SlideShare a Scribd company logo
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และหลักการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ
 1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
 2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)
 3.ส่วนแสดงผล (Output Unit)
 4.หน่วยความจา (Memory Unit)
1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)
ทำหน้ำที่รับข้อมูลจำกผู้ใช้เข้ำสู่หน่วยควำมจำหลัก ปัจจุบันอุปกรณ์มำกมำยแบ่งเป็นประเภทต่ำงๆ ได้ดังนี้
– Keyboard (คีย์บอร์ด) เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในกำรนำข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์
– Mouse (เมำส์) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้ำที่ป้อนข้อมูลที่เห็นกำรทำงำน โดยจะเป็นตัวที่ใช้ควบคุมลูกศรให้
เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งต่ำงๆ บนจอภำพ
– monitor (จอภำพ) คือ ส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง สำมำรถมองเห็นข้อมูลที่แสดงผลได้โดยผ่ำนจอภำพ
– case (เคส) คือ กล่องหรือโครงสร้ำงสำหรับเก็บประกอบอุปกรณ์ต่ำงๆ คอมพิวเตอร์ไว้ภำยในนั้น ซึ่งขนำด
ของเคสก็จะแตกต่ำงกันออกไป แล้วแต่กำรใช้งำนหรือควำมเหมำะสมในกำรใช้งำนของแต่ละคน รวมทั้งสถำนที่เก็บ
อุปกรณ์เหล่ำนั้นด้วยว่ำมีขนำดพื้นที่มำกน้อยเพียงใด และในตัวเคสก็จะมีในส่วนของพำวเวอร์ซัพพลำยติดมำด้วย
Keyboard (คีย์บอร์ด)
เป็นอุปกรณ์ในการรับข้อมูลที่สาคัญที่สุด มีลักษณะคล้ายแป้นพิมพ์ของ
เครื่องพิมพ์ดีด มีจานวนแป้น 84 - 105 แป้น ขึ้นอยู่กับแป้นที่เป็น
กลุ่มตัวเลข (Numeric keypad)
กลุ่มฟังก์ชัน (Function keys)
กลุ่มแป้นพิเศษ (Special-purpose keys)
กลุ่มแป้นตัวอักษร (Typewriter keys)
หรือกลุ่มแป้นควบคุมอื่น ๆ (Control keys)
ซึ่งการสั่งงานคอมพิวเตอร์และการทางานหลายๆ อย่างจาเป็นต้องใช้แป้นพิมพ์
เป็นหลัก
Mouse (เมาส์)
อุปกรณ์รับข้อมูลที่นิยมรองจากคีย์บอร์ด
เมาส์จะช่วยในการบ่งชี้ตาแหน่งว่าขณะนี้กาลัง
อยู่ณ จุดใดบนจอภาพ
เรียกว่า "ตัวชี้ตาแหน่ง (Pointer)"
ซึ่งอาศัยการเลื่อนเมาส์ แทนการกดปุ่มบังคับ
ทิศทางบนคีย์บอร์ด
monitor (จอภาพ)
จอภาพ เป็นอุปกรณ์การแสดงผลที่สาคัญที่สุด
จะเป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง สามารถ
มองเห็นข้อมูลที่ที่แสดงผลได้โดยผ่านจอภาพ
ของเรา
จอภาพของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือ
จอแบบซีอาร์ที (CRT)
และ จอแบบแอลซีดี (LCD)
case (เคส)
เคส คือ กล่องหรือโครงสร้างสาหรับเก็บ
ประกอบอุปกรณ์ต่างๆ คอมพิวเตอร์ไว้
ภายในนั้น ซึ่งขนาดของเคสก็จะแตกต่าง
กันออกไป แล้วแต่การใช้งานหรือความ
เหมาะสมในการใช้งานของแต่ละคน
รวมทั้งสถานที่เก็บอุปกรณ์เหล่านั้นด้วยว่า
มีขนาดพื้นที่มากน้อยเพียงใด และใน
ตัวเคสก็จะมีในส่วนของพาวเวอร์ซัพพลาย
ติดมาด้วย
2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)
 ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่จะขาดไม่ได้เลยคือหน่วยประมวลผลกลาง หรือ ซีพียูเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์
(Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ ที่มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่
ผู้ใช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์อินพุต ตามชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน ส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลางนั้นประกอบ
ไปด้วย
 1. หน่วยคานวณ และตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)
 2. หน่วยควบคุม (Control Unit)
 3. หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
หน่วยคานวณ และตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)
 1) หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)
 หน่วยคานวณและตรรกะเป็นหน่วยที่ทาหน้าที่คานวณทางเลขคณิตได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และ
เปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อทาการตัดสินใจ เช่น ทาการเปรียบเทียบข้อมูล เพื่อตรวจสอบว่าปริมาณหนึ่ง
น้อยกว่า เท่ากับ หรือมากกว่า อีกปริมาณหนึ่ง แล้วส่งผลการเปรียบเทียบว่า จริงหรือเท็จไปยัง
หน่วยความจาเพื่อทางานต่อไป
หน่วยควบคุม (Control Unit)
 หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ เช่น ควบคุม
การทางานของความจาหลัก หน่วยรับข้อมูล หน่วยคานวณและตรรกะ หน่วยแสดงผล
และที่เก็บข้อมูลต่าง ๆ ดังนั้นการทางานของหน่วยนี้จึงเปรียบเสมือนเป็นศูนย์กลางระบบ
ประสาท ที่ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์
โดยที่หน่วยควบคุมและซีพียูจะรับรู้คาสั่งต่าง ๆ ในรูปของคาสั่งภาษาเครื่องเท่านั้น
หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
 หน่วยความจาที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง
หน่วยความจา ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคาสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า เมื่อปิด
เครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วย ความจานี้จะหายไปด้วย หน่วยความจาหลักที่ใช้ในระบบ
คอมพิวเตอร์ปัจจุบัน เป็นชนิดที่ทามาจากสารกึ่งตัวนา หน่วยความจาชนิดนี้มีขนาดเล็ก ราคาถูก แต่เก็บ
ข้อมูลได้มาก และสามารถให้หน่วยประมวลผลกลาง นาข้อมูลมาเก็บ และเรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว
เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องอาศัยหน่วยความจาหลัก เพื่อใช้เก็บข้อมูลและคาสั่ง ซีพียูจะทา
หน้าที่นาคาสั่ง จากหน่วยความจาหลัก มาแปลงความหมายแล้วกระทาตาม เมื่อทาเสร็จก็จะนาผลลัพธ์
มาเก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก ซีพียูจะกระทาตามขั้นตอนเช่นนี้เป็นวงรอบเรื่อยๆ ไปอย่างรวดเร็ว เรียก
การทางานลักษณะนี้ว่า วงรอบคาสั่ง (Execution cycle)
3.ส่วนแสดงผล (Output Unit)
 หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ โดยมากจะแบ่งออกเป็น
2 ประเภท
 1. หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy)
หมายถึงการแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้ได้รับทราบในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกการทางานหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็
จะหายไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บได้ถ้าต้องการเก็บผลลัพธ์นั้นก็สามารถส่งถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูล
ในหน่วยเก็บข้อมูลสารอง เพื่อให้สามารถใช้งานได้ในภายหลัง
 2. หน่วยแสดงผลถำวร (Hard Copy) หมายถึงการแสดงผลที่สามารถจับต้อง และ
เคลื่อนย้ายได้ตามต้องการ มักจะออกมาในรูปของกระดาษ ซึ่งผู้ใช้สามารถนาไปใช้ในที่ต่าง ๆ หรือให้
ผู้ร่วมงานดูในที่ใด ๆ ก็ได้
1. หน่วยแสดงผลชั่วครำว (Soft Copy)
1.จอภาพ (Monitor)
2.อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector)
3. อุปกรณ์เสียง (Audio Output)
2. หน่วยแสดงผลถำวร (Hard Copy)
1.เครื่องพิมพ์(Printer)
2.เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter)
4.หน่วยความจา (Memory Unit)
 หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจาก
หน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งออกหน่วยประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรับ
ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล และเตรียมส่งออกหน่วยแสดงผลข้อมูลต่อไป ซึ่ง
หน่วยความจาของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
4.1) หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit)
 4.1.1) หน่วยควำมจำหลักแบบอ่ำนได้อย่ำงเดียว (Read Only Memory – ROM) เป็นหน่วยความจาแบบสารกึ่ง
ตัวนาชั่วคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว ใช้เป็นสื่อบันทึกในคอมพิวเตอร์ เพราะไม่สามารถบันทึกซ้าได้ (อย่างง่ายๆ) เป็นความจาที่ซอฟต์แวร์
หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะนามาต่อกับไมโครโพรเซสเซอร์ได้โดยตรง หน่วยความจาประเภทนี้แม้ไม่มีไฟเลี้ยงต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่
หายไปจากน่วยความจา (nonvolatile)
 โดยทั่วไปจะใช้เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีการแก้ไขอีกแล้วเช่น เก็บโปรแกรมไบออส (Basic Input output System :
BIOS) หรือเฟิร์มแวร์ ที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ใช้เก็บโปรแกรมการทางานสาหรับเครื่องคิดเลขใช้เก็บโปรแกรมของ
คอมพิวเตอร์ที่ทางานเฉพาะด้าน เช่น ในรถยนต์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมวงจร ควบคุมในเครื่องซักผ้า เป็นต้น
 4.1.2) หน่วยควำมจำหลักแบบแก้ไขได้ (Random Access Memory – RAM) เป็นหน่วยความจาหลัก ที่ใช้ใน
ระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน หน่วยความจาชนิดนี้อนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตาแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควร
ซึ่งต่างจากสื่อเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ อย่างเทป หรือดิสก์ ที่มีข้อจากัดในการอ่านและเขียนข้อมูล ที่ต้องทาตามลาดับก่อนหลังตามที่จัดเก็บไว้
ในสื่อ หรือมีข้อกาจัดแบบรอม ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่างเดียว
ข้อมูลในแรม อาจเป็นโปรแกรมที่กาลังทางาน หรือข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล ของโปรแกรมที่กาลังทางานอยู่ ข้อมูลในแรมจะหายไป
ทันที เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถูกปิดลง เนื่องจากหน่วยความจาชนิดนี้จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น
4.2) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage
Unit)
 4.2.1) แบบจำนแม่เหล็ก เป็นอุปกรณ์สารองข้อมูลที่เป็นลักษณะของจานแม่เหล็กสาหรับบันทึกข้อมูลไว้ภายใน Disk ได้รับความ
นิยมและใช้งานมานานพอสมควรซึ่งเป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้หลักๆ เลยในปัจจุบัน ยกตัวอย่างเช่น ฮาร์ดดิสก์
 4.2.2) แบบแสง เป็นสื่อเก็บข้อมูลสารองที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน โดยใช้หลักการทางานของแสง การจัดการข้อมูลจะคล้ายกับ
แผ่นจานแม่เหล็ก ต่างกันที่การแบ่งจะเป็นรูปก้นหอย และเริ่มเก็บบันทึกข้อมูลจากส่วนด้านในออกมาด้านนอก ที่เป็นที่นิยมและรู้จักกันดี
เช่น CD , DVD
 4.2.3) แบบเทป เป็นสื่อเก็บข้อมูลที่สามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจานวนมากและเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับต่อเนื่องกันไป มีการผลิตขึ้นมา
หลากหลายขนาดแตกต่างกันไป เช่น DAT และ QIC เป็นต้นปัจจุบันไม่ค่อยถือเป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 4.2.4) แบบอื่นๆ เป็นสื่อเก็บข้อมูลแบบใหม่ที่พบได้ทั่วไปในปัจจุบัน มีชื่อเรียกแตกต่างกันไป เช่น Flash Drive, Thumb
Drive , Handy Drive เป็นต้น อีกชนิดคือ Memory Card เพื่อใช้เก็บข้อมูลในกล้องดิจิตอลแบบพกพา
www.youtube.com/watch?v=JEUvHZ5BBz8&t=186s
รายชื่อสมาชิก
รายชื่อสมาชิก

More Related Content

What's hot

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
Araya Chiablaem
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
เขมิกา หวานเสนาะ
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
Natchanan Mankhong
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
micwatcharapong
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
micwatcharapong
 
Computer
ComputerComputer
Computer
Silver Bullet
 
อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
มายมิ้น ชื่อนี้พ่อแม่ตั้งให้
 
งานกลุ่ม
งานกลุ่มงานกลุ่ม
งานกลุ่ม
Jump Takitkulwiwat
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
Araya Chiablaem
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
sataporn kesornsiri
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
sataporn kesornsiri
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
กิตติธัช งามดี
 
หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1
Maliwan Boonyen
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
กิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
กิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
กิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
Achiraya Chomckam
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ปุญญิศา เกิดมณี
 

What's hot (20)

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
1
11
1
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณร์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
งานกลุ่ม
งานกลุ่มงานกลุ่ม
งานกลุ่ม
 
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1หลักการทำงานคอม สอนม.1
หลักการทำงานคอม สอนม.1
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 

Similar to อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
Bk Tham
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
Bk Tham
 
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)Supaksorn Tatongjai
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
Panupong Ampho
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
tee0533
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
Thanaporn Pengsri
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ 1
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ 1อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ 1
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ 1
Pacharapon Rungroj
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์onthicha1993
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์onthicha1993
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
Thanaporn Pengsri
 
Chapter 4 ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Chapter 4  ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิกChapter 4  ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Chapter 4 ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Pa'rig Prig
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ชาณชัย รักษ์พลพันธ์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
Soravit Wungseesiripetch
 

Similar to อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ (19)

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ PowerPoint
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ 1
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ 1อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ 1
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ 1
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Chapter 4 ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Chapter 4  ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิกChapter 4  ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Chapter 4 ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 เรื่อง หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
Basic computer hardware
Basic computer hardwareBasic computer hardware
Basic computer hardware
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 

More from Chaiwattana Tongpramoon

Oculus rift
Oculus riftOculus rift
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
Chaiwattana Tongpramoon
 
เทคโนโลยีในอนาคต
เทคโนโลยีในอนาคตเทคโนโลยีในอนาคต
เทคโนโลยีในอนาคต
Chaiwattana Tongpramoon
 
Airmouse
AirmouseAirmouse
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ความหมายและความสำคัญของสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Chaiwattana Tongpramoon
 

More from Chaiwattana Tongpramoon (6)

Oculus rift
Oculus riftOculus rift
Oculus rift
 
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เสริมคอมพิวเตอร์
 
Airmouse
AirmouseAirmouse
Airmouse
 
เทคโนโลยีในอนาคต
เทคโนโลยีในอนาคตเทคโนโลยีในอนาคต
เทคโนโลยีในอนาคต
 
Airmouse
AirmouseAirmouse
Airmouse
 
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจเรื่อง ความหมายและความสำคัญของสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เรื่อง ความหมายและความสำคัญของสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์

  • 2. อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และหลักการทางานของคอมพิวเตอร์จะมีวงจรการทางานพื้นฐาน 4 อย่าง (IPOS cycle) คือ  1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit)  2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)  3.ส่วนแสดงผล (Output Unit)  4.หน่วยความจา (Memory Unit)
  • 3. 1.ส่วนรับข้อมูล (Input Unit) ทำหน้ำที่รับข้อมูลจำกผู้ใช้เข้ำสู่หน่วยควำมจำหลัก ปัจจุบันอุปกรณ์มำกมำยแบ่งเป็นประเภทต่ำงๆ ได้ดังนี้ – Keyboard (คีย์บอร์ด) เป็นอุปกรณ์หลักที่ใช้ในกำรนำข้อมูลลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ – Mouse (เมำส์) เป็นอุปกรณ์ที่ทำหน้ำที่ป้อนข้อมูลที่เห็นกำรทำงำน โดยจะเป็นตัวที่ใช้ควบคุมลูกศรให้ เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งต่ำงๆ บนจอภำพ – monitor (จอภำพ) คือ ส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง สำมำรถมองเห็นข้อมูลที่แสดงผลได้โดยผ่ำนจอภำพ – case (เคส) คือ กล่องหรือโครงสร้ำงสำหรับเก็บประกอบอุปกรณ์ต่ำงๆ คอมพิวเตอร์ไว้ภำยในนั้น ซึ่งขนำด ของเคสก็จะแตกต่ำงกันออกไป แล้วแต่กำรใช้งำนหรือควำมเหมำะสมในกำรใช้งำนของแต่ละคน รวมทั้งสถำนที่เก็บ อุปกรณ์เหล่ำนั้นด้วยว่ำมีขนำดพื้นที่มำกน้อยเพียงใด และในตัวเคสก็จะมีในส่วนของพำวเวอร์ซัพพลำยติดมำด้วย
  • 4. Keyboard (คีย์บอร์ด) เป็นอุปกรณ์ในการรับข้อมูลที่สาคัญที่สุด มีลักษณะคล้ายแป้นพิมพ์ของ เครื่องพิมพ์ดีด มีจานวนแป้น 84 - 105 แป้น ขึ้นอยู่กับแป้นที่เป็น กลุ่มตัวเลข (Numeric keypad) กลุ่มฟังก์ชัน (Function keys) กลุ่มแป้นพิเศษ (Special-purpose keys) กลุ่มแป้นตัวอักษร (Typewriter keys) หรือกลุ่มแป้นควบคุมอื่น ๆ (Control keys) ซึ่งการสั่งงานคอมพิวเตอร์และการทางานหลายๆ อย่างจาเป็นต้องใช้แป้นพิมพ์ เป็นหลัก
  • 5. Mouse (เมาส์) อุปกรณ์รับข้อมูลที่นิยมรองจากคีย์บอร์ด เมาส์จะช่วยในการบ่งชี้ตาแหน่งว่าขณะนี้กาลัง อยู่ณ จุดใดบนจอภาพ เรียกว่า "ตัวชี้ตาแหน่ง (Pointer)" ซึ่งอาศัยการเลื่อนเมาส์ แทนการกดปุ่มบังคับ ทิศทางบนคีย์บอร์ด
  • 6. monitor (จอภาพ) จอภาพ เป็นอุปกรณ์การแสดงผลที่สาคัญที่สุด จะเป็นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้โดยตรง สามารถ มองเห็นข้อมูลที่ที่แสดงผลได้โดยผ่านจอภาพ ของเรา จอภาพของคอมพิวเตอร์มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ คือ จอแบบซีอาร์ที (CRT) และ จอแบบแอลซีดี (LCD)
  • 7. case (เคส) เคส คือ กล่องหรือโครงสร้างสาหรับเก็บ ประกอบอุปกรณ์ต่างๆ คอมพิวเตอร์ไว้ ภายในนั้น ซึ่งขนาดของเคสก็จะแตกต่าง กันออกไป แล้วแต่การใช้งานหรือความ เหมาะสมในการใช้งานของแต่ละคน รวมทั้งสถานที่เก็บอุปกรณ์เหล่านั้นด้วยว่า มีขนาดพื้นที่มากน้อยเพียงใด และใน ตัวเคสก็จะมีในส่วนของพาวเวอร์ซัพพลาย ติดมาด้วย
  • 8. 2.ส่วนประมวลผลข้อมูล (Central Processing Unit)  ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่จะขาดไม่ได้เลยคือหน่วยประมวลผลกลาง หรือ ซีพียูเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (chip) นับเป็นอุปกรณ์ ที่มีความสาคัญมากที่สุดของฮาร์ดแวร์ เพราะมีหน้าที่ในการประมวลผลข้อมูลที่ ผู้ใช้ป้อนเข้ามาทางอุปกรณ์อินพุต ตามชุดคาสั่ง หรือโปรแกรมที่ผู้ใช้ต้องการใช้งาน ส่วนประกอบของหน่วยประมวลผลกลางนั้นประกอบ ไปด้วย  1. หน่วยคานวณ และตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)  2. หน่วยควบคุม (Control Unit)  3. หน่วยความจาหลัก (Main Memory)
  • 9. หน่วยคานวณ และตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)  1) หน่วยคานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU)  หน่วยคานวณและตรรกะเป็นหน่วยที่ทาหน้าที่คานวณทางเลขคณิตได้แก่ การบวก ลบ คูณ หาร และ เปรียบเทียบทางตรรกะเพื่อทาการตัดสินใจ เช่น ทาการเปรียบเทียบข้อมูล เพื่อตรวจสอบว่าปริมาณหนึ่ง น้อยกว่า เท่ากับ หรือมากกว่า อีกปริมาณหนึ่ง แล้วส่งผลการเปรียบเทียบว่า จริงหรือเท็จไปยัง หน่วยความจาเพื่อทางานต่อไป
  • 10. หน่วยควบคุม (Control Unit)  หน่วยควบคุม ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งระบบ เช่น ควบคุม การทางานของความจาหลัก หน่วยรับข้อมูล หน่วยคานวณและตรรกะ หน่วยแสดงผล และที่เก็บข้อมูลต่าง ๆ ดังนั้นการทางานของหน่วยนี้จึงเปรียบเสมือนเป็นศูนย์กลางระบบ ประสาท ที่ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยที่หน่วยควบคุมและซีพียูจะรับรู้คาสั่งต่าง ๆ ในรูปของคาสั่งภาษาเครื่องเท่านั้น
  • 11. หน่วยความจาหลัก (Main Memory)  หน่วยความจาที่ต่อกับหน่วยประมวลผลกลาง และหน่วยประมวลผลกลางสามารถใช้งานได้โดยตรง หน่วยความจา ชนิดนี้จะเก็บข้อมูล และชุดคาสั่งในระหว่างประมวลผล และมีกระแสไฟฟ้า เมื่อปิด เครื่องคอมพิวเตอร์ข้อมูลในหน่วย ความจานี้จะหายไปด้วย หน่วยความจาหลักที่ใช้ในระบบ คอมพิวเตอร์ปัจจุบัน เป็นชนิดที่ทามาจากสารกึ่งตัวนา หน่วยความจาชนิดนี้มีขนาดเล็ก ราคาถูก แต่เก็บ ข้อมูลได้มาก และสามารถให้หน่วยประมวลผลกลาง นาข้อมูลมาเก็บ และเรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องต้องอาศัยหน่วยความจาหลัก เพื่อใช้เก็บข้อมูลและคาสั่ง ซีพียูจะทา หน้าที่นาคาสั่ง จากหน่วยความจาหลัก มาแปลงความหมายแล้วกระทาตาม เมื่อทาเสร็จก็จะนาผลลัพธ์ มาเก็บไว้ในหน่วยความจาหลัก ซีพียูจะกระทาตามขั้นตอนเช่นนี้เป็นวงรอบเรื่อยๆ ไปอย่างรวดเร็ว เรียก การทางานลักษณะนี้ว่า วงรอบคาสั่ง (Execution cycle)
  • 12. 3.ส่วนแสดงผล (Output Unit)  หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหน้าที่แสดงผลลัพธ์จากคอมพิวเตอร์ โดยมากจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท  1. หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy) หมายถึงการแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้ได้รับทราบในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกการทางานหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็ จะหายไป ไม่เหลือเป็นวัตถุให้เก็บได้ถ้าต้องการเก็บผลลัพธ์นั้นก็สามารถส่งถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูล ในหน่วยเก็บข้อมูลสารอง เพื่อให้สามารถใช้งานได้ในภายหลัง  2. หน่วยแสดงผลถำวร (Hard Copy) หมายถึงการแสดงผลที่สามารถจับต้อง และ เคลื่อนย้ายได้ตามต้องการ มักจะออกมาในรูปของกระดาษ ซึ่งผู้ใช้สามารถนาไปใช้ในที่ต่าง ๆ หรือให้ ผู้ร่วมงานดูในที่ใด ๆ ก็ได้
  • 20. 4.หน่วยความจา (Memory Unit)  หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหน้าที่เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลที่รับมาจาก หน่วยรับข้อมูล เพื่อเตรียมส่งออกหน่วยประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรับ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล และเตรียมส่งออกหน่วยแสดงผลข้อมูลต่อไป ซึ่ง หน่วยความจาของคอมพิวเตอร์แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
  • 21. 4.1) หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit)  4.1.1) หน่วยควำมจำหลักแบบอ่ำนได้อย่ำงเดียว (Read Only Memory – ROM) เป็นหน่วยความจาแบบสารกึ่ง ตัวนาชั่วคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว ใช้เป็นสื่อบันทึกในคอมพิวเตอร์ เพราะไม่สามารถบันทึกซ้าได้ (อย่างง่ายๆ) เป็นความจาที่ซอฟต์แวร์ หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะนามาต่อกับไมโครโพรเซสเซอร์ได้โดยตรง หน่วยความจาประเภทนี้แม้ไม่มีไฟเลี้ยงต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่ หายไปจากน่วยความจา (nonvolatile)  โดยทั่วไปจะใช้เก็บข้อมูลที่ไม่ต้องมีการแก้ไขอีกแล้วเช่น เก็บโปรแกรมไบออส (Basic Input output System : BIOS) หรือเฟิร์มแวร์ ที่ควบคุมการทางานของคอมพิวเตอร์ใช้เก็บโปรแกรมการทางานสาหรับเครื่องคิดเลขใช้เก็บโปรแกรมของ คอมพิวเตอร์ที่ทางานเฉพาะด้าน เช่น ในรถยนต์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมวงจร ควบคุมในเครื่องซักผ้า เป็นต้น
  • 22.  4.1.2) หน่วยควำมจำหลักแบบแก้ไขได้ (Random Access Memory – RAM) เป็นหน่วยความจาหลัก ที่ใช้ใน ระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน หน่วยความจาชนิดนี้อนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตาแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควร ซึ่งต่างจากสื่อเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ อย่างเทป หรือดิสก์ ที่มีข้อจากัดในการอ่านและเขียนข้อมูล ที่ต้องทาตามลาดับก่อนหลังตามที่จัดเก็บไว้ ในสื่อ หรือมีข้อกาจัดแบบรอม ที่อนุญาตให้อ่านเพียงอย่างเดียว ข้อมูลในแรม อาจเป็นโปรแกรมที่กาลังทางาน หรือข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผล ของโปรแกรมที่กาลังทางานอยู่ ข้อมูลในแรมจะหายไป ทันที เมื่อระบบคอมพิวเตอร์ถูกปิดลง เนื่องจากหน่วยความจาชนิดนี้จะเก็บข้อมูลได้เฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟ้าหล่อเลี้ยงเท่านั้น
  • 23. 4.2) หน่วยเก็บข้อมูลสารอง (Secondary Storage Unit)  4.2.1) แบบจำนแม่เหล็ก เป็นอุปกรณ์สารองข้อมูลที่เป็นลักษณะของจานแม่เหล็กสาหรับบันทึกข้อมูลไว้ภายใน Disk ได้รับความ นิยมและใช้งานมานานพอสมควรซึ่งเป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ที่ใช้หลักๆ เลยในปัจจุบัน ยกตัวอย่างเช่น ฮาร์ดดิสก์
  • 24.  4.2.2) แบบแสง เป็นสื่อเก็บข้อมูลสารองที่ได้รับความนิยมมากในปัจจุบัน โดยใช้หลักการทางานของแสง การจัดการข้อมูลจะคล้ายกับ แผ่นจานแม่เหล็ก ต่างกันที่การแบ่งจะเป็นรูปก้นหอย และเริ่มเก็บบันทึกข้อมูลจากส่วนด้านในออกมาด้านนอก ที่เป็นที่นิยมและรู้จักกันดี เช่น CD , DVD
  • 25.  4.2.3) แบบเทป เป็นสื่อเก็บข้อมูลที่สามารถเก็บข้อมูลได้เป็นจานวนมากและเข้าถึงข้อมูลแบบเรียงลาดับต่อเนื่องกันไป มีการผลิตขึ้นมา หลากหลายขนาดแตกต่างกันไป เช่น DAT และ QIC เป็นต้นปัจจุบันไม่ค่อยถือเป็น ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
  • 26.  4.2.4) แบบอื่นๆ เป็นสื่อเก็บข้อมูลแบบใหม่ที่พบได้ทั่วไปในปัจจุบัน มีชื่อเรียกแตกต่างกันไป เช่น Flash Drive, Thumb Drive , Handy Drive เป็นต้น อีกชนิดคือ Memory Card เพื่อใช้เก็บข้อมูลในกล้องดิจิตอลแบบพกพา