีอานาจกาหนดค่าปรับ
1. รมต. ,คกก. ตามกฎหมายต่างๆ --> ไม่เกิน 20,000 บาท/วัน
2. ป.กระทรวง + อธิบดี (ทั่วประเทศ) + ผวจ.(ในเขตจังหวัด) --> ไม่เกิน 15,000 บาท/วัน
3. หน.ส่วนประจาจังหวัด (เฉพาะเขตจังหวัด) + นอ.(ในเขตอาเภอ) --> ไม่เกิน 10,000 บาท/วัน
การแจ้งคาสั่ง
การแจ้งให้ทราบโดยทางเสียง แสง/สัญญาณ (สัญญาณไฟจราจร) --> มีผลทันที่เมื่อแจ้ง
การแจ้งเป็นหนังสือ
1. แจ้งโดยคนนาไปส่ง --> 1. ไม่ยอมรับ/ไม่พบ ให้ส่งกับผู้ที่บรรลุนิติภาวะที่อยู่/ทางาน
ในสถานที่นั้น
2. ไม่ยอมรับ --> ปิดประกาศในที่ที่เห็นได้ง่าย ณ สถานที่นั้น ต่อหน้า
เจ้าพนักงาน (ตร. ,ขรก.ส่วนกลาง ,ขรก.ประจาจังหวัด ,
ขรก.ส่วนท้องถิ่น)
ผู้ทาคาสั่งเป็น
หน.ส่วนประจาจังหวัด
นอ.
ผู้บริหารท้องถิ่น
ผวจ.
2. แจ้งโดยส่งไปรษณีย์ --> ส่งแบบไปรษณีย์ตอบรับ (AR) กรณี
1. ในประเทศ --> ภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ได้ส่ง
2. ตปท. --> ภายใน 15 วัน นับแต่วันส่ง
3. ผู้รับเกิน 50 คน --> 1. ปิดประกาศ ณ ที่ทาการของ จนท.
2. ปิดประกาศ ณ ที่ว่าการอาเภอที่ผู้รับมีภูมิลาเนา
ถือว่าได้รับแจ้ง เมื่อพ้น 15 วัน นับแต่วันที่ได้แจ้ง
4. ไม่รู้ตัวผู้รับ/รู้ตัวแต่ไม่รู้ภูมิลาเนา/รู้ตัว รู้ภูมิลาเนา แต่ผู้รับเกิน 100 คน
--> - ประกาศในหนังสือพิมพ์ที่แพร่หลายในท้องถิ่น
ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อพ้น 15 วัน นับแต่วันที่แจ้ง
5. จาเป็นเร่งด่วน --> - ใช้วิธีส่งทางเครื่องโทรสารก็ได้แต่ต้องมีหลักฐานจากหน่วยงาน
ที่จัดส่ง และต้องส่งคาสั่งตัวจริง ในทันทีที่สามารถจะส่งได้
พรบ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
นิยาม
“สัญญาทางปกครอง” --> 1. สัญญาที่อย่างน้อยฝ่ายหนึ่ง เป็นหน่วยงานทางปกครอง หรือบุคคลที่
กระทาการแทนรัฐ และ
2. มีลักษณะเป็นสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทาบริการสาธารณะ หรือจัดให้มี
สิ่งสาธารณูปโภค หรือแสวงหาจากทรัพยากรธรรมชาติ
โครงสร้างศาลปกครอง --> แบ่งเป็น 2 ชั้น
อานาจของศาลปกครอง
คดีพิพาทเกี่ยวกับหน่วยงานทางปกครอง หรือ จนท.ของรัฐ กระทาการดังนี้
1. กระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เช่น การออกกฎ คาสั่ง
2. ละเลยต่อหน้าที่ หรือ ทางานล่าช้าเกินกาหนด
3. การกระทาการละเมิด
4. สัญญาทางปกครอง
5. คดีที่กาหนดให้ฟ้ องคดีต่อศาล เพื่อบังคับให้บุคคลต้องกระทาหรือละเว้นการกระทา
6. ข้อพิพาทที่กฎหมายกาหนดให้อยู่ในอานาจศาลปกครอง
เรื่องที่ไม่อยู่ในอานาจศาลปกครอง
1. วินัยทหาร
2. ระเบียบข้าราชการฝ่ายบุคลากร
3. คดีที่อยู่ในอานาจของศาลอื่น
ระยะเวลาในการฟ้ องคดีปกครอง
ยื่นฟ้องภายใน 90 วัน --> นับแต่วันที่รู้ หรือควรรู้ถึงสาเหตุแห่งการฟ้องคดี
ศาลปกครอง
ศาลปกครองสูงสุด
ศาลปกครองชั้นต้น
มีอานาจทั่วราชอาณาจักร
ศาลปกครองกลาง
ศาลปกครองในภูมิภาค
การยื่นคาฟ้ องคดี ให้ยื่นต่อ
1. พนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลปกครอง
2. ส่งไปรษณีย์ลงทะเบียน
พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของ จนท. 2539
................รักษาการ
วันบังคับใช้…………
นิยาม
“จนท.” --> ขรก. พนักงาน ลูกจ้าง ผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น
“หน่วยงานของรัฐ” --> กระทรวง ทบวง กรม ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ
ความรับผิดทางละเมิดของ จนท. --> 2 ลักษณะ
1. ละเมิดที่มาจากการปฏิบัติหน้าที่
1.1 จนท.กระทาต่อ เอกชน --> หน่วยงานต้องรับผิดชอบต่อความเสียหาย
- ผู้เสียหาย ฟ้ องหน่วยงานได้โดยตรง --> ฟ้ อง จนท. ไม่ได้
- จนท.ไม่ได้สังกัดหน่วยงานใด --> ก.คลังรับผิด
1.2 จนท. กระทาต่อ หน่วยงานของรัฐ --> เรียกร้องค่าสินไหมจาก จนท.
2. ละเมิด --> ไม่ได้มาจากการปฏิบัติหน้าที่
- จนท.คลังรับผิด เป็นการเฉพาะตัว
- ผู้เสียหาย --> ฟ้ อง จนท.ได้โดยตรง
--> ฟ้ องหน่วยงานไม่ได้
วิธีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน (จากหน่วยงานของรัฐ)
1. ดาเนินคดีต่อศาล
2. ยื่นคาร้องให้หน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าเสียหาย
**รวมแล้วขั้นตอนในการพิจารณา --> ต้องไม่เกิน 360 วัน
ฟ้องคดีต่อ
ศาลยุติธรรม
ศาลปกครอง
ตามประเภทของคดี
หน่วยงานพิจารณาให้แล้วเสร็จ
ภายใน 180 วัน
กรณีไม่เกิน
รายงานปัญหาและอุปสรรค ให้ รมต.
เจ้าสังกัดทราบเพื่อขอขยายเวลา
รมต.อนุมัติขยายได้
อีกไม่เกิน 180 วัน
ผู้เสียหายไม่พอใจผลการตัดสิน
ของหน่วยงานราชการ
ฟ้องศาลยุติธรรม/
ศาลปกครอง
การไล่เบี้ยระหว่างหน่วยงาน กับ จนท. (ละเมิดจากการปฏิบัติหน้าที่)
1. จนท. ชดใช้ให้หน่วยงาน --> เนื่องจากหน่วยงานได้จ่ายค่าสินไหมให้แก่ผู้เสียหาย
2. จนท. จ่ายค่าทดแทน --> เนื่องจากละเมิดต่อหน่วยงาน
ขอบเขตการไล่เบี้ย
-
-
-
-
อายุความ การไล่เบี้ย
1. หน่วยงานของรัฐ กับ จนท. (กรณีใช้เงินแก่ผู้เสียหายแล้ว)
1 ปี นับแต่หน่วยงานของรัฐ ได้จ่ายค่าสินไหมแก่ผู้เสียหาย
2. จนท. ละเมิด กับหน่วยงานของรัฐ
2 ปี นับแต่หน่วยงานฯ รู้ถึงความละเมิด และรู้ถึง จนท.
3. กรณี หน่วยงานต้องส่งเรื่องให้ ก.คลัง ตรวจสอบ
หน่วยงานเห็นว่า จนท.ไม่ผิด แต่ ก.คลังตรวจสอบแล้วต้องรับผิด
1 ปี นับแต่หน่วยงานฯ มีคาสั่งตามความเห็นของ ก.คลัง
หน่วยงานที่เสียหาย ออกคาสั่ง ให้ จนท.ผู้นั้นมาชาระเงินในเวลาที่กาหนด
ทาด้วยความจงใจ
ทาด้วยความประมาทอย่างร้ายแรง
หน่วยงาน มีสิทธิให้ จนท. ชดใช้ค่า
สินไหมแทนหน่วยงานของรัฐได้
คานึงถึง
ความร้ายแรงของการกระทา
ความเป็นธรรม
ไม่ต้องใช้เต็ม
จานวนก็ได้
ต้องชดใช้ค่าสินไหม
เพียงใด
การละเมิดเกิดจาก
ความผิด
ความบกพร่องของหน่วยงาน
หักส่วนแห่งความรับผิด
ดังกล่าวออกด้วย
ละเมิดเกิดจาก
จนท.หลายคน
ห้าม
นาหลักลูกหนี้ร่วม
มาใช้บังคับ
แต่ละคนรับผิดชอบ
เฉพาะส่วนของตนเอง
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540
คานิยาม
หน่วยงานของรัฐ --> ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา
ศาลในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี ฯลฯ
คนต่างด้าว --> 1. บุคคลธรรมดา --> คนที่ไม่มีสัญชาติไทยและไม่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
2. นิติบุคคล --> 1. บริษัทที่มีทุนเกินกึ่งหนี่ง เป็นของคนต่างด้าว
2. สมาคมที่สมาชิกเกินกึ่งหนึ่งเป็นคนต่างด้าว
3. สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ของคนต่างด้าว
4. นิติบุคคล ตาม 1,2,3 มีผู้จัดการหรือกรรมการเกินกึ่งหนึ่งเป็นคนต่างด้าว
ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย
** ข้อมูลที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์--> เปิดเผยต่อบุคคลใดไม่ได้เลยทุกกรณี
ข้อมูลข่าวสารที่อาจไม่ให้เปิดเผยก็ได้
1. เปิดแล้วจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
2. เปิดแล้วจะทาให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ
3. ความเห็นหรือคาแนะนา ในหน่วยงานของรัฐในการดาเนินการเรื่องหนึ่งเรื่องใด ไม่รวมรายงาน
ทางวิทยาการ รายงานข้อเท็จจริง/ข้อมูลข่าวสารที่นามาทาความเห็น
4. ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต/ความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งคนใด
5. รายงานทางการแพทย์เปิดแล้วรุกล้าสิทธิส่วนบุคคล
6. ข้อมูลที่กฎหมายไม่ให้เปิดเผย
7. กรณีอื่นๆ
เอกสารประวัติศาสตร์
1. ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์--> เมื่อครบ 75 ปี
2. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่หน่วยงานของรัฐมีคาสั่งไม่เปิดเผย --> เมื่อครบ 20 ปี
ประเภทของข้อมูลข่าวสาร
1. ข้อมูลข่าวสารที่ประกาศในราชกิจจาฯ (สิทธิที่ได้รู้)
- โครงสร้างและการจัดองค์กร
- สรุปอาจหน้าที่ที่สาคัญและวิธีการดาเนินงาน
- สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารหรือคาแนะนาในการติดต่อกับหน่วยงานราชการ
- กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คาสั่ง ฯ
2. ข้อมูลที่ให้ประชาชนเข้าตรวจดู (สิทธิตรวจดู)
- ผลการพิจารณาหรือคาวินิจฉัยที่มีผลต่อเอกชน
- นโยบายหรือการตีความที่ไม่เข้าข่ายต้องพิมพ์ลงในราชกิจจาฯ
- แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจาปีของปีที่กาลังดาเนินงาน
- คู่มือหรือคาสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่
ของเอกชน
- สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วมทุนกับเอกชน
ในการจัดทาบริการสาธารณะ
- มติคณะรัฐมนตรี
คณะกรรมกรรวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
ขอให้เปิดเผย - - > อุทธรณ์ ภายใน 15 วัน นับแต่วันได้รับแจ้ง - - > อทุธรณ์ผ่าน คกก.วินิจฉัยการ
เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ
ขอให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลข่าวสาร - - > อุทธรณ์ ภายใน 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้ง
- - > อทุธรณ์ผ่าน คกก.ข้อมูลข่าวสารของราชการ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ
สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ

More Related Content

Similar to สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ

Bookmark2551
Bookmark2551Bookmark2551
Bookmark2551KRUPIYA
 
supote
supotesupote
supotesupoet
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551wanlinee
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551Kanyakon
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551wanna2555
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551
Tiwchatree Mahaprom
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘aofzasuper
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะaofzasuper
 
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ประพันธ์ เวารัมย์
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8sangkom
 
31.111+ข้..
31.111+ข้..31.111+ข้..

Similar to สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ (20)

Bookmark2551
Bookmark2551Bookmark2551
Bookmark2551
 
supote
supotesupote
supote
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551
 
Kung
KungKung
Kung
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 
งานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะงานด๊อกเตอร์นะ
งานด๊อกเตอร์นะ
 
17
1717
17
 
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 
31.111+ข้..
31.111+ข้..31.111+ข้..
31.111+ข้..
 

More from ประพันธ์ เวารัมย์

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
ประพันธ์ เวารัมย์
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประพันธ์ เวารัมย์
 
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนสรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
ประพันธ์ เวารัมย์
 
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อแนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่นแนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่น
ประพันธ์ เวารัมย์
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
ประพันธ์ เวารัมย์
 
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
ประพันธ์ เวารัมย์
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
ประพันธ์ เวารัมย์
 

More from ประพันธ์ เวารัมย์ (20)

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้และนักวิชาการจัดเก็บรายได้
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่นแนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานธุรการ และนักจัดการงานทั่วไป สอบท้องถิ่น
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการประเมินครั้งที่ 2 เพื่อคัดเลือกพนักงานราชกา...
 
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีปฎิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ชุดที่ 2
แนวข้อสอบข้าราชการพลเรือนสามัญ สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ชุดที่ 2
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน/นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชนสรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
สรุปแผนยุทธศาสตร์แผนกรมพัฒนาชุมชน
 
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณแนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
แนวข้อสอบระเบียบงานสารบรรณ
 
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
ประกาศรายชื่อมีสิทธิเข้ารับการประเมินฯ กำหนดวัน เวลา สถานที่ และระเบียบฯ เพื่...
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อแนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
แนวข้อสอบท้องถิ่น 407 ข้อ
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่นแนวข้อสอบท้องถิ่น
แนวข้อสอบท้องถิ่น
 
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
รวมแนวข้อสอบทีเคยออกชุดพิเศษ (แนวข้อสอบเก่า)
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
แนวข้อสอบเจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
 
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
หัวข้อสอบเตรียมสอบ นักวิเคราะห์นโยบายบายและแผน สังกัดท้องถิ่น
 
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
แนวข้อสอบท้องถิ่น บรรจุแต่งตั้งสังกัดอบต. เทศบาล อบจ. และเมืองพัทยา จำนวน 211...
 
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
สรุปพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และแก้ไขเพิ่มเติม ถึง ฉบ...
 
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
แนวข้อสอบ เตรียมสอบจังหวัดศรีสะเกษ (แนวข้อสอบเก่า)
 

สรุปเตรียมสอบปลัดอำเภอ

  • 1. เอกสารสรุปการสอบปลัดอาเภอนี้ ข้าพเจ้าจัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการสอบ ปลัดอาเภอในปี 2559 ซึ่งมีการนาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ มาอ่านแล้วสรุปเป็นประเด็นตามความ เข้าใจของข้าพเจ้าเอง ข้อมูลจากสรุปนั้นมีการเอามาจากแหล่งต่างๆ ดังนี้ 1. เอกสารประกอบการติวสอบปลัดอาเภอต่างๆ จากอาจารย์เศรษฐา เณรสุวรรณ (ป.Mc) ปล.อาจารย์ที่ติว 2. คู่มือเตรียมสอบปลัดอาเภอ 2558 โดยกลุ่มราชสีห์ยุคใหม่ (เล่มสีฟ้ า+แนวข้อสอบเล่ม สีเหลือ) 3. หนังสืออื่นๆ การสอบปลัดอาเภอปี 2559 ข้าพเจ้าได้บรรลุผลตามความคาดหวังแล้ว และมีความตั้งใจ ที่จะเผยแพร่สรุปที่ได้จัดทาขึ้นนี้เพื่อให้ผู้ทีมีความตั้งใจจะสอบปลัดอาเภอทุกๆ ท่านได้นาไปใช้ ประโยชน์ในการสอบครั้งต่อๆไป นายกวีพงษ์เชิดชู ลาดับที่ 373/2559 หมายเหตุ พรก. ในสรุปนี้ข้าพเจ้าย่อมาจากพระราชกฤษฎีกานะครับ มิใช่ พระราชกาหนด
  • 2. การบริหารเบื้องต้น การบริหาร (Administration) --> การทางานให้สาเร็จโดยใช้บุคคลอื่น "การบริหาร" (Administration) --> "ระบบราชการ" "การจัดการ" (Management) --> "เอกชน ภาคธุรกิจ" ทรัพยากรในการบริหาร - 4M - 6M ตลาด (Market) เครื่องจักร (Machine) ทฤษฎีในการบริหาร 1.ทฤษฎีระบบ --> องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กัน David Eston Input --> Process --> Output -----Feedback---- 2.ทฤษฎีแรงจูงใจ --> มนุษย์มีความต้องการเป็นลาดับขั้น Maslow - อยู่รอด - ปลอดภัย - ใฝ่หารัก - พรรคนิยม - อุดมคติ 3.ทฤษฎีกระบวนการบริหาร "POSDCoRB" --> Gulicd และ Urwick - Planning การวางแผน - Organizing การจัดองค์กร - Staffig การจัดคนเข้าทางาน
  • 3. - Directing การสั่งการ - Coordinating การประสานงาน - Reporting การรายงาน - Budgeting งบประมาณ PA_POSDCoRB - Policy --> การกาหนดโทษ - Authoity --> การใช้อานาจ ระดับของผู้บริหารสมัยใหม่ ผู้บริหารระดับสูง (Top and Senior Manager) --> กาหนดวิสัยทัศน์กลยุทธ์ ผู้บริหารระดับกลาง (Middle Manager) --> กาหนดและนากลยุทธ์ไปปฏิบัติกระตุ้นและ สร้างทีมงาน ผู้บริหารระดับต้น/หัวหน้างาน (Supervisor) --> ฝึกสอน/พี่เลี้ยง แนะนา สอนงาน แก้ไขปัญหา
  • 4. การบริหารภาครัฐแนวใหม่ New Public Management นิยาม การนาเครื่องมือหรือเทคนิคทางการบริหารของเอกชนมาใช้ในการพัฒนาหรือปรับปรุงการทางาน ของภาคราชการ เหตุผลของการนามาใช้ - กระแสโลกาภิวัฒน์ - ความเสื่อมถอยของระบบราชการและขาดธรรมาภิบาล การบริหารภาครัฐแนวใหม่ ถูกนามาใช้ในปี พ.ศ.2545 โดยถูกกาหนดอยู่ในกฎหมาย 2 ฉบับ คือ - พ.ร.บ.บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 5 พ.ศ.2545 มาตรา 3/1 หลักในการบริหารของ "รัฐบาล" - พรก.หลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546 มาตรา 12 หลักในการบริหารของ "ส่วนราชการ" มาตรา 3/1 --> รัฐบาล 1. ประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของภาครัฐ 3. ความมีประสิทธิภาพ 4. ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ 5. ลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน 6. ลดภารกิจและยุบเลิกหน่วยงานไม่จาเป็น 7. กระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น 8. กระจายอานาจการตัดสินใจ 9. อานวยความสะดวก 10. ตอบสนองความต้องการของประชาชน *ต้องมีผู้รับผิดชอบเป็นลายลักษณ์อักษร*
  • 5. มาตรา 12 --> ส่วนราชการ 1. เกิดประโยชน์สุขของประชาชน 2. เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของภาครัฐ 3. มีประสิทธิภาพและเกิดความคุ้มค่า 4. ไม่มีขั้นตอนเกินความจาเป็น 5. ปรับปรุงส่วนราชการให้ทันต่อเหตุการณ์ 6. ประชาชนได้รับการอานวยความสะดวก และได้รับการตอบสนองความต้องการ 7. มีการประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ
  • 6. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ "Strategic Planning" ทหาร --> ยุทธวิธี --> รบ เอกชน --> การวางแผนกลยุทธ์ --> เพื่อประสบความสาเร็จ ราชการ --> การวางแผนยุทธศาสตร์ --> เพื่อพัฒนางาน ความแตกต่างระหว่างแผนเชิงกลยุทธ์กับแผนทั่วไป การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การวางแผนทั่วไป ภาพรวม(กว้างๆ) แผนเฉพาะเรื่อง หลักการวางแผนเชิงกลยุทธ์ - องค์กรต้องการไปสู่จุดไหน Where do we want go? - ปัจจุบันอยู่ ณ จุดใด Where are we now? - เราจะไปสู่จุดหมายที่ต้องการได้อย่างไร How do we get there? วางแผน --> นาไปปฏิบัติ --> ติดตามผล
  • 7. กระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ มี 8ขั้นตอน 1.กาหนดภารกิจหลัก --> Mission --> สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงจุดมุ่งหมายในการดารงอยู่ขององค์กร 2.วิเคราะห์องค์กร --> SWOT--> จุดแข็ง จุดออ่อน โอกาส ภัยคุกคาม หรืออุปสรรค 3.กาหนดวิสัยทัศน์ --> Vision --> สิ่งที่อยากจะให้องค์กรเป็น ในอีก 3-5 ปีข้างหน้า 4.กาหนดประเด็นยุทธ์ศาสตร์ --> Strategic Issues --> สิ่งที่ต้องคานึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น 5.กาหนดเป้าประสงค์ --> Goal --> สิ่งที่องค์กรต้องการจะบรรลุ หรือองค์กรต้องการจะให้เกิดขึ้น 6.กาหนดตัวชี้วัด --> KPI --> สิ่งที่แสดงว่าองค์กรสามารถดาเนินงานได้บรรลุตามเป้าประสงค์ 7.กาหนดค่าเป้าหมาย --> Target --> ตัวเลขหรือค่าที่องค์กรต้องการดาเนินการให้บรรลุตามตัวชี้วัด 8.กาหนดกลยุทธ์ --> Strategy --> แนวทางหรือวิธีการที่องค์กรจะดาเนินการเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดภารกิจหลักขององค์กร (Mission) ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ SWOT วิเคราะห์จุดแข็ง - จุดอ่อน --> ภายในองค์กร -->ให้รู้จักเรา (S) (W) Internal วิเคราะห์โอกาส - อุปสรรค --> ภายนอก --> ให้รู้จักสภาพแวดล้อมภายนอก (O) (T) ขั้นตอนที่ 3 *วิสัยทัศน์ที่ดี 1. เป็นภาพฝันในอนาคต 2. เป็นสิ่งที่น่าสนใจสาหรับบุคคลต่างๆที่เกี่ยวข้อง 3. มีความเป็นไปได้ที่จะให้เกิดขึ้น
  • 8. 4. มีความชัดเจนเพียงพอที่จะใช้ในการวางแนวทางการพัฒนาองค์กร 5. สามารถปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น 6. สื่อสารได้ง่ายและชัดเจน 7. กาหนดระยะเวลา ขั้นตอนที่ 4 การกาหนดประเด็นกลยุทธ์ - เอาข้อมูลมาจาก SWOT มาใช้ในการกาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เช่น จุดแข็ง (S) --> เสริมให้ดีขึ้น จุดอ่อน (W) --> แก้ไขให้ดีขึ้น "ต้องคานึงถึงการพัฒนา เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กาหนด" ขั้นตอนที่ 5 การกาหนดเป้าประสงค์ (Goal) "สิ่งที่ต้องการให้เกิดในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์" *เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์และประเด็นยุทธศาสตร์ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ = 1 เป้าประสงค์ (นามธรรม) (รูปธรรม) ขั้นตอนที่ 6 การกาหนดตัวชี้วัด KPI "กาหนดสิ่งที่แสดงว่าองค์กรดาเนินการได้บรรลุตามเป้าประสงค์" ขั้นตอนที่ 7 การกาหนดค่าเป้าหมาย (Target) "กาหนดตัวเลขหรือค่าของตัวชี้วัด ที่องค์กรต้องการให้บรรลุตัวชี้วัด" ขั้นตอนที่ 8 การกาหนดกลยุทธ์ "แนวทาง/วิธีการในการดาเนินการ" *1กลยุทธ์สามารถกาหนดได้หลายโครงการ
  • 9. เครื่องมือทางการบริหารสมัยใหม่ 1. "การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)" การปกครองที่เป็นธรรม ถูกต้องตามศีลธรรม หลักธรรมาภิบาล 1. นิติธรรม 2. คุณธรรม 3. โปร่งใส 4. มีส่วนร่วม 5. รับผิดชอบ 6. คุ้มค่า 2. การวิเคราะห์องค์กร (SWOT) ปัจจัยภายใน --> ควบคุมได้ ปัจจัยภายนอก --> ควบคุมไม่ได้ 3. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) Public Sector Management Quality Award นิยาม "การประเมินและปรับปรุงตนเอง เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการให้เท่าเทียมกับมาตรฐานสากล" PMQA มีทั้งหมด 7 ข้อ 1. การนาองค์กร 2. การวางแผนกลยุทธ์ 3. ให้ความสาคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 4. วัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ 5. มุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 6. จัดกระบวนการ 7. ผลการดาเนินงาน
  • 10. 4. การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) นิยาม "การรวบรวมความรู้ที่มีในองค์กร ที่กระจายอยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ" ประเภทของ KM 1. อยู่ในตัวคน --> ไม่สามารถถ่ายทอดได้ (นามธรรม) เช่น ประสบการณ์ 2. ความรู้ที่ชัดแจ้ง --> ถ่ายทอดได้ (รูปธรรม) เช่น ทฤษฎี ทักษะการทางาน คู่มือต่างๆ องค์ประกอบ - คน - เทคโนโลยี - กระบวนการความรู้ แนวคิด - แผนผังอิชิคาวะ - แผนผังก้างปลา - ตัวแบบปลาตะเพียน 5. การประเมินสมรรถนะ (Competency) "พฤติกรรมที่องค์กรหรือหน่วยงาน ต้องการจากบุคคลากร เพราะเชื่อว่าถ้าทาในสิ่งที่กาหนด จะทาให้งานดีและ บรรลุเป้าหมาย" สมรรถนะของข้าราชการ 1. มุ่งผลสัมฤทธิ์ 2. เต็มใจให้บริการ 3. สั่งสมความเชี่ยวชาญในอาชีพ 4. ยึดมั่นในความถูกต้อง ชอบธรรม จริยธรรม 5. ทางานเป็นทีม
  • 11. 6. การจัดทาคารับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Commitment) "การทาข้อตกลงเป็นลายลักษณ์อักษร" (หาผู้รับผิดชอบงาน) 7. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Base Management : RBM) --> ใช้ในราชการของสวีเดน "การบริหารที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ขององค์กร" ผลผลิต (Output) --> วัดค่าได้ (รูปธรรม) เช่น ปลูกมะม่วง ก็ต้องได้มะม่วง ผลลัพธ์ (Outcome) --> วัดค่าไม่ได้ (นามธรรม) เช่น ปลูกมะม่วง ผลที่ได้คือ ความอิ่มจากการกินมะม่วง หรือรสชาดจากมะม่วง ผลสัมฤทธิ์ = ผลผลิต + ผลลัพธ์ (Result) Output Outcome 8. การประเมินผลความสาเร็จรอบด้าน (Balance Scorecard : BSC) Kaplan และ Norton "Balance Scorecard" เอกชน ราชการ มุมมองด้านการเงิน (กาไร) = ประสิทธิผล มุมมองด้านลูกค้า = ความพึงพอใจ มุมมองด้านกระบวนการภายใน = ประสิทธิภาพ มุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนา = การพัฒนาองค์กร 9. การเปรียบเทียบองค์กร (Benchmarking) --> มาจากสารวจที่ดิน "เปรียบเทียบเพื่อปรับปรุงให้เท่ากับคนอื่น หรือดีกว่าคนอื่น" การเปรียบเทียบแบ่งเป็น 4 ประเภท 1. ในองค์กร 2. คู่แข่ง 3. ตามหน้าที่ 4. ทั่วไป
  • 12. 10. การออกแบบกระบวนการใหม่ (Re-Engineering) "รื้อระบบการทางาน" Re-Engineering 1. เน้นความความสาคัญของลูกค้า 2. ผิดที่กระบวนงาน 3. เริ่มที่กระดาษเปล่า 11. การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) "กระบวนการจัดการให้โอกาสเกิดความเสี่ยงลดลง" การจัดการความเสี่ยง 1. ยอมรับความเสี่ยง 2. ลดหรือควบคุมความเสี่ยง 3. กระจายความเสี่ยง/โอนความเสี่ยง 4. การเลี่ยงความเสี่ยง 12. การกาหนดตัวชี้วัด (Key Performance Indicators : KPI) "วัดผลการดาเนินงานว่าบรรลุตามเป้าหมาย"
  • 13. โครงการ ลักษณะของโครงการที่ดี 1. สามารถตอบสนองความต้องการ หรือแก้ปัญหาขององค์กรหรือหน่วยงานได้ 2. มีวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจน สามารถดาเนินงานและปฏิบัติได้ 3. รายละเอียดของโครงการที่สอดคล้องและสัมพันธ์กัน 4. เข้าใจง่าย และสะดวกต่อการดาเนินงาน 5. นาไปปฏิบัติได้ สอดคล้องกับแผนงานหลักขององค์กรและประเมินผลได้ 6. ต้องกาหนดขึ้นจากข้อมูลที่เป็นจริง และได้รับการวิเคราะห์อย่างรอบคอบ 7. ได้รับการสนับสนุนในด้านทรัพยากร และการบริหาร 8. มีระยะเวลาในการดาเนินงาน รูปแบบของโครงการ 1. ชื่อโครงการ 2. หลักการและเหตุผล 3. วัตถุประสงค์ มีได้มากกว่า 1 ข้อ ต้องคานึงถึงหลัก 5 ประการ (SMART) 1. S = ชัดเจนและเป็นไปได้ 2. M = วัดได้ 3. A = บรรลุผลได้ 4. R = เป็นเหตุเป็นผล 5. T = เวลา 4. เป้าหมาย 5. ขั้นตอนการดาเนินงาน 6. สถานที่ดาเนินการ 7. ระยะเวลา 8. งบประมาณ 9. การวัดและประเมินผลโครงการ 10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 11. ผู้รับผิดชอบโครงการ เทคนิคการเขียนโครงการ 6W2H ประกอบด้วย 1. ทาทาไม Why 2. ทาอะไร What 3. ทาที่ไหน Where 4. ทาเมื่อไหร่ When 5. ใครทา Who 6. ทาเพื่อใคร Whom 7. ทาอย่างไร How 8. ทาเท่าไหร่ How much งบประมาณและทรัพยากรที่ใช้ในโครงการ ใช้หลัก 4 E ประกอบด้วย 1. Economy ประหยัด 2. Efficiency ประสิทธิภาพ 3. Effectiveness ประสิทธิผล 4. Equity ความยุติธรรม
  • 14. แนวทางการเขียนโครงการ มี 2 แนวทาง 1. การเขียนโครงการแบบประเพณีนิยม (แบบดั้งเดิม) 6W2H ประกอบด้วย 1. Program ชื่อแผน 2. Project Title ชื่อโครงการ 3. Rationale for Project หลักการและเหตุผล 4. Objectives วัตถุประสงค์ 5. Targets เป้าหมาย 6. Procedure การเนินงาน 7. Duration ระยะเวลา 8. Bud jets and Resources งบประมาณ และทรัพยากร 9. Project Manager ผู้รับผิดชอบโครงการ 10. Sponsor หน่วยงานในการสนับสนุน 11. Project Evou การประเมินผลโครงการ 12. Expected Outcome ผลที่คาดว่าจะได้ 2. การเขียนแบบตารางเหตุผลสัมพันธ์ (Matrix) - Ultimate goal วัตถุประสงค์สูงสุด - Intermediate goal วัตถุประสงค์ระดับกลาง - Outputs วัตถุประสงค์ระดับล่าง
  • 15. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน 2534 นายกรัฐมนตรี --> รักษาการ บังคับใช้ถัดจากวันประกาศ การแบ่งส่วนราชการ คานึงถึง 2 ประการ 1.คุณภาพ 2. ปริมาณงาน ระเบียบบริหารแผ่นดิน ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่นส่วนกลาง (แบ่งอานาจ) (กระจายอานาจ)(รวมอานาจ)
  • 16. ส่วนที่ 1 ระเบียบ บริหารราชการส่วนกลาง ส่วนกลาง กระทรวง ทบวง ที่มีฐานะเท่ากระทรวง ทบวง --> สังกัดสานักนายกสานักนายกรัฐมนตรี กรม/ส่วนราชการที่มีฐานะเท่ากรม สังกัด/ไม่สังกัด สานักนายก เป็นนิติบุคคล จัดตั้ง รวม โอน พรบ. ยุบ เปลี่ยนแปลงชื่อ พรก.
  • 17. ยกเว้น *ปัจจุบันมี 20 กระทรวง * *กลุ่มภารกิจ 1. สานักนายกรัฐมนตรี ผู้บังคับบัญชา - - จัดตั้ง รวม โอน ขึ้นใหม่ที่ ไม่กาหนดตาแหน่ง อัตราของ ขรก. ลูกจ้างเพิ่มขึ้น พรก. จังหวัด นิติบุคคล อาเภอ ไม่เป็นนิติบุคคล สานักงานรัฐมนตรี ไม่มีฐานะเป็นกรม ไม่เป็นนิติบุคคล กฎกระทรวง ส่วนราชการระดับกรม 2 ส่วนราชการขึ้นไป อยู่ภายใต้กลุ่ม ภารกิจเดียวกัน หน.ภารกิจ ไม่ต่ากว่า อธิบดี นายกรัฐมนตรี บังคับบัญชา ขรก. รองนายกฯ รมต.ประจาสานักนายก ผู้ช่วยสั่ง * ปฏิบัติราชการ * ปลัดสานักนายก นิติบุคคลรองปลัดสานักนายก ผช.ปลัดสานักนายก เป็น ขรก.พลเรือนสามัญ
  • 18. หน้าที่ 1. ควบคุม ขรก.ในสานักนายก 2. เป็นผู้บังคับบัญชา ขรก.ของส่วนราชการ ในสานักนายก รองจาก นายกฯ รองนายกฯ และรมต.ประจา สานักนายก 3.บังคับบัญชา ขรก.และรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการ ของสานักปลักสานักนายกฯ สานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี 1. 2. 3. 4. สานักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี สานักเลขาฯ นายก หน้าที่เกี่ยวกับการเมือง เลขาฯ นายก ผู้บังคับบัญชา ขรก.การเมือง รองเลขาฯ นายก ฝ่ายการเมือง ขรก.การเมือง รองเลขาฯ นายก ฝ่ายบริหาร ขรก.พลเรือน ผช.เลขาฯ นายก ขรก.พลเรือน หน้าที่เกี่ยวกับ ราชการในพระองค์** รัฐสภา ราชการของคณะรัฐมนตรี
  • 19. 1. 2. 3. 2. กระทรวง/ทบวง ประกอบด้วย 3 ส่วน 1. 2. 3. การบังคับบัญชา 1. รมต. --> บังคับบัญชา + รับผิดชอบงานในกระทรวง 2. รมช. --> ช่วยสั่ง + ปฏิบัติราชการ --> ตามที่ รมต.มอบหมาย 3. ป.กระทรวง --> แปลงนโยบาย --> เป็นแนวทาง + แผนการปฏิบัติราชการ 4. รอง ป.กระทรวง --> ช่วยสั่ง + ปฏิบัติราชการ --> ที่ ป.กระทรวงมอบหมาย สานักงานรัฐมนตรี มีหน้าที่เกี่ยวกับ --> ราชการทางการเมือง 1. เลขารัฐมนตรี --> ผู้บังคับบัญชา --> ขรก.การเมือง 2. ผช.เลขา --> 1 คนหรือหลายคนก็ได้ --> ขรก.การเมือง เลขาฯ ครม. บังคับบัญชา ขรก. ขรก.พลเรือน รองเลขาฯ ครม. ขรก.พลเรือน ผช.เลขาฯ ครม. ขรก.พลเรือน สานักงานรัฐมนตรี ไม่มีฐานะเป็นกรม และไม่เป็นนิติบุคคล สานักงานปลัดกระทรวง มีฐานะเป็นกรม นิติบุคคล กรม นิติบุคคล
  • 20. สานักงานปลัดกระทรวง หน้าที่ 1. ราชการทั่วไปของกระทรวง + ราชการที่ ครม.ไม่ได้กาหนดให้เป็นหน้าที่ของกรมใด ในสังกัด กระทรวงโดยเฉพาะ 2. กากับ + เร่งรัด การปฏิบัติราชการในกระทรวง --> ให้เป็นไปตามนโยบาย + แผนการปฏิบัติราชการ ของกระทรวง 3.ทบวง ราชการ --> สภาพ + ปริมาณงาน ไม่เหมาะที่จะจัดตั้งเป็นกระทรวง ประกอบด้วย 1. สานักงานรัฐมนตรี 2. สานักงานปลัดกระทรวง 3. กรม 4. กรม ผู้บังคับบัญชา 1. อธิบดี --> บังคับบัญชา ขรก. + รับผิดชอบการปฏิบัติราชการของกรม 2. รองอธิบดี 5. การปฏิบัติราชการแทน ปฏิบัติราชการแทน --> การมอบอานาจของผู้มีอานาจตามกฎหมาย --> ให้กับผู้ใต้บังคับบัญชา/ มอบให้ ผวจ. หลักเกณฑ์การมอบอานาจ 1. เมื่อมอบอานาจแล้ว --> ผู้รับมอบมีหน้าที่ต้องรับมอบ (ไม่สามารถปฎิเสธได้) 2. ผู้มอบ --> จะกาหนดให้ผู้รับมอบ --> มอบอานาจให้ผู้ดารงตาแหน่งอื่นต่อไปได้ 3. กรณี มอบให้ ผวจ. --> ครม. จะกาหนดหลักเกณฑ์ --> ให้ ผวจ. มอบอานาจให้ รองผวจ.+ปจ+หน. ส่วนฯ 4. การมอบต้องทาเป็นหนังสือ กรม กอง สนง.เลขานุการกรม
  • 21. 5. การมอบ --> ให้พิจารณา --> การอานวยความสะดวกแก่ประชาชน + ความรวดเร็วในการปฏิบัติ ราชการ + การกระจายความรับผิดชอบตามสภาพของตาแหน่งของผู้รับมอบอานาจ 6. เมื่อมอบแล้ว ผู้มอบมีหน้าที่ - กากับดูแล - ติดตามผลการปฏิบัติราชการ - มีอานาจแนะนา/แก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบได้ 6. การรักษาราชการแทน รักษาราชการแทน --> ผู้มีอานาจไม่อาจปฏิบัติราชการได้/ไม่มีผู้ดารงตาแหน่ง/มีแต่ไม่สามารถ ปฏิบัติราชการได้ 1. 2. 3. 4. นายกรัฐมนตรี ไม่มีรอง/มีแต่ทางานไม่ได้ครม.มอบ รมต. มีรองหลายคน ครม.มอบรองคนใดคนหนึ่ง รองนายก รมต. ไม่มี รมต.ช่วย/มีแต่ทางานไม่ได้ครม. --> มอบ รมต.คนใดคนหนึ่ง รมต.ช่วยหลายคน ครม. --> มอบ รมต.ช่วยคนใดคนหนึ่ง รมต.ช่วย เลขารัฐมนตรี ไม่มีเลขาฯ/มีแต่ทางานไม่ได้รมต. --> มอบ ขรก.ในกระทรวง ผช.เลขา หลายคน รมต.มอบ ผช.เลขา ป.กระทรวง ไม่มีรอง ป.กระทรวง/มีแต่ทางานไม่ได้ - รมต. --> แต่งตั้ง ขรก.ไม่ต่ากว่าอธิบดี/เทียบเท่า รอง ป.หลายคน รมต. --> แต่งตั้ง รองฯ รอง ป.กระทรวง นายก --> แต่งตั้ง กรณี สานักนายก กรณี สานักนายก ไม่มีรอง ป.กระทรวง ป.กระทรวง --> แต่งตั้ง ขรก. ไม่ต่ากว่า ผอ.กอง/เทียบเท่า
  • 22. 5. *ผู้รักษาราชการแทน --> มีอานาจเช่นเดียวกับผู้ที่ตนแทน *ไม่บังคับใช้ในราชการทหาร 7.ราชการในต่างประเทศ ** กระทรวงแบ่งท้องที่เป็นเขต --> วัตถุประสงค์เพื่อ --> ปฏิบัติงานทางวิชาการ ** ผู้ตรวจราชการกระทรวง --> พิจารณาจาก --> สภาพและ ปริมาณงาน อธิบดี ไม่มีเลขาฯ/มีแต่ทางานไม่ได้ ป.กระทรวง --> แต่งตั้ง ขรก.ในกรม เทียบเท่ารองอธิบดี/หน.กอง รองหลายคน ป.กระทรวง --> แต่งตั้ง รองอธิบดี ราชการในต่างประเทศ รอง หน.คณะผู้แทน หน.คณะผู้แทน คณะผู้แทน
  • 23. การบริหารราชการส่วนภูมิภาค 1. จังหวัด ส่วนราชการที่ไม่ได้อยู่ในกากับ ของ ผวจ. อานาจในการบังคับบัญชาของ ผวจ. 1. บังคับบัญชา ขรก.ฝ่ายบริหาร 2.กากับดูแลการปฏิบัติราชการ 3. ยับยั้งการกระทาใดๆ ของ ขรก ที่ขัดต่อกฎหมาย 4. ประสานงานและร่วมมือกับทหารฯลฯ 5.กากับการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานรัฐวิสาหกิจ 6. บรรจุ และแต่งตั้ง ลงโทษ ขรก ส่วนภูมิภาค คณะกรมการจังหวัด 1. ผวจ. ประธาน 2. รองผวจ. 1 คน รองประธาน 3. หน.ส่วนประจาจังหวัด เช่น ปจ. อัยการจังหวัด กรรมการ 4. หน.สนง.จังหวัด กรรมการและเลขา หน้าที่ 1. จัดทาแผนพัฒนาจังหวัดให้สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติ 2. ความต้องการของประชาชนในจังหวัด ตั้ง ยุบ เปลี่ยนแปลงเขต พรบ. นิติบุคคล ขรก.ครู No จังหวัดขรก.ใน สตง. ขรก.ในมหาลัย ขรก.ฝ่ายอัยการ ขรก.ตุลาการ ทหาร
  • 24. ผู้บังคับบัญชา 1. 2. *รอง ผวจ. --> ป.มท. แต่งตั้งและสั่งบรรจุ *ผวจ. + รองผวจ. + นอ. = สังกัด ก.มท. + No --> กรมการปกครอง 3. 4. *คกก.ธรรมาธิบาล (ก.ธ.จ.) --> สอดส่องและเสนอแนะการปฏิบัติภารกิจของหน่วยงานของรัฐใน จังหวัด การแบ่งส่วนราชการ 1. สนง.จังหวัด --> มีหน้าที่ราชการทั่วไป + การวางแผนพัฒนาจังหวัด --> หน.สนง.จ. = ผู้บังคับบัญชา 2. ส่วนต่างๆ ที่กระทรวง ทบวง กรม จัดตั้งขึ้น --> เกี่ยวกับราชการ --> มีหน.ส่วนราชการเป็นผู้ปกครอง 2. อาเภอ ผวจ. รับผิดชอบราชการในจังหวัด และอาเภอ บังคับบัญชา ขรก.ฝ่ายบริหารในภูมิภาครับนโยบาย มาปฏิบัติ ปฏิบัติราชการแทน ผวจ. ผู้ช่วยสั่ง รอง ผวจ. ปจ. หน.ส่วนราชการประจาจังหวัด สังกัด กระทรวง ทบวง กรม ที่ส่งมาทาหน้าที่เป็น ผช. ตั้ง ยุบ เปลี่ยนแปลงเขต พรก. No นิติบุคคล
  • 25. การแบ่งส่วนราชการ การบังคับบัญชา 1. 2. 3. คณะบุคคลที่ทาหน้าที่ไกล่เกลี่ย 1. นอ. พนักงานอัยการประจาจังหวัด / ปอ.ที่ได้รับมอบหมาย --> ประธาน 2. บุคคล จากบัญชีรายชื่อ --> ที่นอ.จัดทาขึ้นโดยความเห็นชอบจากคณะกรมการจังหวัด --> ให้คู่พิพาท เลือกมาฝ่ายละ 1 คน อาเภอ สนง.อาเภอ หน.ส่วนระดับอาเภอ นอ. = ผู้ปกครอง หน.ส่วน = ผู้ปกครอง นอ. สังกัด มท. บริหารราชการในเขตอาเภอ ปจ. หน.ส่วน สังกัด กระทรวง ทบวง กรม ที่ส่งมาทาหน้าที่เป็น ผช. ช่วยเหลือ นอ. บังคับบัญชา ขรก.ในภูมิภาค ที่สังกัด กระทรวง ทบวง กรม เงื่อนไขในการไกล่เกลี่ย ทางแพ่ง ข้อพิพาทไม่เกิน 200,000 บาทหรือมากกว่านั้น เป็นเรื่องพิพาทเกี่ยวกับที่ดิน มรดก ฝ่ ายหนึ่งมีภูมิลาเนาในเขตอาเภอ การไกล่เกลี่ย ทางอาญา ผู้ไกล่เกลี่ย ความผิดยอมความได้ไม่ใช่ความผิดเกี่ยวกับเพศ ความผิดเกิดในเขตอาเภอ นอ . ปอ.ที่ นอ.มอบหมาย คู่กรณียินยอม
  • 26. การรักษาราชการแทน --> ในอาเภอ 1. ไม่มี นอ. --> ผวจ. แต่งตั้ง ปอ./หน.ส่วนประจาอาเภอ ผู้อาวุโส --> รักษาราชการแทน 2. มี นอ. แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ --> นอ.แต่งตั้ง ปอ./หน.ส่วนอาเภอ --> รักษาราชการแทน 3. ผวจ. + นอ. --> ไม่ได้แต่งตั้งให้ผู้ใดรักษาราชการแทน --> ปอ./หน.ส่วนอาเภอ --> รักษาราชการแทน ส่วนราชการระดับอาเภอ --> 9 หน่วย 1. สนง.คลังจังหวัด ณ อาเภอ 2. สนง.ประมงอาเภอ 3. สนง.ปศุสัตว์อาเภอ 4. สนง. เกษตรอาเภอ 5. ที่ทาการปกครองอาเภอ 6. สนง.ที่ดินอาเภอ 7. สนง.พัฒนาชุมชนอาเภอ 8. เรือนจาอาเภอ 9. สนง.สาธารณสุขอาเภอ การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น มี 4 ส่วน 1. อบจ. 2. เทศบาล 3. สุขาภิบาล 4. ส่วนราชการอื่น ตามกฎหมายกาหนด ปัจจุบัน มี 3 ส่วน คือ 4.1 อบต. 4.2 กทม. 4.3 เมืองพัทยา
  • 27. คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) จานวนไม่เกิน 14 คน 1. นายกฯ ประธาน 2. นายกฯ กาหนด รมต. 1 คน รองประธาน 3. ผู้ซึ่งคณะกรรมการกระจายอานาจให้แก่ อปท.มอบหมาย 1 คน 4. ผู้ทรงคุณวุฒิ --> ไม่เกิน 10 คน - ครม. --> แต่งตั้ง ผู้ที่มีความรู้ + ความเชี่ยวชาญด้าน นิติศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ บริหารรัฐกิจ การบริหารธุรกิจ การเงินการคลัง สังคมวิทยา --> ด้านละ 1 คน - ครม. --> กาหนดให้ผู้ทรงฯ ไม่น้อยกว่า 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน --> ทางานเต็มเวลา 5. เลขาธิการ ก.พ.ร. --> เป็นกรรมการและเลขา **ดารงตาแหน่งคราวละ 4 ปี --> แต่งตั้งได้ไม่เกิน 2 วาระติดต่อกัน
  • 28. พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 นายกรัฐมนตรี --> รักษาการ บังคับใช้ถัดจากวันประกาศ นิยาม “ขรก.พลเรือน” --> บุคคลซึ่งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตาม พรบ.นี้ --> ได้รับเงินเดือน จากเงินงบประมาณในกระทรวง --> กรมฝ่ายพลเรือน *** พนักงานส่วนท้องถิ่น + ทหาร ไม่ใช่ฝ่ายพลเรือน ประเภทของ ขรก.พลเรือน 1. ขรก.พลเรือนสามัญ 2. ขรก.พลเรือนในพระองค์ “ปลัดกระทรวง” --> ป.สานักนายก + ป.ทบวง คณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) คกก.ขรก.พลเรือน (ก.พ.) จานวน 10 – 12 คน โครงสร้าง 1. นายก/รองนายกฯ ที่นายกมอบหมาย ประธาน 2. ป.ก.คลัง 3. ผอ.สานักงบประมาณ 4. เลขา คกก.พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 5. เลขา กพ. 6. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ทรงคุณวุฒิ 1. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าแต่งตั้ง จานวน ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน 2. เป็นผู้มีความรู้ด้าน 1. การบริหารทรัพยากรบุคคล 2. ด้านการบริหารและจัดการ 3. ด้านกฎหมาย กรรมการโดยตาแหน่ง
  • 29. 3. วาระการดารงตาแหน่ง 3 ปี --> พ้นแล้วแต่งตั้งได้อีก สนง.กพ. หน้าที่ สนง.กพ. --> มี 14 ข้อ 7. จัดทายุทธศาสตร์ การดาเนินงาน การพัฒนาทรัพยากรบุคคล 9. ดาเนินการเกี่ยวกับทุนเล่าเรียนหลวง ทุนรัฐบาล 10. ดูแลบุคลากรภาครัฐ และนักเรียนทุน 11. รับรองคุณวุฒิ 12. รักษา ทบ.ประวัติ และการควบคุม เกษียณอายุของ ขรก. 13. จัดทารายงานประจาปี เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรบุคคล ต่อ --> กพ. และครม. สานักงาน กพ. เลขา กพ. เป็นผู้บังคับบัญชา ขึ้นตรงต่อนายก คณะอนุกรรมการสามัญ อ.กพ.กระทรวง อ.กพ.กรม อ.กพ.จังหวัด อ.กพ.ประจาส่วนราชการอื่น
  • 30. คณะอนุกรรมการสามัญ (อ.ก.พ.) ประเภท อ.ก.พ. จานวน ประธาน รอง ผู้แทน ขรก. สนง. ก.พ. อนุกรรมการที่ ประธานแต่งตั้ง หน้าที่ จานวน ผู้ทรงคุณวุฒิ ขรก.ที่ดารงตาแหน่ง ผู้มีความรู้ จานวน ประเภท จานวน 1. อ.ก.พ. กระทรวง ไม่เกิน 11 คน รมต. ป. กระทรวง 1 คน ไม่เกิน 8 คน 1. ด้านการบริหารทรัพยากร บุคคล 2. ด้านการบริหารและการ จัดการ 3. ด้านกฎหมาย ไม่เกิน 3 คน ประเภทบริหารระดับสูง ใน กระทรวง ไม่เกิน 5 คน 1.กาหนดนโยบาย ระเบียบ 2.เกลี่ยอัตรากาลัง 3.ดาเนินการทางวินัยและ ให้ออก 2. อ.ก.พ. กรม " อธิบดี รองอธิบดี - ไม่เกิน 9 คน " ไม่เกิน 3 คน ประเภทบริหาร/อานวยการ ไม่เกิน 6 คน 1.กาหนดนโยบาย ระเบียบ 2.เกลี่ยอัตรากาลังในกรม 3.ดาเนินการทางวินัยและ ให้ออก 3. อ.ก.พ. จังหวัด " ผวจ. รอง ผวจ. - ไม่เกิน 9 คน " ไม่เกิน 3 คน ประเภทบริหาร/อานวยการ ไม่เกิน 6 คน 1.กาหนดนโยบาย ระเบียบ 2.ดาเนินการทางวินัยและ ให้ออก 3.ปฏิบัติตาม อ.ก.พ. กระทรวง/ อ.ก.พ. กรม มอบหมาย
  • 31. คณะกรรมการพิทักษ์ระบบคุณธรรม คกก.พิทักษ์ระบบคุณธรรม (ก.พ.ค.) --> ทางานเต็มเวลา 1. คณะกรรมการ --> จานวน 7 คน --> ทางานเต็มเวลา 2. ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าแต่งตั้ง กรรมการคัดเลือก --> 4 คน ประกอบด้วย 1. ประธานศาลปกครองสูงสุด ประธาน 2. รองประธานศาลฎีกา --> ที่ประธานมอบหมาย กรรมการ 3. กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน --> ก.พ.เลือก กรรมการ 4. เลขา ก.พ. เลขา คุณสมบัติของผู้จะได้รับคัดเลือก 1. มีสัญชาติไทย 2. อายุไม่ต่ากว่า 45 ปี วาระการดารงตาแหน่ง - ดารงตาแหน่ง 6 ปี --> นับแต่วันโปรดเกล้าฯ - ดารงตาแหน่งได้เพียงวาระเดียว หน้าที่ 1. เสนอแนะ ดาเนินการด้านบริหารทรัพยากรบุคคล ในส่วนที่เกี่ยวกับพิทักษ์ระบบคุณธรรม 2. พิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ 3. วินิจฉัย เรื่องราวร้องทุกข์ 4. พิจารณาการคุ้มครองระบบคุณธรรม 5. ออกกฎ ก.พ.ค. 6. แต่งตั้ง กรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ จุดประสงค์ของการจัดระเบียบ จุดประสงค์ของการจัดระเบียบ ขรก.พลเรือน ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า
  • 32. ประเภทของ ขรก. คุณสมบัติของ ขรก.พลเรือน 1. มีสัญชาติไทย 2. อายุไม่ต่ากว่า 18 ปีบริบูรณ์ 3. เลื่อมใสการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทางเป็นประมุข ด้วยความบริสุทธิ์ใจ ลักษณะต้องห้าม 1. ผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง 2. คนไร้/เสมือนไร้ 3. บ้า 4. โรคติดต่อร้ายแรง 5. อยู่ในระหว่างถูกพักราชการ/สั่งให้ออกจากราชการ ขรก.อาจได้รับเงินเพิ่ม หลักในการบรรจุคนเข้ารับราชการ 1. ความรู้ความสามารถ 2. ความเสมอภาค 3. ความเป็นธรรม 4. ประโยชน์ราชการ ประเภทของ ขรก.พลเรือน ขรก.พลเรือนสามัญ ขรก.พลเรือนในพระองค์ ได้รับเงินเพิ่ม ประจาอยู่ใน ตปท. ตาแหน่งในบางท้องที่ ตาแหน่งบางสายงาน ตาแหน่งที่มีเหตุพิเศษตามระเบียบ ก.พ. --> ก.คลังเห็นชอบ
  • 33. *ครม. --> มีอานาจปรับเงินเดือนให้เหมาะสม --> ไม่เกินร้อยละ 10 --> ตราเป็น พรก. --> เกินร้อยละ 10 --> ตราเป็น พรบ. ตาแหน่ง ขรก.พลเรือน --> 4 ประเภท 1. 2. 3. 4. อ.ก.พ.กระทรวง กาหนดตาแหน่งในส่วนราชการ จานวนเท่าใด ตาแหน่งประเภทใด สายงานใด ระดับใด ใช้หลัก 1. ประสิทธิภาพ 2. ประสิทธิผล 3. ความไม่ซ้าซ้อน 4. ประหยัด วิชาการ ปฏิบัติการ ชานาญการ ชานาญการพิเศษ (8ว) เชี่ยวชาญ ทรงคุณวุฒิ จ่าจังหวัด ป้ องกันจังหวัด ผู้ตรวจราชการกรมการปกครอง ที่ปรึกษา ทั่วไป ปฏิบัติงาน ชานาญการ อาวุธโส ทักษะพิเศษ บริหาร ระดับต้น ระดับสูง รอง ป.กระทรวง ป. กระทรวง รอง อปค. อปค. ผวจ. ป.กระทรวง --> แต่งตั้ง รมต. --> แต่งตั้ง อานวยการ ระดับต้น ระดับสูง ผอ.กอง นอ.9 นอ.8 ปจ. อธิบดี --> แต่งตั้ง ป.กระทรวง --> แต่งตั้ง
  • 34. *ขรก. --> ประเภทบริหาร --> ทางานครบ 4 ปี ผู้มีอานาจสั่งบรรจุและแต่งตั้ง --> ย้าย/โอน ไปปฏิบัติหน้าที่อื่น กรณี ครม. --> อนุมัติให้คงอยู่ --> ปฏิบัติหน้าที่ต่อไปได้อีก ไม่เกิน 2 ปี จรรยาบรรณ ขรก. 1. ยึดมั่น และยืนหยัดทาสิ่งที่ถูกต้อง 2. ซื่อสัตย์สุจริต และรับผิดชอบ 3. ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 4. ไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม 5. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ความผิดทางวินัยร้ายแรง 1. ปฏิบัติ/ละเว้นการปฏิบัติ โดยมิชอบ --> เพื่อให้เกิดความเสียหายร้ายแรงแก่ผู้ใด/ การละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ --> โดยทุจริต 2. ละทิ้ง/ทอดทิ้งหน้าที่ + ไม่มีเหตุผลอันสมควร --> ทาให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง 3. ทิ้งราชการติดต่อกัน --> เกิน 15 วัน + ไม่มีเหตุอันควร 4. ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง 5. ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหง/ทาร้าย --> ประชาชน + ผู้ติดต่อราชการ + อย่างร้ายแรง 6. ทาผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุก/หนักกว่าจาคุก + คาพิพากษาถึงที่สุด ยกเว้น ประมาทกับลหุโทษ 7. ละเว้นการกระทา/กระทาการใดๆ --> โดยไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติ + ข้อห้าม --> เป็นเหตุให้เสียหายแก่ ราชการอย่าร้ายแรง 8. ทา/ไม่ทาใดๆ --> ที่ไม่ปฏิบัติตามที่ ก.พ. กาหนดให้เป็นความผิดร้ายแรง โทษทางวินัย --> 5 สถาน 1. ภาคทัณฑ์ 2. ตัดเงินเดือน โทษความผิดไม่ร้ายแรง 3. ลดเงินเดือน 4. ปลอดออก 5. ไล่ออก *การลงโทษให้ทาเป็นหนังสือ + เหมาะสมกับความผิด + ยุติธรรม + ปราศจากอคติ โทษความผิดร้ายแรง
  • 35. การออกจากราชการ 1. ตาย 2. พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จ บานาญ 3. ลาออก 4. ถูกสั่งให้ออก 5. ถูกปลดออก/ไล่ออก พ้นจากราชการตามกฎหมายบาเหน็จ บานาญ ขรก. 1. พ้นเมื่ออายุครบ 60 ปีบริบูรณ์ --> ในสิ้นปีงบประมาณ 2. ต้องการให้รับราชการต่อ --> ต่อไปได้ไม่เกิน 10 ปี ในตาแหน่ง 2.1 ประเภทวิชาการ ได้แก่ เชี่ยวชาญ + ทรงคุณวุฒิ 2.2 ประเภททั่วไป ได้แก่ อาวุธโส + ทักษะพิเศษ ลาออก ลาออก ยื่นหนังสือขอลาออก ต่อผู้บังคับบัญชา เหนือขึ้นไป 1 ชั้น ก่อนวันลาออก ไม่น้อยกว่า 30 วัน กรณี ผู้บังคับบัญชา ยับยั้ง ยับยั้งได้ไม่เกิน 90 วัน
  • 36. การลาออกที่มีผลนับแต่วันที่ลาออก (ออกได้ทันที) 1. เพื่อไปดารงตาแหน่งในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญ 2. ดารงตาแหน่งทางการเมือง 3. สมัครรับเลือกตั้งเป็น สส./สว. 4. สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่น/ผู้บริหารท้องถิ่น ให้ออก 1. ป่วย ทางานไม่ได้ 2. สมัครไปปฏิบัติงานใดๆ --> ตามความประสงค์ของทางราชการ 3. ขาดคุณสมบัติ 4. ทางานไม่มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล 5. หย่อนความสามารถ 6. ยุบเลิก/ยุบหน่วยงาน 7. ถูกสอบสวนกระทาความผิดร้ายแรง --> ถ้ารับราชการต่อไปจะเกิดความเสียหายแก่ราชการ 8. คาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก การอุทธรณ์ 1. ถูกให้ออกจากราชการ --> อุทธรณ์ต่อ ก.พ.ค. --> ภายใน 30 วัน 2. ก.พ.ค. จะวินิจฉัยเอง/ตั้งคณะกรรมการวินิจฉัยก็ได้ ระยะเวลาในการวินิจฉัยของ ก.พ.ค. 1. พิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 120 วัน --> นับแต่วันได้รับอุทธรณ์ 2. ขยายเวลาได้ไม่เกิน 2 ครั้ง --> ครั้งละไม่เกิน 60 วัน *ผู้อุทธรณ์ไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉัยของ ก.พ.ค. --> ฟ้องศาลปกครองสูงสุด --> ใน 90 วัน นับแต่วัน ทราบคาวินิจฉัยของ ก.พ.ค. การร้องทุกข์ ร้องทุกข์ ร้องต่อผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไป ร้องต่อ ก.พ.ค.
  • 37. อานาจในการวินิจฉัยร้องทุกข์ของ ก.พ.ค. 1. ไม่รับเรื่องร้องทุกข์ 2. ยกคาร้อง 3. วินิจฉัยให้แก้ไขหรือยกเลิกคาสั่ง 4. เยียวยาความเสียหายของผู้ร้องทุกข์ 5. ดาเนินการอื่นใด เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม ตามระเบียบที่ ก.พ.ค. กาหนด ขรก.ในพระองค์ การบริหารงานบุคคล --> ตราเป็น พรก. เป็นไปตาม พระราชอัธยาศัย การแต่งตั้ง การพ้นจากตาแหน่ง
  • 38. พรบ.ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 ** ประเทศไทย มีทั้งหมด 20 กระทรวง ** ** สำนักนำยก ** มีหน่วยงานในสังกัด 1. สานักงานปลัดสานักนายกรัฐมนตรี 2. กรมประชาสัมพันธ์ 3. สานักงานคุ้มครองผู้บริโภค (ส่วนที่ขึ้นตรงต่อนายก) 4. สานักเลขาฯ นายกฯ 5. สานักเลขาฯ คณะรัฐมนตรี 6. สานักข่าวกรองแห่งชาติ 7. สานักงบประมาณ 8. สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ 9. สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา 10. สานักงาน ก.พ. 11. สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 12. สานักงานพัฒนาระบบราชการ (กพร.) 13. สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ** ส่วนรำชกำรไม่สังกัดสำนักนำยกฯ อยู่ในข้อบังคับของนำยก ** 1. สานักราชเลขาธิการ 2. สานักพระราชวัง 3. สานักงานพระพุทธศาสนา 4. สานักงานประสานงานโครงการในพระราชดาริ อยู่ในบังคับบัญชาของนายกฯ 5. สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 6. ราชบัณฑิตยสถาน 7. สานักงานตารวจแห่งชาติ 8. สานักงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน 9. สานักงานอัยการสูงสุด 10. สานักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ (ปปท.) อยู่ในบังคับของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
  • 39. พรบ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 นายกรัฐมนตรี --> รักษาการ วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ไม่บังคับใช้กับ 1. รัฐสภา และครม. 2. องค์กรที่ใช้อานาจตามรัฐธรรมนูญโดยเฉพาะ (องค์กรอิสระ) 3. การพิจารณาของนายกฯ หรือรมต. ในงานทางนโยบายโดยตรง 4. การพิจารณาคดีของศาล และการดาเนินงานของ จนท.ในกระบวนการพิจารณาคดี การบังคับคดี และการวางทรัพย์ 5. การพิจารณาวินิจฉัยเรื่องร้องทุกข์ 6. การดาเนินงานเกี่ยวกับนโยบายต่างประเทศ 7. ราชการทหาร/จนท.ปฏิบัติหน้าที่ทางยุทธการร่วมกับทหารในการป้ องกัน และรักษาความมั่นคง 8. การดาเนินการตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา 9. กิจการของทางศาสนา นิยาม “วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง” --> การเตรียมการ + การดาเนินการของจนท. --> เพื่อจัดให้มี 1. คาสั่งทางปกครอง 2. กฎ และ 3. การดาเนินการใดๆในทางปกครอง “การพิจารณาทางปกครอง” --> การเตรียม + ดาเนินการของจนท. --> จัดให้มีคาสั่งทางปกครอง “คาสั่งทางปกครอง” --> 1. การใช้อานาจตามกฎหมายของ จนท. --> ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้น ระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลต่อ สถานภาพของสิทธิ หรือหน้าที่ของบุคคลไม่ว่าจะเป็นการชั่วคราว หรือถาวร เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการ รับจดทะเบียน ยกเว้น การออกกฎ 2. กฎ = พรก. กฎกระทรวง ประกาศกระทรวง ข้อบัญญัติท้องถิ่น ระเบียบ ข้อบังคับ มีผลบังคับเป็นการทั่วไป --> ไม่บังคับแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่ง
  • 40. คณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง --> จานวน 11 – 15 คน โครงสร้าง 1. ประธาน --> ครม.แต่งตั้ง --> ดารงตาแหน่ง 3 ปี 2. ป.สานักนายก 3. ป.มท. 4. เลขา ครม. 5. เลขา คกก.ก.พ. 6. เลขา คกก.กฤษฎีกา 7. ผู้ทรงคุณวุฒิ ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน ผู้ทรงคุณวุฒิ 1. ครม. --> แต่งตั้งผู้ทรงฯ 2. วาระดารงตาแหน่ง --> 3 ปี 3. เมื่อพ้นแล้วได้รับแต่งตั้งได้อีก คุณสมบัติผู้ทรงฯ มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ ทาง 1. นิติศาสตร์ 2. รปศ. 3. รัฐศาสตร์ 4. สังคมศาสตร์ 5. การบริหารราชการแผ่นดิน จนท.ต่อไปนี้จะทาการพิจารณาทางปกครองไม่ได้ 1. เป็นคู่กรณีเอง 2. เป็นคู่หมั้น/คู่สมรสของคู่กรณีเอง 3. เป็นญาติของคู่กรณี --> พ่อ แม่ ผู้สืบสันดานไม่ว่าชั้นใดๆ/พี่น้อง/ลูกพี่ ลูกน้อง นับได้เพียง 3 ชั้น/ญาติเกี่ยว พันธ์ทางการแต่งงาน --> นับได้เพียง 2 ชั้น 4. เป็น/เคยเป็น ผู้แทนโดยชอบธรรม/ผู้พิทักษ์/ผู้แทน/ตัวแทน ของคู่กรณี 5. เป็นเจ้าหนี้/ลูกหนี้/นายจ้างของคู่กรณี 6. กรณีอื่น
  • 41. การคัดค้าน ความเป็นกลางของ จนท. - จนท.หยุดการพิจารณาเรื่องไว้ก่อน + แจ้งผู้บังคับบัญชาเหนือตนขึ้นไป 1 ชั้น - ที่ประชุมมีมติ 2 ใน 3 --> ให้ผู้ถูกคัดค้านทาหน้าที่ต่อไป --> กรรมการทาหน้าที่ต่อไปได้ *มติ --> ใช้วิธีการลงคะแนนลับ และให้เป็นที่สุด แต่งตั้งให้ทาการแทน 1. แต่งตั้งบุคคลที่บรรลุนิติภาวะ ทาการแทน - ความตายของคู่กรณี/ความสามารถ/ความสามารถของคู่กรณี --> การกระทาแทนไม่ถือว่าสิ้นสุด เว้นแต่ ผู้รับสิทธิ์ตามกฎหมายของคู่กรณี/คู่กรณี --> ถอนการแต่งตั้ง 2. ผู้ยื่นคาขอมีผู้ร่วมเกิน 50 คน/คู่กรณีเกิน 50 คน --> ผู้ที่ถูกระบุชื่อ เป็นตัวแทนของคู่กรณี กรณี คู่กรณีเกิน 50 คน --> ไม่ได้กาหนดใครเป็นตัวแทน --> จนท.แต่งตั้งคนที่คู่กรณีฝ่ายข้างมาก เป็นตัวแทนร่วม **ตัวแทนร่วม --> ต้องเป็นบุคคลธรรมดา คาสั่งทางปกครอง 1. คาสั่งอนุญาต 2. คาสั่งลงโทษ ขรก. 3.ประกาศผลสอบ 4. คาสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน *** คาสั่งย้าย ขรก. และประกาศแจ้งเตือน --> ไม่ใช่คาสั่งทางปกครอง คู่กรณีมีโอกาสทราบข้อเท็จจริง และโต้แย้ง 1. คาสั่งทางปกครอง --> ให้คู่กรณีทราบข้อเท็จจริง + โต้แย้งได้ ยกเว้น จะก่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงต่อประโยชน์สาธารณะ 2. ไม่บังคับใช้ในกรณี ดังนี้ - การบรรจุ + การเลื่อนเงินเดือน + การสั่งพักงาน/ให้ออกจากงาน + ให้พ้นจากตาแหน่ง - แจ้งผลการสอบ/การวัดผลความรู้/ความสามารถของบุคคล - ไม่ออกหนังสือเดินทางไป ตปท. - ไม่ตรวจลงตราหนังสือเดินทางของคนต่างด้าว - ไม่ออกใบอนุญาต/ไม่ต่อใบอนุญาตของคนต่างด้าว - สั่งเนรเทศ
  • 42. รูปแบบของคาสั่งทางปกครอง 1. หนังสือ --> ระบุ ว/ด/ป ที่ทาคาสั่ง + ชื่อ + ตาแหน่ง + ลายมือชื่อของผู้ทาคาสั่ง 2. วาจา 3. การสื่อความหมายในรูปแบบอื่น อุทธรณ์คาสั่งทางปกครอง *คาอุทธรณ์ที่ออกโดย รมต. --> ไม่ต้องอุทธรณ์ --> ฟ้องศาลปกครองได้เลย - การอุทธรณ์ --> ไม่เป็นเหตุให้ทุเลา การบังคับตามคาสั่งทางปกครอง เว้นแต่ จะมีคาสั่งทุเลาโดยผู้มีอานาจ - กรณี เห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ --> แก้ไขเปลี่ยนแปลง + ในกาหนดเวลาด้วย - กรณี ไม่เห็นด้วยกับคาอุทธรณ์ --> เร่งรายงานความเห็น + เหตุผล --> ไปยังผู้มีอานาจพิจารณาคาอุทธรณ์ ภายใน 30 วัน นับแต่ได้รับอุทธรณ์ ผู้มีอานาจพิจารณาอุทธรณ์ 1. 2. 3. ยื่นอุทธรณ์ต่อจนท.ผู้ทาคาสั่งทางปกครอง ภายใน 15 วันนับแต่วันได้รับแจ้งคาสั่ง ทาเป็นหนังสือระบุข้อโต้แย้งจนท.พิจารณาคาอุทธรณ์โดยไม่ชักช้าไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันได้รับการอุทธรณ์ นายกฯ รมต. ผู้ทาคาสั่งเป็น หน.ส่วนที่ขึ้นตรงต่อนายกฯ /รมต. ปลัดกระทรวง ปลัดกระทรวง ป.ทบวง ผู้ทาคาสั่งเป็น อธิบดี/เทียบเท่า อธิบดี หน.ส่วน ที่มีฐานะ เป็นกรม ผู้ทาคาสั่งเป็น เลขาฯ กรม หน.ส่วนระดับกลาง หน.ส่วนประจาเขต
  • 43. 4. คาสั่งทางปกครองให้ชาระเงิน - เมื่อถึงกาหนดแล้วไม่ชาระ --> จนท.มีหนังสือแจ้งเตือน ให้ชาระในเวลาที่กาหนด --> ระยะเวลาต้องไม่ น้อยกว่า 7 วัน - เตือนล้วไม่ปฏิบัติตาม --> ยึด/อายัดทรัพย์และขายทอดตลาดเพื่อชาระหนี้ให้ครบถ้วน ผู้มีอาจยึดทรัพย์ 1. ป.กระทรวง --> ผู้ทาคาสั่ง เป็น จนท.ในสังกัด สนง.ป.กระทรวง 2. อธิบดี --> ผู้ทาคาสั่ง เป็น จนท.ในสังกัดของกรม 3. ผวจ. --> ผู้ทาคาสั่ง เป็น จนท.ของราชการส่วนภูมิภาค การฝ่ าฝืนคาสั่งที่กาหนดให้กระทา/ละเว้นการกระทา 1. จนท./บุคคลอื่นกระทาการแทน --> ชดใช้ค่าใช้จ่ายและยื่นเพิ่ม --> ร้อยละ 25 ต่อปี ของค่าใช้จ่ายดังกล่าว 2. ชาระค่าปรับ ตามจานวนที่สมควรแก่เหตุ --> ไม่เกิน 20,000 บาท/วัน จนท.ที่มีอานาจกาหนดค่าปรับ 1. รมต. ,คกก. ตามกฎหมายต่างๆ --> ไม่เกิน 20,000 บาท/วัน 2. ป.กระทรวง + อธิบดี (ทั่วประเทศ) + ผวจ.(ในเขตจังหวัด) --> ไม่เกิน 15,000 บาท/วัน 3. หน.ส่วนประจาจังหวัด (เฉพาะเขตจังหวัด) + นอ.(ในเขตอาเภอ) --> ไม่เกิน 10,000 บาท/วัน การแจ้งคาสั่ง การแจ้งให้ทราบโดยทางเสียง แสง/สัญญาณ (สัญญาณไฟจราจร) --> มีผลทันที่เมื่อแจ้ง การแจ้งเป็นหนังสือ 1. แจ้งโดยคนนาไปส่ง --> 1. ไม่ยอมรับ/ไม่พบ ให้ส่งกับผู้ที่บรรลุนิติภาวะที่อยู่/ทางาน ในสถานที่นั้น 2. ไม่ยอมรับ --> ปิดประกาศในที่ที่เห็นได้ง่าย ณ สถานที่นั้น ต่อหน้า เจ้าพนักงาน (ตร. ,ขรก.ส่วนกลาง ,ขรก.ประจาจังหวัด , ขรก.ส่วนท้องถิ่น) ผู้ทาคาสั่งเป็น หน.ส่วนประจาจังหวัด นอ. ผู้บริหารท้องถิ่น ผวจ.
  • 44. 2. แจ้งโดยส่งไปรษณีย์ --> ส่งแบบไปรษณีย์ตอบรับ (AR) กรณี 1. ในประเทศ --> ภายใน 7 วัน นับแต่วันที่ได้ส่ง 2. ตปท. --> ภายใน 15 วัน นับแต่วันส่ง 3. ผู้รับเกิน 50 คน --> 1. ปิดประกาศ ณ ที่ทาการของ จนท. 2. ปิดประกาศ ณ ที่ว่าการอาเภอที่ผู้รับมีภูมิลาเนา ถือว่าได้รับแจ้ง เมื่อพ้น 15 วัน นับแต่วันที่ได้แจ้ง 4. ไม่รู้ตัวผู้รับ/รู้ตัวแต่ไม่รู้ภูมิลาเนา/รู้ตัว รู้ภูมิลาเนา แต่ผู้รับเกิน 100 คน --> - ประกาศในหนังสือพิมพ์ที่แพร่หลายในท้องถิ่น ถือว่าได้รับแจ้งเมื่อพ้น 15 วัน นับแต่วันที่แจ้ง 5. จาเป็นเร่งด่วน --> - ใช้วิธีส่งทางเครื่องโทรสารก็ได้แต่ต้องมีหลักฐานจากหน่วยงาน ที่จัดส่ง และต้องส่งคาสั่งตัวจริง ในทันทีที่สามารถจะส่งได้
  • 45. พรบ.จัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง นิยาม “สัญญาทางปกครอง” --> 1. สัญญาที่อย่างน้อยฝ่ายหนึ่ง เป็นหน่วยงานทางปกครอง หรือบุคคลที่ กระทาการแทนรัฐ และ 2. มีลักษณะเป็นสัมปทาน สัญญาที่ให้จัดทาบริการสาธารณะ หรือจัดให้มี สิ่งสาธารณูปโภค หรือแสวงหาจากทรัพยากรธรรมชาติ โครงสร้างศาลปกครอง --> แบ่งเป็น 2 ชั้น อานาจของศาลปกครอง คดีพิพาทเกี่ยวกับหน่วยงานทางปกครอง หรือ จนท.ของรัฐ กระทาการดังนี้ 1. กระทาการโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย เช่น การออกกฎ คาสั่ง 2. ละเลยต่อหน้าที่ หรือ ทางานล่าช้าเกินกาหนด 3. การกระทาการละเมิด 4. สัญญาทางปกครอง 5. คดีที่กาหนดให้ฟ้ องคดีต่อศาล เพื่อบังคับให้บุคคลต้องกระทาหรือละเว้นการกระทา 6. ข้อพิพาทที่กฎหมายกาหนดให้อยู่ในอานาจศาลปกครอง เรื่องที่ไม่อยู่ในอานาจศาลปกครอง 1. วินัยทหาร 2. ระเบียบข้าราชการฝ่ายบุคลากร 3. คดีที่อยู่ในอานาจของศาลอื่น ระยะเวลาในการฟ้ องคดีปกครอง ยื่นฟ้องภายใน 90 วัน --> นับแต่วันที่รู้ หรือควรรู้ถึงสาเหตุแห่งการฟ้องคดี ศาลปกครอง ศาลปกครองสูงสุด ศาลปกครองชั้นต้น มีอานาจทั่วราชอาณาจักร ศาลปกครองกลาง ศาลปกครองในภูมิภาค
  • 46. การยื่นคาฟ้ องคดี ให้ยื่นต่อ 1. พนักงานเจ้าหน้าที่ของศาลปกครอง 2. ส่งไปรษณีย์ลงทะเบียน
  • 47. พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของ จนท. 2539 ................รักษาการ วันบังคับใช้………… นิยาม “จนท.” --> ขรก. พนักงาน ลูกจ้าง ผู้ปฏิบัติงานประเภทอื่น “หน่วยงานของรัฐ” --> กระทรวง ทบวง กรม ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น และรัฐวิสาหกิจ ความรับผิดทางละเมิดของ จนท. --> 2 ลักษณะ 1. ละเมิดที่มาจากการปฏิบัติหน้าที่ 1.1 จนท.กระทาต่อ เอกชน --> หน่วยงานต้องรับผิดชอบต่อความเสียหาย - ผู้เสียหาย ฟ้ องหน่วยงานได้โดยตรง --> ฟ้ อง จนท. ไม่ได้ - จนท.ไม่ได้สังกัดหน่วยงานใด --> ก.คลังรับผิด 1.2 จนท. กระทาต่อ หน่วยงานของรัฐ --> เรียกร้องค่าสินไหมจาก จนท. 2. ละเมิด --> ไม่ได้มาจากการปฏิบัติหน้าที่ - จนท.คลังรับผิด เป็นการเฉพาะตัว - ผู้เสียหาย --> ฟ้ อง จนท.ได้โดยตรง --> ฟ้ องหน่วยงานไม่ได้ วิธีการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน (จากหน่วยงานของรัฐ) 1. ดาเนินคดีต่อศาล 2. ยื่นคาร้องให้หน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าเสียหาย **รวมแล้วขั้นตอนในการพิจารณา --> ต้องไม่เกิน 360 วัน ฟ้องคดีต่อ ศาลยุติธรรม ศาลปกครอง ตามประเภทของคดี หน่วยงานพิจารณาให้แล้วเสร็จ ภายใน 180 วัน กรณีไม่เกิน รายงานปัญหาและอุปสรรค ให้ รมต. เจ้าสังกัดทราบเพื่อขอขยายเวลา รมต.อนุมัติขยายได้ อีกไม่เกิน 180 วัน ผู้เสียหายไม่พอใจผลการตัดสิน ของหน่วยงานราชการ ฟ้องศาลยุติธรรม/ ศาลปกครอง
  • 48. การไล่เบี้ยระหว่างหน่วยงาน กับ จนท. (ละเมิดจากการปฏิบัติหน้าที่) 1. จนท. ชดใช้ให้หน่วยงาน --> เนื่องจากหน่วยงานได้จ่ายค่าสินไหมให้แก่ผู้เสียหาย 2. จนท. จ่ายค่าทดแทน --> เนื่องจากละเมิดต่อหน่วยงาน ขอบเขตการไล่เบี้ย - - - - อายุความ การไล่เบี้ย 1. หน่วยงานของรัฐ กับ จนท. (กรณีใช้เงินแก่ผู้เสียหายแล้ว) 1 ปี นับแต่หน่วยงานของรัฐ ได้จ่ายค่าสินไหมแก่ผู้เสียหาย 2. จนท. ละเมิด กับหน่วยงานของรัฐ 2 ปี นับแต่หน่วยงานฯ รู้ถึงความละเมิด และรู้ถึง จนท. 3. กรณี หน่วยงานต้องส่งเรื่องให้ ก.คลัง ตรวจสอบ หน่วยงานเห็นว่า จนท.ไม่ผิด แต่ ก.คลังตรวจสอบแล้วต้องรับผิด 1 ปี นับแต่หน่วยงานฯ มีคาสั่งตามความเห็นของ ก.คลัง หน่วยงานที่เสียหาย ออกคาสั่ง ให้ จนท.ผู้นั้นมาชาระเงินในเวลาที่กาหนด ทาด้วยความจงใจ ทาด้วยความประมาทอย่างร้ายแรง หน่วยงาน มีสิทธิให้ จนท. ชดใช้ค่า สินไหมแทนหน่วยงานของรัฐได้ คานึงถึง ความร้ายแรงของการกระทา ความเป็นธรรม ไม่ต้องใช้เต็ม จานวนก็ได้ ต้องชดใช้ค่าสินไหม เพียงใด การละเมิดเกิดจาก ความผิด ความบกพร่องของหน่วยงาน หักส่วนแห่งความรับผิด ดังกล่าวออกด้วย ละเมิดเกิดจาก จนท.หลายคน ห้าม นาหลักลูกหนี้ร่วม มาใช้บังคับ แต่ละคนรับผิดชอบ เฉพาะส่วนของตนเอง
  • 49. พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 คานิยาม หน่วยงานของรัฐ --> ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค ส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ ส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ศาลในส่วนที่ไม่เกี่ยวกับการพิจารณาพิพากษาคดี ฯลฯ คนต่างด้าว --> 1. บุคคลธรรมดา --> คนที่ไม่มีสัญชาติไทยและไม่มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย 2. นิติบุคคล --> 1. บริษัทที่มีทุนเกินกึ่งหนี่ง เป็นของคนต่างด้าว 2. สมาคมที่สมาชิกเกินกึ่งหนึ่งเป็นคนต่างด้าว 3. สมาคมหรือมูลนิธิที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ของคนต่างด้าว 4. นิติบุคคล ตาม 1,2,3 มีผู้จัดการหรือกรรมการเกินกึ่งหนึ่งเป็นคนต่างด้าว ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผย ** ข้อมูลที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อสถาบันพระมหากษัตริย์--> เปิดเผยต่อบุคคลใดไม่ได้เลยทุกกรณี ข้อมูลข่าวสารที่อาจไม่ให้เปิดเผยก็ได้ 1. เปิดแล้วจะเกิดความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 2. เปิดแล้วจะทาให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ 3. ความเห็นหรือคาแนะนา ในหน่วยงานของรัฐในการดาเนินการเรื่องหนึ่งเรื่องใด ไม่รวมรายงาน ทางวิทยาการ รายงานข้อเท็จจริง/ข้อมูลข่าวสารที่นามาทาความเห็น 4. ก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิต/ความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งคนใด 5. รายงานทางการแพทย์เปิดแล้วรุกล้าสิทธิส่วนบุคคล 6. ข้อมูลที่กฎหมายไม่ให้เปิดเผย 7. กรณีอื่นๆ เอกสารประวัติศาสตร์ 1. ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์--> เมื่อครบ 75 ปี 2. ข้อมูลข่าวสารของราชการที่หน่วยงานของรัฐมีคาสั่งไม่เปิดเผย --> เมื่อครบ 20 ปี
  • 50. ประเภทของข้อมูลข่าวสาร 1. ข้อมูลข่าวสารที่ประกาศในราชกิจจาฯ (สิทธิที่ได้รู้) - โครงสร้างและการจัดองค์กร - สรุปอาจหน้าที่ที่สาคัญและวิธีการดาเนินงาน - สถานที่ติดต่อเพื่อขอรับข้อมูลข่าวสารหรือคาแนะนาในการติดต่อกับหน่วยงานราชการ - กฎ มติคณะรัฐมนตรี ข้อบังคับ คาสั่ง ฯ 2. ข้อมูลที่ให้ประชาชนเข้าตรวจดู (สิทธิตรวจดู) - ผลการพิจารณาหรือคาวินิจฉัยที่มีผลต่อเอกชน - นโยบายหรือการตีความที่ไม่เข้าข่ายต้องพิมพ์ลงในราชกิจจาฯ - แผนงาน โครงการ และงบประมาณรายจ่ายประจาปีของปีที่กาลังดาเนินงาน - คู่มือหรือคาสั่งเกี่ยวกับวิธีปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ซึ่งมีผลกระทบถึงสิทธิหน้าที่ ของเอกชน - สัญญาสัมปทาน สัญญาที่มีลักษณะเป็นการผูกขาดตัดตอนหรือสัญญาร่วมทุนกับเอกชน ในการจัดทาบริการสาธารณะ - มติคณะรัฐมนตรี คณะกรรมกรรวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ขอให้เปิดเผย - - > อุทธรณ์ ภายใน 15 วัน นับแต่วันได้รับแจ้ง - - > อทุธรณ์ผ่าน คกก.วินิจฉัยการ เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของราชการ ขอให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูลข่าวสาร - - > อุทธรณ์ ภายใน 30 วัน นับแต่วันได้รับแจ้ง - - > อทุธรณ์ผ่าน คกก.ข้อมูลข่าวสารของราชการ