SlideShare a Scribd company logo
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ 
คอมพิวเตอร์และ 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
Agenda 
 ทำาความรู้จักกับ 
คอมพิวเตอร์ 
 คุณลักษณะเด่นของ 
คอมพิวเตอร์ 
 องค์ประกอบของระบบ 
คอมพิวเตอร์ 
 ประเภทของเครื่อง 
คอมพิวเตอร์
รู้จักกับคอมพิวเตอร์ 
คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคำานวณในรูปของ 
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูลและ 
คำาสั่ง ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล แล้วนำาข้อมูลและ 
คำาสั่งนั้นไปประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผล 
เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการและแสดงผลผ่าน 
อุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทึก 
รายการต่างๆไว้เพื่อใช้งานได้ด้วยอุปกรณ์ 
บันทึกข้อมูลสำารอง
1. คุณลักษณะเด่นของ 
คอมพิวเตอร์ 
4’s Special ของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
 ความจำา (Storage) 
 ความเร็ว (Speed) 
 การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self 
Acting) 
 ความน่าเชื่อถือ (Sure)
1. คุณลักษณะเด่นของ 
คอมพิวเตอร์ (ต่อ) 
ความจำา (Storage) 
เป็นความสามารถในการเก็บข้อมูล 
จำานวนมาก และเป็นระยะเวลานาน ซึ่งถือได้ 
ว่าเป็น "หัวใจ" ของการทำางานแบบอัตโนมัติ 
ของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
แบ่งได้ 2 ระบบคือ 
หน่วยความจำาหลัก (Primary 
Storage) 
หน่วยความจำารอง (Secondary 
Storage)
1. คุณลักษณะเด่นของ 
คอมพิวเตอร์ (ต่อ) 
ความเร็ว (Speed) 
เป็นความสามารถในการประมวลผลข้อมูล 
ภายในเวลาที่สั้นที่สุด โดยความเร็วของการ 
ประมวลผล พิจารณาจากความสามารถในการ 
ประมวลผลซำ้าๆ ในช่วงเวลาหนึ่งๆ เรียกว่า 
"ความถี่ (Frequency)" โดยนับความถี่เป็น 
"จำานวนคำาสั่ง" หรือ "จำานวนครั้ง" หรือ "จำานวน 
รอบ" ในหนึ่งนาที และเรียกหน่วยนี้ว่า Hz 
(Hertz = Cycle/Second)
1. คุณลักษณะเด่นของ 
คอมพิวเตอร์ (ต่อ) 
การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self Acting) 
เป็นความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
ในการประมวลผลข้อมูลตามลำาดับคำาสั่ง ได้ 
อย่างถูกต้อง และต่อเนื่อง โดยอัตโนมัติ ตามคำา 
สั่งและขั้นตอนที่นักคอมพิวเตอร์ (มนุษย์) ได้ 
กำาหนดไว้
1. คุณลักษณะเด่นของ 
คอมพิวเตอร์ (ต่อ) 
ความน่าเชื่อถือ (Sure) 
เป็นความสามารถในการประมวลผลที่ส่งผล 
ให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยนับได้ว่าเป็นสิ่ง 
สำาคัญที่สุดในการทำางานของเครื่อง 
คอมพิวเตอร์ โดยความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับ 
โปรแกรมคำาสั่ง และข้อมูล ที่นักคอมพิวเตอร์ได้ 
กำาหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
2. องค์ประกอบของระบบ 
คอมพิวเตอร์ 
องค์ประกอบสำาคัญ 
5 ส่วนด้วยกัน คือ
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
2.1 ฮาร์ดแวร์ 
(Hardware)  เป็นลักษณะทางกายภายของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
หมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบ 
ข้างที่เกี่ยวข้อง 
 มีส่วนประกอบที่สำาคัญคือ 
 หน่วยรับข้อมูล (Input Unit), 
 หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing 
Unit) 
 หน่วยความจำาหลัก (Main Memory Unit) 
 หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit) 
 หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง (Secondary Storage 
Unit)
ส่วนประกอบที่สำาคัญของฮาร์ดแวร์ 
คอมพิวเตอร์
 
 
 

ส่วนประกอบที่สำาคัญของฮาร์ดแวร์ 
คอมพิวเตอร์ 
CENTRAL PROCESSING UNIT 
INPUT UNIT OUTPUT UNIT 
MEMORY 
SECONDARY STORAGE
1. หน่วยรับข้อมูล 
 ทำาหน้าที่รับข้อมูลและโปรแกรมเข้าสู่เครื่อง 
คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆที่นำา 
ข้อมูลจากภายนอกเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ จึง 
เรียกว่า "อุปกรณ์นำาเข้าข้อมูล" (Input 
Device)
การนำาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ 
 การนำาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 2 
วิธีด้วยกันคือ 
1. ผ่านอุปกรณ์นำาเข้า (input device) เป็น 
วิธีที่ง่ายและสะดวกที่สุด เป็นการนำาข้อมูล 
เข้าไปยังคอมพิวเตอร์โดยตรง ผ่านอุปกรณ์ 
นำาเข้าข้อมูลหลายชนิด ขึ้นอยู่กับรูปแบบของ 
ข้อมูล เช่น คีย์บอร์ด (keyboard) สแกนเนอร์ 
(scanner) ไมโครโฟน (microphone) 
2. ผ่านสื่อเก็บบันทึกข้อมูลสำารอง (secondary 
storage)
การนำาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ 
2. ผ่านสื่อเก็บบันทึกข้อมูลสำารอง (secondary 
storage) 
เป็นการดึงเอาข้อมูลที่ได้บันทึกหรือเก็บข้อมูล 
ไว้ก่อนแล้วโดยใช้ สื่อเก็บบันทึกข้อมูลสำารอง 
เช่น ฮาร์ดดิสก์ ดิสเก็ตต์ หรือซีดี เครื่อง 
คอมพิวเตอร์จะอ่านข้อมูลเหล่านี้โดยอาศัย 
เครื่องอ่านสื่อโดยเฉพาะ เช่น ฟล็อปปี้ไดรว์ 
ซีดีรอมไดรว์
2.หน่วยประมวลผลกลาง (Central 
Processing Unit) 
 ส่วนประกอบที่สำาคัญภายในของซีพียู แบ่ง 
ออกได้ดังนี้ 
1.หน่วยควบคุม (Control Unit) 
2.หน่วยคำานวณและตรรกะ (ALU : 
Arithmetic and Logic Unit) 
3. รีจิสเตอร์ (Register)
1. หน่วยควบคุม (Control Unit) 
 ทำาหน้าที่ควบคุมการทำางานของทุกๆหน่วยใน 
ซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วง 
 เริ่มตั้งแต่การแปลคำาสั่งที่ป้อนเข้าไป โดยการ 
ไปดึงคำาสั่งและข้อมูลจากหน่วยความจำามา 
แล้วแปลความหมายของคำาสั่ง 
 จากนั้นส่งความหมายที่ได้ไปให้หน่วยคำานวณ 
และตรรกะเพื่อคำานวณและตัดสินใจว่าจะให้ 
เก็บข้อมูลไว้ที่ใด
2. หน่วยคำำนวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic 
and Logic Unit) 
 ทำำหน้ำที่ในกำรคำำนวณทำงคณิตศำสตร์ 
(arithmetic) เช่น กำรคูณ ลบ บวก หำร 
 เปรียบเทียบข้อมูลทำงตรรกศำสตร์ (logical) 
ว่ำเป็นจริงหรือเท็จ 
 อำศัยตัวปฏิบัติกำรเปรียบเทียบพื้นฐำน 3 ค่ำ 
คือ มำกกว่ำ น้อยกว่ำและ เท่ำกับ
3. รีจิสเตอร์ (Register) 
 พื้นที่สำำหรับเก็บพักข้อมูลชุดคำำสั่ง ผลลัพธ์ 
และข้อมูลที่เกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผล 
เพียงชั่วครำวไม่ถือว่ำเป็นหน่วยควำมจำำ 
 รับส่งข้อมูลด้วยควำมเร็วสูง และทำำงำนภำยใต้ 
กำรควบคุมของหน่วยควบคุมเช่นเดียวกับ 
หน่วยอื่นๆ 
 ประเภทของ Register 
Instruction Register เก็บคำำสั่งในโปรแกรม 
Address Register เก็บ Address ของคำำสั่งหรือ 
ข้อมูล 
Storage Register เก็บข้อมูลที่ได้จำกหน่วยควำม
3. หน่วยควำมจำำ (Memory Unit) 
 หน้ำที่ของหน่วยควำมจำำ 
 จัดเก็บข้อมูลก่อนกำรประมวลผล 
 จัดเก็บข้อมูลระหว่ำงกำรประมวลผล 
 จัดเก็บข้อมูลหลังจำกกำรประมวลผล 
 แบ่งได้ 2 ประเภท คือ หน่วยควำมจำำหลัก และ 
หน่วยควำมจำำสำำรอง
1. หน่วยควำมจำำหลัก (Primary 
Storage) 
 เป็นหน่วยควำมจำำที่จำำเป็นต้องมีใน 
คอมพิวเตอร์ ต่ำงจำกรีจิสเตอร์ตรงที่รีจิสเตอร์ 
เป็นกำรเก็บมูลและคำำสั่งเพื่อที่จะเรียกใช้ได้ใน 
อนำคตอันใกล้ (ไม่เหมือนกับรีจิสเตอร์ที่เป็น 
เพียงแหล่งพักข้อมูลซึ่งเกิดขึ้นขณะที่ซีพียู 
ประมวลผลเท่ำนั้น)ซึ่งสำมำรถจำำแนกได้ตำม 
ควำมคงทนในกำรเก็บข้อมูล ได้ดังนี้ คือ 
 หน่วยควำมจำำแบบลบเลือนได้ 
 หน่วยควำมจำำแบบไม่ลบเลือน (Firmware)
1. หน่วยควำมจำำหลัก (Primary 
Storage) 
 หน่วยควำมจำำแบบลบเลือนได้ 
หน่วยควำมจำำประเภทนี้ ข้อมูลทีจัดเก็บอยู่ใน 
หน่วยควำมจำำนี้สำมำรถลบเลือนได้ หรือ 
สูญหำยได้เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้ำในระบบ 
ได้แก่ RAM
1. หน่วยควำมจำำหลัก (Primary 
Storage) 
 หน่วยควำมจำำแบบไม่ลบเลือน (Firmware) 
เป็นหน่วยควำมจำำที่อ่ำนได้อย่ำงเดียว ไม่ 
สำมำรถเขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมได้ใช้เก็บคำำ 
สั่งที่ใช้บ่อยและเป็นคำำสั่งเฉพำะ ข้อมูลจะอยู่ 
กับเครื่องอย่ำงถำวร ถึงแม้ไฟจะดับหรือปิด 
เครื่องไปก็ไม่สำมำรถทำำให้ข้อมูลหรือคำำสั่งใน 
กำรทำำงำนต่ำงๆหำยไปได้ นิยมเรียกอีกอย่ำง 
หนึ่งว่ำ nonvolatile memory มีหลำยชนิด 
เช่น PROM, EPROM, EEPROM เป็นต้น
2. หน่วยควำมจำำสำำรอง (Secondary 
Storage) 
 ใช้สำำหรับเก็บและบันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ 
เพื่อเรียกข้อมูลนั้นใช้ในภำยหลังได้ (เก็บไว้ใช้ได้ใน 
อนำคต) มีหลำยชนิดมำก เช่น ฮำร์ดดิสก์ 
ฟล็อปปี้ดิสก์ Flash Drive CD etc. เป็นหน่วยควำม 
จำำประเภทที่อยู่ภำยนอกตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ กำร 
ใช้งำนจะต้องมีเครื่องมืออ่ำนและเขียน (หัวอ่ำนและ 
หัวเขียน) เพื่อใช้ในกำรอ่ำนและเขียนข้อมูล 
 องค์ประกอบ Medium หรือ Media และ Storage 
Devices 
 ประเภทของหน่วยควำมจำำสำำรอง 
 Random Access 
 Sequential Access
2. หน่วยควำมจำำสำำรอง (Secondary 
Storage) 
 องค์ประกอบ 
 Medium หรือ Media 
 Storage Devices 
 ประเภทของหน่วยควำมจำำสำำรอง 
 Random Access 
 Sequential Access
Media 
 หมำยถึง พื้นผิวที่ใช้เก็บข้อมูลจริงๆ เช่น 
แผ่น Disk, แผ่น Platte
Storage Devices 
 อุปกรณ์ที่ใช้ในกำรอ่ำน/เขียน หรือ Dive
กำรทำำงำนของหน่วยควำมจำำ
4.หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output 
Unit) 
 เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลโดยสำมำรถแสดง 
ผลทั้งในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (เรียกว่ำ soft 
copy) เช่น จอภำพคอมพิวเตอร์หรืออยู่ในรูป 
แบบของ hard copy เช่น พิมพ์ออกมำเป็น 
กระดำษออกทำงเครื่องพิมพ์ โดยอำจอำศัยอุ 
ปกรณ์อื่นๆ เช่น ลำำโพง สำำหรับกำรแสดงผลที่ 
เป็นเสียงได้
5. ทำงเดินระบบ (System Bus) 
 จำำนวนเส้นทำงที่ใช้วิ่งบนทำงเดินระบบ เรียก 
ว่ำ บิต (เปรียบเทียบได้กับเลนบนถนน)
กำรทำำงำนของ CPU 
หน่วยนำำ 
ข้อมูลเข้ำ 
CPU 
หน่วยนำำข้อมูลออก 
CU 
(2) Decode 
(1)Fetch 
ALU 
(3) 
Execute 
หน่วยควำมจำำ 
หน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง 
ส่งข้อมูลและ 
โปรแกรม 
เข้ำสู่ 
หน่วยควำม 
จำำ
เวลำคำำสั่งงำนและเวลำปฏิบัติกำร 
 ช่วง I-Time (Instruction Time) หรือเวลำคำำ 
สั่งงำน อยู่ในขั้นตอนที่ 1 และ 2 (Fetch และ 
Decode) ซึ่งเกี่ยวข้องกับกำรดึงเอำคำำสั่งและ 
แปลควำมหมำยเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำำงำน 
ตำมต้องกำร 
 ช่วง E-Time (Execution Time) หรือเวลำ 
ปฏิบัติกำร อยู่ขั้นตอนที่ 3 และ 4 (Execute 
และ Store) ซึ่งเกี่ยวข้องกับกำรคำำนวณและ 
นำำผลลัพธ์ไปเก็บเพื่อรอให้เรียกใช้
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
2.2 ซอฟต์แวร์ 
(Software) 
 เป็นชุดคำำสั่งหรือโปรแกรม ที่สั่งให้ฮำร์ดแวร์ 
ทำำงำนต่ำงๆ ตำมต้องกำร ซึ่งชุดคำำสั่งหรือ 
โปรแกรมนั้นจะเขียนมำจำกภำษำคอมพิวเตอร์ 
ภำษำใดภำษำหนึ่ง และมีโปรแกรมเมอร์ หรือ 
นักเขียนโปรแกรม เป็นผู้ใช้ภำษำคอมพิวเตอร์ 
เหล่ำนั้น เป็นซอฟต์แวร์แบบต่ำงๆ ขึ้นมำ 
 ซอฟต์แวร์สำมำรถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท 
ใหญ่ๆ คือ 
ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ระบบ (System 
Software) 
 เป็นโปรแกรมที่ทำำหน้ำที่ควบคุมกำรทำำงำน 
ของส่วนต่ำง ๆ ของคอมพิวเตอร์ให้ทำำงำนร่วม 
กัน อย่ำงรำบรื่น มีส่วนประกอบย่อย ๆ 3 ส่วน 
คือ 
 Operating Software หรือ OS. 
 Command-Language Translators 
 Librarian 
 เช่น Windows, Linux
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application 
Software) 
 ซอฟต์แวร์ที่สำมำรถติดตั้งได้ในภำยหลังจำก 
ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติกำรแล้ว 
 ปกติมุ่งใช้กับงำนเฉพำะอย่ำง เช่น งำนด้ำน 
บัญชี งำนด้ำนเอกสำรหรืองำนควบคุมสินค้ำ 
คงเหลือ 
 อำจมีบริษัทผู้ผลิตทำำขึ้นมำเพื่อจำำหน่ำย 
โดยตรง มีทั้งที่ให้ใช้ฟรี ซื้อทำำเอง หรือจ้ำง 
เขียนโดยเฉพำะ
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
2.3 บุคคลำกร หรือ ผู้ใช้ 
(Peopleware) 
 บุคลำกรหรือผู้ใช้เป็นองค์ประกอบที่สำำคัญ 
มำก ต้องมีควำมรู้ควำมเข้ำใจในกำรใช้งำน 
เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์แล้ว จะทำำให้กำร 
ใช้งำนไม่มีประสิทธิภำพ 
 โดยสำมำรถแบ่งกลุ่มบุคลำกรออกเป็น 3 
กลุ่มด้วยกัน คือ 
กลุ่มผู้ใช้งำนทั่วไป 
กลุ่มผู้เชี่ยวชำญ 
กลุ่มผู้บริหำร
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
2.3 บุคคลำกร หรือ ผู้ใช้ 
(People ware) 
กลุ่มผู้ใช้งำนทั่วไป 
 ผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ (User / End User) 
ถือว่ำเป็นผู้ใช้งำนระดับตำ่ำสุด ไม่จำำเป็น 
ต้องมีควำมเชี่ยวชำญมำกนักก็สำมำรถใช้ 
งำนได้ โดยศึกษำจำกคู่มือกำรปฏิบัติงำน 
หรือรับกำรอบรมเพิ่มเติมเพื่อให้สำมำรถ 
ใช้งำนได้
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
2.3 บุคคลำกร หรือ ผู้ใช้ 
(People ware) 
กลุ่มผู้เชี่ยวชำญ 
ช่ำงเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer 
Operator/ Computer Technician) 
นักวิเครำะห์ระบบ (System Analyst) 
นักเขียนโปรแกรม (Programmer) 
วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software 
Engineer) 
ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก (Network 
Administrator)
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
2.3 บุคคลำกร หรือ ผู้ใช้ 
(People ware) 
กลุ่มผู้บริหำร 
 ผู้บริหำรสูงสุดด้ำนสำรสนเทศและ 
คอมพิวเตอร์ (CIO – Chief 
Information Officer) 
 หัวหน้ำงำนด้ำนคอมพิวเตอร์ (Computer 
Center Manager/ Information 
Manager)
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
2.4 ข้อมูลและ 
สำรสนเทศ(Data/Informati 
on) กำรทำำงำนของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องตั้งแต่ 
กำรนำำข้อมูลเข้ำ (data)จนกลำยเป็นข้อมูลที่ 
สำมำรถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือที่เรียกว่ำ 
สำรสนเทศ (information) 
 ข้อมูลเหล่ำนี้อำจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และ 
ข้อมูลในรูปแบบอื่นๆเช่น ภำพ เสียง เป็นต้น 
 ข้อมูลที่จะนำำมำใช้กับคอมพิวเตอร์ ต้องแปลงรูป 
แบบหรือสถำนะให้คอมพิวเตอร์เข้ำใจเสียก่อน 
ซึ่งเรียกว่ำ สถำนะแบบดิจิตอล
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
สถำนะแบบดิจิตอล 
 มีเพียง 2 สถำนะเท่ำนั้นคือ เปิด (1) และ ปิด (0) 
เหมือนกับหลักกำรทำำงำนของไฟฟ้ำ 
 อำศัยกำรประมวลผลโดยใช้ ระบบเลขฐำนสอง 
หรือที่เรียกว่ำ binary system เป็นหลัก ซึ่ง 
ประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่ำนั้น คือ 0 กับ 
1
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
สถำนะแบบดิจิตอล 
 ตัวเลข 0 กับ 1 เรำเรียกว่ำเป็นตัวเลขฐำนสอง 
หรือไบนำรีดิจิต(binary digit) มักเรียกย่อๆว่ำ 
บิต (bit) นั่นเอง 
 เมื่อบิตหลำยตัวรวมกันจำำนวนหนึ่ง (ขึ้นอยู่กับ 
รหัสกำรจัดเก็บ) เช่น 8 บิต เรำจะเรียกหน่วยจัด 
เก็บข้อมูลนี้ใหม่ว่ำเป็น ไบต์ (byte) ซึ่งสำมำรถ 
ใช้แทน ตัวอักษร ตัวเลข อักขระพิเศษที่เรำ 
ต้องกำรป้อนข้อมูลเข้ำไปในเครื่องแต่ละตัวได้
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
สถำนะแบบดิจิตอล
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
2.4 ข้อมูลและ 
สำรสนเทศ(Data/Informati 
on)  ข้อมูล 
หมำยถึง ข้อมูลที่ได้จำกกำรสำำรวจจริง ซึ่งอำจ 
เป็นข้อเท็จจริง หรือเหตุกำรณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่ง 
ต่ำง ๆ เช่น บุคคล สิ่งของ สถำนที่ ฯลฯ 
 สำรสนเทศ 
หมำยถึง สิ่งที่ได้จำกกำรนำำข้อมูลไปผ่ำน 
กระบวนกำรหนึ่งก่อน จึงได้สำรสนเทศออกมำ 
ซึ่งเป็นข้อมูลที่ผ่ำนกำรเลือกให้เหมำะกับกำรใช้ 
งำนให้ทันเวลำ
กำรซื้อของในร้ำน 
ซุปเปอร์มำร์เก็ต 
ข้อมูล 
(Data) สำรสนเทศ 
(Information) ใน 
รูปของรำยงำน 
สรุปและกรำฟ 
สำำหรับผู้บริหำร 
กำรประมวล 
ผลด้วยเครื่อง 
คอมพิวเตอร์
2.4 ข้อมูลและ 
สำรสนเทศ(Data/Informati 
รสoนเnท)ศ ทมี่ปีระโยชน์นั้นจะมคีุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ 
มีควำมสัมพันธ์กัน 
(Relevant) 
สำมำรถนำำมำประยุกต์ใช้ได้อย่ำงเหมำะสม 
กับสถำนกำรณ์ปัจจุบัน 
มีควำมทันสมัย 
(Timely) 
ต้องมีควำมทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งำนได้ 
เมื่อต้องกำร 
มีควำมถูกต้อง 
แม่นยำำ (Accurate) 
เมื่อป้อนข้อมูลเข้ำสู่คอมพิวเตอร์แล้ว ผลลัพธ์ 
ที่ได้จะต้องถกูต้องในทุกๆ ส่วน 
มีควำมกระชับรัดกุม 
ข้อมูลจะต้องถกูย่อให้มีควำมกระชับ และ 
ควำมยำวที่พอเหมำะ 
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
2.5 กระบวนกำรทำำงำน 
(Procedure) 
 หมำยถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำำตำม เพื่อ 
ให้ได้งำนเฉพำะบำงอย่ำงจำกคอมพิวเตอร์ 
 ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนจะต้องรู้กระบวนกำร 
ทำำงำน พื้นฐำนของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่ 
จะสำมำรถใช้งำนได้อย่ำงถูกต้อง เช่น 
 กำรใช้เครื่อง ฝำก – ถอนเงินอัตโนมัติ 
(ATM) ถ้ำต้องกำรถอนเงินจะต้องผ่ำน 
กระบวนกำรต่ำงๆ
2. องค์ประกอบของ 
ระบบคอมพิวเตอร์ 
2.5 กระบวนกำรทำำงำน 
(Procedure) 
1. จอภำพแสดงข้อควำมเตรียมพร้อมที่จะ 
ทำำงำน 
2. สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้ 
3. เลือกรำยกำร 
4. ใส่จำำนวนเงินที่ต้องกำร 
5. รับเงิน 
6. รับใบบันทึกรำยกำร และบัตรคืน
กิจกรรมและควำมสัมพันธ์ของแต่ละ 
องค์ประกอบ
ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ 
จำำแนกตำมขนำดและควำมสำมำรถของเครื่อง 
คอมพิวเตอร์ได้ ดังนี้ 
 ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) 
 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe 
Computer) 
 มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) 
 ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) 
 คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer)
ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ 
(Super Computer) 
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดใหญ่และมีรำคำ 
สูง มีควำมเร็วในกำรประมวลผลถึง 1,000 ล้ำนคำำสั่ง 
ต่อ 1 วินำที ภำยในเครื่องมีหน่วยประมวลผลเป็น 
จำำนวนมำกทำำให้สำมำรถประมวลผลคำำสั่งหลำยคำำสั่ง 
พร้อมกันได้ เหมำะสำำหรับงำนที่ต้องคำำนวณผลซับ 
ซ้อน และเป็นงำนที่มีลักษณะเฉพำะด้ำน เช่น กำร
เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ 
(Mainframe Computer) 
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะกำร 
ทำำงำนโดยมีผู้ใช้หลำยๆ คนในเวลำเดียวกันได้ 
สำมำรถประมวลผล 10 ล้ำนคำำสั่งต่อ 1 วินำที 
เหมำะสำำหรับงำนที่มีกำรเก็บข้อมูลปริมำณมำก 
เช่น ธนำคำร โรงพยำบำล กำรใช้เมนเฟรม 
คอมพิวเตอร์ ต้องคำำนึงถึง อุณหภูมิและ
มินิคอมพิวเตอร์ 
(Minicomputer) 
มีลักษณะเดียวกันกับเครื่องเมนเฟรม 
คอมพิวเตอร์ แต่มีขนาดเล็กกว่า และมี 
ประสิทธิภาพตำ่ากว่า ทั้งในด้านความเร็วในการ 
ประมวลผล และความจุของหน่วยความจำา 
ปัจจุบันองค์กรขนาดกลางและขนาดเล็ก จะนิยม 
ใช้มินิคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องแม่ข่าย(Server)
ไมโครคอมพิวเตอร์ 
(Microcomputer) 
หรือที่เรียกว่า เครื่องคอมพิวเตอร์สว่น 
บุคคล (Personal Computer :PC) เป็น 
เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสำาหรับการใช้ 
งาน 1 คนต่อ 1 เครื่อง หรือ ใช้เชอื่มต่อ 
กับเครื่องในเครือข่าย ไมโครคอมพิวเตอร์ 
มีลักษณะการใช้งานง่าย เคลื่อนย้าย 
สะดวก ราคาถูก ตัวอย่างของไมโคร
คอมพิวเตอร์มือถือ 
(Handheld Computer) 
เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบ 
กับคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ อีกทั้งยังสามารถพก 
พาไปในที่ต่างๆได้ง่าย ประโยชน์การใช้ 
คอมพิวเตอร์ประเภทนี้อาจนำาไปใช้ในการ 
จัดการข้อมูลประจำาวัน การสร้างปฏิทินนัดหมาย 
การดูหนังฟังเพลง รวมถึงการรับส่งอีเมล์ บางรุ่น 
อาจมีความสามารถเทียบเคียงได้กับไมโคร
4. คอมพิวเตอร์ยุคใหม่ 
 เดสก์ท็อป (Desktop) 
 โน๊ตบุ๊ค (Notebook) 
 เดสก์โน๊ต (Desknote) 
 แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) 
 พีดีเอ (PDA-Personal 
Digital Assistants) 
 สมาร์ทโฟน (Smart 
Phone)
เดสก์ท็อป (Desktop) 
เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะที่ใช้ใน 
สำานักงานหรือตามบ้านทั่วไป นิยมใช้สำาหรับ 
การประมวลผล ตัวเครื่องและจอภาพสามารถ 
จัดวางเพื่อทำางานบนโต๊ะได้อย่างสบาย 
ปัจจุบันมีการผลิตที่เน้นความสวยงามและ 
ราคาถูก
โน๊ตบุ๊ค (Notebook) 
คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คมีคุณสมบัติที่ใกล้ 
เคียงกับพีซี แต่จะมีขนาดเล็กและบางลง มี 
นำ้าหนักเบาสามารถพกพาได้สะดวกมากยิ่ง 
ขึ้น และข้อแตกต่างอีกประการหนึ่งคือ โน๊ 
ตบุ๊คจะมีแบตเตอรี่ไว้สำาหรับการทำางาน 
ด้วย ที่สำาคัญราคาถูกลงกว่าเมื่อก่อนมาก 
แต่ยังถือว่ามีราคาแพงกว่าพีซีธรรมดา
เดสก์โน๊ต (Desknote) 
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาอีกแบบ 
หนึ่งคล้ายๆกับโน๊ตบุ๊ค ต่างกันตรงที่เดสก์ 
โน๊ตไม่มีแบตเตอรี่ที่คอยจ่ายไฟให้จึงต้อง 
เสียบปลั๊กตลอดเวลาที่ใช้ อีกทั้งราคาถูก 
กว่าโน๊ตบุ๊ค เหมาะกับผู้ที่มีสำานักงานหลายๆ 
ที่ และเดินทางไปมาบ่อยๆ
แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) 
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้สามารถ 
ป้อนข้อมูลเข้าไปได้โดยการเขียนบน 
จอภาพเหมือนกับการเขียนข้อความลงไป 
ในสมุดโน๊ต และเครื่องสามารถที่จะแปลง 
ข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นเก็บไว้ได้ และบาง 
เครื่องยังสามารถพลิกหน้าจอได้ 2 แบบ 
คือ เหมือนกับการใช้งานแบบโน๊ตบุ๊คหรือ 
เหมือนกับกระดานรองเขียนก็ได้
พีดีเอ (PDA-Personal Digital 
Assistants) 
สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มคือ 
ปาล์ม (Palm) 
พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC)
ปาล์ม (Palm) 
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาที่เปิดตลาดมา 
ก่อน แต่เดิมนั้นเน้นเพื่อการใช้งานสำาหรับเป็น 
เครื่องบันทึกช่วยจำาต่างๆ(organizer) เช่น การนัด 
หมาย ปฏิทิน สมุดโทรศัพท์ แต่ปัจจุบันได้พัฒนา 
ให้มีขีดความสามารถต่างๆ เพิ่มมากขึ้น โดยจะใช้ 
ระบบปฏิบัติการที่เป็นของตัวเองเรียกว่า Palm OS
พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC) 
เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อำานวยความ 
สะดวกในการใช้งานได้ดีเช่นเดียวกับเครื่อง 
ปาล์ม แต่จะแตกต่างจากเครื่องปาล์มในเรื่อง 
ของระบบปฏิบัติการที่ใช้จะอิงกับค่ายไมโคร 
ซอฟท์เป็นหลัก ผู้ใช้งานพ็อกเก็ตพีซีที่ชิน 
กับระบบปฏิบัติการของไมโครซอฟท์มาก่อน 
สามารถใช้งานได้ง่ายมาก แต่จะกินกำาลัง
สมาร์ทโฟน (Smart 
Phone) 
เป็นกลุ่มของโทรศัพท์มือถือที่พัฒนาขีด 
ความสามารถให้มีการทำางานได้ใกล้เคียงกับ 
พีดีเอเป็นอย่างมาก โดยสมาร์ทโฟนสามารถ 
ที่จะใช้เป็นเครื่องโทรศัพท์ได้ในตัว รวมถึง 
ความสามารถอื่นๆ เช่น กล้องถ่ายรูป การใช้ 
งานอินเตอร์เน็ต เป็นต้น ซึ่งคุณสมบัติต่างๆ 
เหล่านี้ขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการที่ใช้ด้วย 
เช่นเดียวกัน
5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต 
ศาสตร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial 
Intelligence) ได้เข้ามามีบทบาทในการสร้าง 
ปัญญาเทียมเลียนแบบการคิดหรือสมองของ 
มนุษย์ ซึ่งในงานหลายๆด้านก็มีการประยุกต์เอา 
คอมพิวเตอร์เข้าไปใช้เพื่อคิดและตัดสินใจแก้ 
ปัญหาต่างๆ ได้เป็นอย่างดี เช่น 
ระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system) 
ระบบหุ่นยนต์ (robotics) 
ภาธรรมชาติ (natural language)
ระบบผู้เชี่ยวชาญ 
(expert system) 
 เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งของปัญญาประดิษฐ์ที่นำาเอา 
คอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้งาน เพื่อเก็บรวบรวม 
ความรู้ต่างๆ ที่จำาเป็นต้องใช้สำาหรับงานใดงาน 
หนึ่งให้อยู่ตลอดไปในหน่วยงานโดยไม่ขึ้นกับ 
บุคคล 
 ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ วินิจฉัย 
ตัดสินใจต่างๆ ได้อย่างแม่นยำา เช่น ระบบผู้ 
เชี่ยวชาญในวงการแพทย์เพื่อวินิจฉัยโรค
ระบบหนุ่ยนต์ 
(robotics) 
 นำาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้ทำางาน 
ร่วมกับเครื่องจักรและอุปกรณ์บังคับบางชนิด เกิด 
เป็น “หุ่นยนต์” (robot) 
 สามารถทำางานทดแทนแรงงานคนได้เป็นอย่างดี 
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับลักษณะงานที่มีความเสี่ยง 
ต่ออันตรายมากๆ 
 อาจพบเห็นการออกแบบหุ่นยนต์โดยอาศัยการ 
ทำางานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเลียนแบบ 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต และสามารถนำามาใช้งาน 
ได้จริง เช่น หุ่นยนต์สุนัข เป็นต้น
5. คอมพิวเตอร์ใน 
อนาคต 
 การเข้าใจภาษาธรรมชาติของมนุษย์เป็นการนำา 
เอาความสามารถของของคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย 
ในการสื่อสารกับมนุษย์ให้สะดวกขึ้น 
 ตัวอย่างที่พบเห็นมากที่สุด เช่น การใช้ระบบรับรู้ 
และจำาเสียงพูดของมนุษย์หรือที่เรียกว่า speech 
recognition ที่คอมพิวเตอร์สามารถแยกแยะ 
เสียงได้ 
 ทำาให้ลดระยะเวลาในการทำางานของผู้ใช้ลงได้ 
มากทีเดียว

More Related Content

What's hot

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
Looknam Kamonchanok
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
micwatcharapong
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
micwatcharapong
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
เขมิกา หวานเสนาะ
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
Otorito
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
tee0533
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Supanut Boonlert
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
กิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
กิตติธัช งามดี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
กิตติธัช งามดี
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ปุญญิศา เกิดมณี
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
กิตติธัช งามดี
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
Araya Chiablaem
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
Natchanan Mankhong
 
Computer
ComputerComputer
Computer
Silver Bullet
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
Chonlamas Supsomboon
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
sataporn kesornsiri
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4kaimookCT
 
งานกลุ่ม
งานกลุ่มงานกลุ่ม
งานกลุ่ม
Jump Takitkulwiwat
 

What's hot (20)

อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ (1)
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpointอุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์2 powerpoint
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
1
11
1
 
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpointอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
อุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ powerpoint
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2/10 เลขที่4
 
งานกลุ่ม
งานกลุ่มงานกลุ่ม
งานกลุ่ม
 

Similar to Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1

Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utilityshadowrbac
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์Tay Chaloeykrai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Radompon.com
 
Hardware2
Hardware2Hardware2
Hardware2Owat
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โบ1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โบ1หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โบ1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โบ1puangtong
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลNattakan Wuttipisan
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บีPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดาหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดาPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอนPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอนPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจPheeranan Thetkham
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ยหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ยPheeranan Thetkham
 

Similar to Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1 (20)

Computer
ComputerComputer
Computer
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น ม.1
 
Hardware&Utility
Hardware&UtilityHardware&Utility
Hardware&Utility
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 หลักการพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 
Hardware2
Hardware2Hardware2
Hardware2
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โบ1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โบ1หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โบ1
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โบ1
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลกลุ่มที่ 3  คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
กลุ่มที่ 3 คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
 
Computer2
Computer2Computer2
Computer2
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บีหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  บี
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ บี
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดาหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดา
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดา
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอนหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  แอน
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ แอน
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  โรจ
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ โรจ
 
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ยหน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์  ดุ่ย
หน่วยประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดุ่ย
 

Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1

  • 2. Agenda  ทำาความรู้จักกับ คอมพิวเตอร์  คุณลักษณะเด่นของ คอมพิวเตอร์  องค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์  ประเภทของเครื่อง คอมพิวเตอร์
  • 3. รู้จักกับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคำานวณในรูปของ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่สามารถรับข้อมูลและ คำาสั่ง ผ่านอุปกรณ์รับข้อมูล แล้วนำาข้อมูลและ คำาสั่งนั้นไปประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผล เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการและแสดงผลผ่าน อุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทึก รายการต่างๆไว้เพื่อใช้งานได้ด้วยอุปกรณ์ บันทึกข้อมูลสำารอง
  • 4. 1. คุณลักษณะเด่นของ คอมพิวเตอร์ 4’s Special ของเครื่องคอมพิวเตอร์  ความจำา (Storage)  ความเร็ว (Speed)  การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self Acting)  ความน่าเชื่อถือ (Sure)
  • 5. 1. คุณลักษณะเด่นของ คอมพิวเตอร์ (ต่อ) ความจำา (Storage) เป็นความสามารถในการเก็บข้อมูล จำานวนมาก และเป็นระยะเวลานาน ซึ่งถือได้ ว่าเป็น "หัวใจ" ของการทำางานแบบอัตโนมัติ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งได้ 2 ระบบคือ หน่วยความจำาหลัก (Primary Storage) หน่วยความจำารอง (Secondary Storage)
  • 6. 1. คุณลักษณะเด่นของ คอมพิวเตอร์ (ต่อ) ความเร็ว (Speed) เป็นความสามารถในการประมวลผลข้อมูล ภายในเวลาที่สั้นที่สุด โดยความเร็วของการ ประมวลผล พิจารณาจากความสามารถในการ ประมวลผลซำ้าๆ ในช่วงเวลาหนึ่งๆ เรียกว่า "ความถี่ (Frequency)" โดยนับความถี่เป็น "จำานวนคำาสั่ง" หรือ "จำานวนครั้ง" หรือ "จำานวน รอบ" ในหนึ่งนาที และเรียกหน่วยนี้ว่า Hz (Hertz = Cycle/Second)
  • 7. 1. คุณลักษณะเด่นของ คอมพิวเตอร์ (ต่อ) การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self Acting) เป็นความสามารถของเครื่องคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูลตามลำาดับคำาสั่ง ได้ อย่างถูกต้อง และต่อเนื่อง โดยอัตโนมัติ ตามคำา สั่งและขั้นตอนที่นักคอมพิวเตอร์ (มนุษย์) ได้ กำาหนดไว้
  • 8. 1. คุณลักษณะเด่นของ คอมพิวเตอร์ (ต่อ) ความน่าเชื่อถือ (Sure) เป็นความสามารถในการประมวลผลที่ส่งผล ให้เกิดผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยนับได้ว่าเป็นสิ่ง สำาคัญที่สุดในการทำางานของเครื่อง คอมพิวเตอร์ โดยความสามารถนี้เกี่ยวข้องกับ โปรแกรมคำาสั่ง และข้อมูล ที่นักคอมพิวเตอร์ได้ กำาหนดให้กับเครื่องคอมพิวเตอร์
  • 9. 2. องค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ องค์ประกอบสำาคัญ 5 ส่วนด้วยกัน คือ
  • 10.
  • 11. 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ 2.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)  เป็นลักษณะทางกายภายของเครื่องคอมพิวเตอร์ หมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบ ข้างที่เกี่ยวข้อง  มีส่วนประกอบที่สำาคัญคือ  หน่วยรับข้อมูล (Input Unit),  หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)  หน่วยความจำาหลัก (Main Memory Unit)  หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)  หน่วยเก็บข้อมูลสำารอง (Secondary Storage Unit)
  • 13.   
  • 15. 1. หน่วยรับข้อมูล  ทำาหน้าที่รับข้อมูลและโปรแกรมเข้าสู่เครื่อง คอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยอุปกรณ์ต่าง ๆที่นำา ข้อมูลจากภายนอกเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ จึง เรียกว่า "อุปกรณ์นำาเข้าข้อมูล" (Input Device)
  • 16. การนำาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์  การนำาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์แบ่งได้เป็น 2 วิธีด้วยกันคือ 1. ผ่านอุปกรณ์นำาเข้า (input device) เป็น วิธีที่ง่ายและสะดวกที่สุด เป็นการนำาข้อมูล เข้าไปยังคอมพิวเตอร์โดยตรง ผ่านอุปกรณ์ นำาเข้าข้อมูลหลายชนิด ขึ้นอยู่กับรูปแบบของ ข้อมูล เช่น คีย์บอร์ด (keyboard) สแกนเนอร์ (scanner) ไมโครโฟน (microphone) 2. ผ่านสื่อเก็บบันทึกข้อมูลสำารอง (secondary storage)
  • 17. การนำาข้อมูลเข้าสู่คอมพิวเตอร์ 2. ผ่านสื่อเก็บบันทึกข้อมูลสำารอง (secondary storage) เป็นการดึงเอาข้อมูลที่ได้บันทึกหรือเก็บข้อมูล ไว้ก่อนแล้วโดยใช้ สื่อเก็บบันทึกข้อมูลสำารอง เช่น ฮาร์ดดิสก์ ดิสเก็ตต์ หรือซีดี เครื่อง คอมพิวเตอร์จะอ่านข้อมูลเหล่านี้โดยอาศัย เครื่องอ่านสื่อโดยเฉพาะ เช่น ฟล็อปปี้ไดรว์ ซีดีรอมไดรว์
  • 18. 2.หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)  ส่วนประกอบที่สำาคัญภายในของซีพียู แบ่ง ออกได้ดังนี้ 1.หน่วยควบคุม (Control Unit) 2.หน่วยคำานวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit) 3. รีจิสเตอร์ (Register)
  • 19. 1. หน่วยควบคุม (Control Unit)  ทำาหน้าที่ควบคุมการทำางานของทุกๆหน่วยใน ซีพียูรวมถึงอุปกรณ์ต่อพ่วง  เริ่มตั้งแต่การแปลคำาสั่งที่ป้อนเข้าไป โดยการ ไปดึงคำาสั่งและข้อมูลจากหน่วยความจำามา แล้วแปลความหมายของคำาสั่ง  จากนั้นส่งความหมายที่ได้ไปให้หน่วยคำานวณ และตรรกะเพื่อคำานวณและตัดสินใจว่าจะให้ เก็บข้อมูลไว้ที่ใด
  • 20. 2. หน่วยคำำนวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit)  ทำำหน้ำที่ในกำรคำำนวณทำงคณิตศำสตร์ (arithmetic) เช่น กำรคูณ ลบ บวก หำร  เปรียบเทียบข้อมูลทำงตรรกศำสตร์ (logical) ว่ำเป็นจริงหรือเท็จ  อำศัยตัวปฏิบัติกำรเปรียบเทียบพื้นฐำน 3 ค่ำ คือ มำกกว่ำ น้อยกว่ำและ เท่ำกับ
  • 21. 3. รีจิสเตอร์ (Register)  พื้นที่สำำหรับเก็บพักข้อมูลชุดคำำสั่ง ผลลัพธ์ และข้อมูลที่เกิดขึ้นขณะที่ซีพียูประมวลผล เพียงชั่วครำวไม่ถือว่ำเป็นหน่วยควำมจำำ  รับส่งข้อมูลด้วยควำมเร็วสูง และทำำงำนภำยใต้ กำรควบคุมของหน่วยควบคุมเช่นเดียวกับ หน่วยอื่นๆ  ประเภทของ Register Instruction Register เก็บคำำสั่งในโปรแกรม Address Register เก็บ Address ของคำำสั่งหรือ ข้อมูล Storage Register เก็บข้อมูลที่ได้จำกหน่วยควำม
  • 22. 3. หน่วยควำมจำำ (Memory Unit)  หน้ำที่ของหน่วยควำมจำำ  จัดเก็บข้อมูลก่อนกำรประมวลผล  จัดเก็บข้อมูลระหว่ำงกำรประมวลผล  จัดเก็บข้อมูลหลังจำกกำรประมวลผล  แบ่งได้ 2 ประเภท คือ หน่วยควำมจำำหลัก และ หน่วยควำมจำำสำำรอง
  • 23. 1. หน่วยควำมจำำหลัก (Primary Storage)  เป็นหน่วยควำมจำำที่จำำเป็นต้องมีใน คอมพิวเตอร์ ต่ำงจำกรีจิสเตอร์ตรงที่รีจิสเตอร์ เป็นกำรเก็บมูลและคำำสั่งเพื่อที่จะเรียกใช้ได้ใน อนำคตอันใกล้ (ไม่เหมือนกับรีจิสเตอร์ที่เป็น เพียงแหล่งพักข้อมูลซึ่งเกิดขึ้นขณะที่ซีพียู ประมวลผลเท่ำนั้น)ซึ่งสำมำรถจำำแนกได้ตำม ควำมคงทนในกำรเก็บข้อมูล ได้ดังนี้ คือ  หน่วยควำมจำำแบบลบเลือนได้  หน่วยควำมจำำแบบไม่ลบเลือน (Firmware)
  • 24. 1. หน่วยควำมจำำหลัก (Primary Storage)  หน่วยควำมจำำแบบลบเลือนได้ หน่วยควำมจำำประเภทนี้ ข้อมูลทีจัดเก็บอยู่ใน หน่วยควำมจำำนี้สำมำรถลบเลือนได้ หรือ สูญหำยได้เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้ำในระบบ ได้แก่ RAM
  • 25. 1. หน่วยควำมจำำหลัก (Primary Storage)  หน่วยควำมจำำแบบไม่ลบเลือน (Firmware) เป็นหน่วยควำมจำำที่อ่ำนได้อย่ำงเดียว ไม่ สำมำรถเขียนหรือบันทึกเพิ่มเติมได้ใช้เก็บคำำ สั่งที่ใช้บ่อยและเป็นคำำสั่งเฉพำะ ข้อมูลจะอยู่ กับเครื่องอย่ำงถำวร ถึงแม้ไฟจะดับหรือปิด เครื่องไปก็ไม่สำมำรถทำำให้ข้อมูลหรือคำำสั่งใน กำรทำำงำนต่ำงๆหำยไปได้ นิยมเรียกอีกอย่ำง หนึ่งว่ำ nonvolatile memory มีหลำยชนิด เช่น PROM, EPROM, EEPROM เป็นต้น
  • 26.
  • 27. 2. หน่วยควำมจำำสำำรอง (Secondary Storage)  ใช้สำำหรับเก็บและบันทึกข้อมูลไว้ในคอมพิวเตอร์ เพื่อเรียกข้อมูลนั้นใช้ในภำยหลังได้ (เก็บไว้ใช้ได้ใน อนำคต) มีหลำยชนิดมำก เช่น ฮำร์ดดิสก์ ฟล็อปปี้ดิสก์ Flash Drive CD etc. เป็นหน่วยควำม จำำประเภทที่อยู่ภำยนอกตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ กำร ใช้งำนจะต้องมีเครื่องมืออ่ำนและเขียน (หัวอ่ำนและ หัวเขียน) เพื่อใช้ในกำรอ่ำนและเขียนข้อมูล  องค์ประกอบ Medium หรือ Media และ Storage Devices  ประเภทของหน่วยควำมจำำสำำรอง  Random Access  Sequential Access
  • 28. 2. หน่วยควำมจำำสำำรอง (Secondary Storage)  องค์ประกอบ  Medium หรือ Media  Storage Devices  ประเภทของหน่วยควำมจำำสำำรอง  Random Access  Sequential Access
  • 29. Media  หมำยถึง พื้นผิวที่ใช้เก็บข้อมูลจริงๆ เช่น แผ่น Disk, แผ่น Platte
  • 30. Storage Devices  อุปกรณ์ที่ใช้ในกำรอ่ำน/เขียน หรือ Dive
  • 31.
  • 33. 4.หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้แสดงผลโดยสำมำรถแสดง ผลทั้งในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ (เรียกว่ำ soft copy) เช่น จอภำพคอมพิวเตอร์หรืออยู่ในรูป แบบของ hard copy เช่น พิมพ์ออกมำเป็น กระดำษออกทำงเครื่องพิมพ์ โดยอำจอำศัยอุ ปกรณ์อื่นๆ เช่น ลำำโพง สำำหรับกำรแสดงผลที่ เป็นเสียงได้
  • 34. 5. ทำงเดินระบบ (System Bus)  จำำนวนเส้นทำงที่ใช้วิ่งบนทำงเดินระบบ เรียก ว่ำ บิต (เปรียบเทียบได้กับเลนบนถนน)
  • 35. กำรทำำงำนของ CPU หน่วยนำำ ข้อมูลเข้ำ CPU หน่วยนำำข้อมูลออก CU (2) Decode (1)Fetch ALU (3) Execute หน่วยควำมจำำ หน่วยเก็บข้อมูลสำำรอง ส่งข้อมูลและ โปรแกรม เข้ำสู่ หน่วยควำม จำำ
  • 36.
  • 37. เวลำคำำสั่งงำนและเวลำปฏิบัติกำร  ช่วง I-Time (Instruction Time) หรือเวลำคำำ สั่งงำน อยู่ในขั้นตอนที่ 1 และ 2 (Fetch และ Decode) ซึ่งเกี่ยวข้องกับกำรดึงเอำคำำสั่งและ แปลควำมหมำยเพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำำงำน ตำมต้องกำร  ช่วง E-Time (Execution Time) หรือเวลำ ปฏิบัติกำร อยู่ขั้นตอนที่ 3 และ 4 (Execute และ Store) ซึ่งเกี่ยวข้องกับกำรคำำนวณและ นำำผลลัพธ์ไปเก็บเพื่อรอให้เรียกใช้
  • 38. 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ 2.2 ซอฟต์แวร์ (Software)  เป็นชุดคำำสั่งหรือโปรแกรม ที่สั่งให้ฮำร์ดแวร์ ทำำงำนต่ำงๆ ตำมต้องกำร ซึ่งชุดคำำสั่งหรือ โปรแกรมนั้นจะเขียนมำจำกภำษำคอมพิวเตอร์ ภำษำใดภำษำหนึ่ง และมีโปรแกรมเมอร์ หรือ นักเขียนโปรแกรม เป็นผู้ใช้ภำษำคอมพิวเตอร์ เหล่ำนั้น เป็นซอฟต์แวร์แบบต่ำงๆ ขึ้นมำ  ซอฟต์แวร์สำมำรถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ใหญ่ๆ คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
  • 39. ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)  เป็นโปรแกรมที่ทำำหน้ำที่ควบคุมกำรทำำงำน ของส่วนต่ำง ๆ ของคอมพิวเตอร์ให้ทำำงำนร่วม กัน อย่ำงรำบรื่น มีส่วนประกอบย่อย ๆ 3 ส่วน คือ  Operating Software หรือ OS.  Command-Language Translators  Librarian  เช่น Windows, Linux
  • 40. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software)  ซอฟต์แวร์ที่สำมำรถติดตั้งได้ในภำยหลังจำก ที่ติดตั้งระบบปฏิบัติกำรแล้ว  ปกติมุ่งใช้กับงำนเฉพำะอย่ำง เช่น งำนด้ำน บัญชี งำนด้ำนเอกสำรหรืองำนควบคุมสินค้ำ คงเหลือ  อำจมีบริษัทผู้ผลิตทำำขึ้นมำเพื่อจำำหน่ำย โดยตรง มีทั้งที่ให้ใช้ฟรี ซื้อทำำเอง หรือจ้ำง เขียนโดยเฉพำะ
  • 41. 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ 2.3 บุคคลำกร หรือ ผู้ใช้ (Peopleware)  บุคลำกรหรือผู้ใช้เป็นองค์ประกอบที่สำำคัญ มำก ต้องมีควำมรู้ควำมเข้ำใจในกำรใช้งำน เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์แล้ว จะทำำให้กำร ใช้งำนไม่มีประสิทธิภำพ  โดยสำมำรถแบ่งกลุ่มบุคลำกรออกเป็น 3 กลุ่มด้วยกัน คือ กลุ่มผู้ใช้งำนทั่วไป กลุ่มผู้เชี่ยวชำญ กลุ่มผู้บริหำร
  • 42. 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ 2.3 บุคคลำกร หรือ ผู้ใช้ (People ware) กลุ่มผู้ใช้งำนทั่วไป  ผู้ใช้งำนคอมพิวเตอร์ (User / End User) ถือว่ำเป็นผู้ใช้งำนระดับตำ่ำสุด ไม่จำำเป็น ต้องมีควำมเชี่ยวชำญมำกนักก็สำมำรถใช้ งำนได้ โดยศึกษำจำกคู่มือกำรปฏิบัติงำน หรือรับกำรอบรมเพิ่มเติมเพื่อให้สำมำรถ ใช้งำนได้
  • 43. 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ 2.3 บุคคลำกร หรือ ผู้ใช้ (People ware) กลุ่มผู้เชี่ยวชำญ ช่ำงเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer Operator/ Computer Technician) นักวิเครำะห์ระบบ (System Analyst) นักเขียนโปรแกรม (Programmer) วิศวกรซอฟต์แวร์ (Software Engineer) ผู้ดูแลเน็ตเวิร์ก (Network Administrator)
  • 44. 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ 2.3 บุคคลำกร หรือ ผู้ใช้ (People ware) กลุ่มผู้บริหำร  ผู้บริหำรสูงสุดด้ำนสำรสนเทศและ คอมพิวเตอร์ (CIO – Chief Information Officer)  หัวหน้ำงำนด้ำนคอมพิวเตอร์ (Computer Center Manager/ Information Manager)
  • 45. 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ 2.4 ข้อมูลและ สำรสนเทศ(Data/Informati on) กำรทำำงำนของคอมพิวเตอร์จะเกี่ยวข้องตั้งแต่ กำรนำำข้อมูลเข้ำ (data)จนกลำยเป็นข้อมูลที่ สำมำรถใช้ประโยชน์ต่อได้หรือที่เรียกว่ำ สำรสนเทศ (information)  ข้อมูลเหล่ำนี้อำจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร และ ข้อมูลในรูปแบบอื่นๆเช่น ภำพ เสียง เป็นต้น  ข้อมูลที่จะนำำมำใช้กับคอมพิวเตอร์ ต้องแปลงรูป แบบหรือสถำนะให้คอมพิวเตอร์เข้ำใจเสียก่อน ซึ่งเรียกว่ำ สถำนะแบบดิจิตอล
  • 46. 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ สถำนะแบบดิจิตอล  มีเพียง 2 สถำนะเท่ำนั้นคือ เปิด (1) และ ปิด (0) เหมือนกับหลักกำรทำำงำนของไฟฟ้ำ  อำศัยกำรประมวลผลโดยใช้ ระบบเลขฐำนสอง หรือที่เรียกว่ำ binary system เป็นหลัก ซึ่ง ประกอบด้วยตัวเลขเพียง 2 ตัวเท่ำนั้น คือ 0 กับ 1
  • 47. 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ สถำนะแบบดิจิตอล  ตัวเลข 0 กับ 1 เรำเรียกว่ำเป็นตัวเลขฐำนสอง หรือไบนำรีดิจิต(binary digit) มักเรียกย่อๆว่ำ บิต (bit) นั่นเอง  เมื่อบิตหลำยตัวรวมกันจำำนวนหนึ่ง (ขึ้นอยู่กับ รหัสกำรจัดเก็บ) เช่น 8 บิต เรำจะเรียกหน่วยจัด เก็บข้อมูลนี้ใหม่ว่ำเป็น ไบต์ (byte) ซึ่งสำมำรถ ใช้แทน ตัวอักษร ตัวเลข อักขระพิเศษที่เรำ ต้องกำรป้อนข้อมูลเข้ำไปในเครื่องแต่ละตัวได้
  • 49. 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ 2.4 ข้อมูลและ สำรสนเทศ(Data/Informati on)  ข้อมูล หมำยถึง ข้อมูลที่ได้จำกกำรสำำรวจจริง ซึ่งอำจ เป็นข้อเท็จจริง หรือเหตุกำรณ์ที่เกี่ยวข้องกับสิ่ง ต่ำง ๆ เช่น บุคคล สิ่งของ สถำนที่ ฯลฯ  สำรสนเทศ หมำยถึง สิ่งที่ได้จำกกำรนำำข้อมูลไปผ่ำน กระบวนกำรหนึ่งก่อน จึงได้สำรสนเทศออกมำ ซึ่งเป็นข้อมูลที่ผ่ำนกำรเลือกให้เหมำะกับกำรใช้ งำนให้ทันเวลำ
  • 50. กำรซื้อของในร้ำน ซุปเปอร์มำร์เก็ต ข้อมูล (Data) สำรสนเทศ (Information) ใน รูปของรำยงำน สรุปและกรำฟ สำำหรับผู้บริหำร กำรประมวล ผลด้วยเครื่อง คอมพิวเตอร์
  • 51. 2.4 ข้อมูลและ สำรสนเทศ(Data/Informati รสoนเnท)ศ ทมี่ปีระโยชน์นั้นจะมคีุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ มีควำมสัมพันธ์กัน (Relevant) สำมำรถนำำมำประยุกต์ใช้ได้อย่ำงเหมำะสม กับสถำนกำรณ์ปัจจุบัน มีควำมทันสมัย (Timely) ต้องมีควำมทันสมัยและพร้อมที่จะใช้งำนได้ เมื่อต้องกำร มีควำมถูกต้อง แม่นยำำ (Accurate) เมื่อป้อนข้อมูลเข้ำสู่คอมพิวเตอร์แล้ว ผลลัพธ์ ที่ได้จะต้องถกูต้องในทุกๆ ส่วน มีควำมกระชับรัดกุม ข้อมูลจะต้องถกูย่อให้มีควำมกระชับ และ ควำมยำวที่พอเหมำะ 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์
  • 52. 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ 2.5 กระบวนกำรทำำงำน (Procedure)  หมำยถึง ขั้นตอนที่ผู้ใช้จะต้องทำำตำม เพื่อ ให้ได้งำนเฉพำะบำงอย่ำงจำกคอมพิวเตอร์  ผู้ใช้คอมพิวเตอร์ทุกคนจะต้องรู้กระบวนกำร ทำำงำน พื้นฐำนของเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อที่ จะสำมำรถใช้งำนได้อย่ำงถูกต้อง เช่น  กำรใช้เครื่อง ฝำก – ถอนเงินอัตโนมัติ (ATM) ถ้ำต้องกำรถอนเงินจะต้องผ่ำน กระบวนกำรต่ำงๆ
  • 53. 2. องค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ 2.5 กระบวนกำรทำำงำน (Procedure) 1. จอภำพแสดงข้อควำมเตรียมพร้อมที่จะ ทำำงำน 2. สอดบัตร และพิมพ์รหัสผู้ใช้ 3. เลือกรำยกำร 4. ใส่จำำนวนเงินที่ต้องกำร 5. รับเงิน 6. รับใบบันทึกรำยกำร และบัตรคืน
  • 55. ประเภทของเครื่องคอมพิวเตอร์ จำำแนกตำมขนำดและควำมสำมำรถของเครื่อง คอมพิวเตอร์ได้ ดังนี้  ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)  เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer)  มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer)  ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer)  คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer)
  • 56. ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีขนำดใหญ่และมีรำคำ สูง มีควำมเร็วในกำรประมวลผลถึง 1,000 ล้ำนคำำสั่ง ต่อ 1 วินำที ภำยในเครื่องมีหน่วยประมวลผลเป็น จำำนวนมำกทำำให้สำมำรถประมวลผลคำำสั่งหลำยคำำสั่ง พร้อมกันได้ เหมำะสำำหรับงำนที่ต้องคำำนวณผลซับ ซ้อน และเป็นงำนที่มีลักษณะเฉพำะด้ำน เช่น กำร
  • 57. เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีลักษณะกำร ทำำงำนโดยมีผู้ใช้หลำยๆ คนในเวลำเดียวกันได้ สำมำรถประมวลผล 10 ล้ำนคำำสั่งต่อ 1 วินำที เหมำะสำำหรับงำนที่มีกำรเก็บข้อมูลปริมำณมำก เช่น ธนำคำร โรงพยำบำล กำรใช้เมนเฟรม คอมพิวเตอร์ ต้องคำำนึงถึง อุณหภูมิและ
  • 58. มินิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) มีลักษณะเดียวกันกับเครื่องเมนเฟรม คอมพิวเตอร์ แต่มีขนาดเล็กกว่า และมี ประสิทธิภาพตำ่ากว่า ทั้งในด้านความเร็วในการ ประมวลผล และความจุของหน่วยความจำา ปัจจุบันองค์กรขนาดกลางและขนาดเล็ก จะนิยม ใช้มินิคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องแม่ข่าย(Server)
  • 59. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Microcomputer) หรือที่เรียกว่า เครื่องคอมพิวเตอร์สว่น บุคคล (Personal Computer :PC) เป็น เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสำาหรับการใช้ งาน 1 คนต่อ 1 เครื่อง หรือ ใช้เชอื่มต่อ กับเครื่องในเครือข่าย ไมโครคอมพิวเตอร์ มีลักษณะการใช้งานง่าย เคลื่อนย้าย สะดวก ราคาถูก ตัวอย่างของไมโคร
  • 60. คอมพิวเตอร์มือถือ (Handheld Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบ กับคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ อีกทั้งยังสามารถพก พาไปในที่ต่างๆได้ง่าย ประโยชน์การใช้ คอมพิวเตอร์ประเภทนี้อาจนำาไปใช้ในการ จัดการข้อมูลประจำาวัน การสร้างปฏิทินนัดหมาย การดูหนังฟังเพลง รวมถึงการรับส่งอีเมล์ บางรุ่น อาจมีความสามารถเทียบเคียงได้กับไมโคร
  • 61. 4. คอมพิวเตอร์ยุคใหม่  เดสก์ท็อป (Desktop)  โน๊ตบุ๊ค (Notebook)  เดสก์โน๊ต (Desknote)  แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC)  พีดีเอ (PDA-Personal Digital Assistants)  สมาร์ทโฟน (Smart Phone)
  • 62. เดสก์ท็อป (Desktop) เป็นคอมพิวเตอร์แบบตั้งโต๊ะที่ใช้ใน สำานักงานหรือตามบ้านทั่วไป นิยมใช้สำาหรับ การประมวลผล ตัวเครื่องและจอภาพสามารถ จัดวางเพื่อทำางานบนโต๊ะได้อย่างสบาย ปัจจุบันมีการผลิตที่เน้นความสวยงามและ ราคาถูก
  • 63. โน๊ตบุ๊ค (Notebook) คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊คมีคุณสมบัติที่ใกล้ เคียงกับพีซี แต่จะมีขนาดเล็กและบางลง มี นำ้าหนักเบาสามารถพกพาได้สะดวกมากยิ่ง ขึ้น และข้อแตกต่างอีกประการหนึ่งคือ โน๊ ตบุ๊คจะมีแบตเตอรี่ไว้สำาหรับการทำางาน ด้วย ที่สำาคัญราคาถูกลงกว่าเมื่อก่อนมาก แต่ยังถือว่ามีราคาแพงกว่าพีซีธรรมดา
  • 64. เดสก์โน๊ต (Desknote) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาอีกแบบ หนึ่งคล้ายๆกับโน๊ตบุ๊ค ต่างกันตรงที่เดสก์ โน๊ตไม่มีแบตเตอรี่ที่คอยจ่ายไฟให้จึงต้อง เสียบปลั๊กตลอดเวลาที่ใช้ อีกทั้งราคาถูก กว่าโน๊ตบุ๊ค เหมาะกับผู้ที่มีสำานักงานหลายๆ ที่ และเดินทางไปมาบ่อยๆ
  • 65. แท็บเล็ตพีซี (Tablet PC) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ผู้ใช้สามารถ ป้อนข้อมูลเข้าไปได้โดยการเขียนบน จอภาพเหมือนกับการเขียนข้อความลงไป ในสมุดโน๊ต และเครื่องสามารถที่จะแปลง ข้อมูลต่างๆ เหล่านั้นเก็บไว้ได้ และบาง เครื่องยังสามารถพลิกหน้าจอได้ 2 แบบ คือ เหมือนกับการใช้งานแบบโน๊ตบุ๊คหรือ เหมือนกับกระดานรองเขียนก็ได้
  • 66. พีดีเอ (PDA-Personal Digital Assistants) สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 กลุ่มคือ ปาล์ม (Palm) พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC)
  • 67. ปาล์ม (Palm) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์พกพาที่เปิดตลาดมา ก่อน แต่เดิมนั้นเน้นเพื่อการใช้งานสำาหรับเป็น เครื่องบันทึกช่วยจำาต่างๆ(organizer) เช่น การนัด หมาย ปฏิทิน สมุดโทรศัพท์ แต่ปัจจุบันได้พัฒนา ให้มีขีดความสามารถต่างๆ เพิ่มมากขึ้น โดยจะใช้ ระบบปฏิบัติการที่เป็นของตัวเองเรียกว่า Palm OS
  • 68. พ็อกเก็ตพีซี (Pocket PC) เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อำานวยความ สะดวกในการใช้งานได้ดีเช่นเดียวกับเครื่อง ปาล์ม แต่จะแตกต่างจากเครื่องปาล์มในเรื่อง ของระบบปฏิบัติการที่ใช้จะอิงกับค่ายไมโคร ซอฟท์เป็นหลัก ผู้ใช้งานพ็อกเก็ตพีซีที่ชิน กับระบบปฏิบัติการของไมโครซอฟท์มาก่อน สามารถใช้งานได้ง่ายมาก แต่จะกินกำาลัง
  • 69. สมาร์ทโฟน (Smart Phone) เป็นกลุ่มของโทรศัพท์มือถือที่พัฒนาขีด ความสามารถให้มีการทำางานได้ใกล้เคียงกับ พีดีเอเป็นอย่างมาก โดยสมาร์ทโฟนสามารถ ที่จะใช้เป็นเครื่องโทรศัพท์ได้ในตัว รวมถึง ความสามารถอื่นๆ เช่น กล้องถ่ายรูป การใช้ งานอินเตอร์เน็ต เป็นต้น ซึ่งคุณสมบัติต่างๆ เหล่านี้ขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการที่ใช้ด้วย เช่นเดียวกัน
  • 70. 5. คอมพิวเตอร์ในอนาคต ศาสตร์ทางด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) ได้เข้ามามีบทบาทในการสร้าง ปัญญาเทียมเลียนแบบการคิดหรือสมองของ มนุษย์ ซึ่งในงานหลายๆด้านก็มีการประยุกต์เอา คอมพิวเตอร์เข้าไปใช้เพื่อคิดและตัดสินใจแก้ ปัญหาต่างๆ ได้เป็นอย่างดี เช่น ระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system) ระบบหุ่นยนต์ (robotics) ภาธรรมชาติ (natural language)
  • 71. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (expert system)  เป็นศาสตร์แขนงหนึ่งของปัญญาประดิษฐ์ที่นำาเอา คอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้งาน เพื่อเก็บรวบรวม ความรู้ต่างๆ ที่จำาเป็นต้องใช้สำาหรับงานใดงาน หนึ่งให้อยู่ตลอดไปในหน่วยงานโดยไม่ขึ้นกับ บุคคล  ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ วินิจฉัย ตัดสินใจต่างๆ ได้อย่างแม่นยำา เช่น ระบบผู้ เชี่ยวชาญในวงการแพทย์เพื่อวินิจฉัยโรค
  • 72. ระบบหนุ่ยนต์ (robotics)  นำาเอาคอมพิวเตอร์มาประยุกต์ใช้เพื่อให้ทำางาน ร่วมกับเครื่องจักรและอุปกรณ์บังคับบางชนิด เกิด เป็น “หุ่นยนต์” (robot)  สามารถทำางานทดแทนแรงงานคนได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับลักษณะงานที่มีความเสี่ยง ต่ออันตรายมากๆ  อาจพบเห็นการออกแบบหุ่นยนต์โดยอาศัยการ ทำางานของโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อเลียนแบบ พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต และสามารถนำามาใช้งาน ได้จริง เช่น หุ่นยนต์สุนัข เป็นต้น
  • 73. 5. คอมพิวเตอร์ใน อนาคต  การเข้าใจภาษาธรรมชาติของมนุษย์เป็นการนำา เอาความสามารถของของคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย ในการสื่อสารกับมนุษย์ให้สะดวกขึ้น  ตัวอย่างที่พบเห็นมากที่สุด เช่น การใช้ระบบรับรู้ และจำาเสียงพูดของมนุษย์หรือที่เรียกว่า speech recognition ที่คอมพิวเตอร์สามารถแยกแยะ เสียงได้  ทำาให้ลดระยะเวลาในการทำางานของผู้ใช้ลงได้ มากทีเดียว