SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
ประเทศบาห์เรน
ที่ตั้ง
ธงชาติ
เมือง หลวง   ( และเมืองใหญ่สุด )  มานามา ภาษาทางการ ภาษา อาหรับ การ ปกครอง สมบูรณาญาสิทธิราชย์   -  พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระราชาธิบดีฮามัด บิน อิซา อัล คอลีฟะห์   -  นายกรัฐมนตรี เชคคอลีฟะห์ อิบน์ ซุลมัน อัลคอ ลีฟะห์ ได้รับเอกราช   -  จาก ส หราชอาณาจักร 15  สิงหาคม   พ.ศ.   2514 พื้นที่ รวม 665  ตร.กม.   ( 176 ) 253  ตร.ไมล์   แหล่งน้ำ  (%) น้อยมาก  
พื้นที่   -  รวม 665  ตร.กม.   ( 176 )  253  ตร.ไมล์     -  แหล่ง น้ำ   (%)   น้อยมาก ประชากร   -  กรกฎาคม  2548   ( ประมาณ )   688,345 ( 157 )   -  ความหนาแน่น   987  คน / ตร . กม .  ( ? )2,556  คน / ตร . ไมล์ จีดีพี   ( อำนาจซื้อ )  2548 ( ประมาณ )   -  รวม   14.08  ล้าน  ดอลลาร์สหรัฐ   ( 130 )   -  ต่อหัว   20,500  ดอลลาร์สหรัฐ   ( 50 ) สกุลเงิน   ดี นาร์บาห์เรน   ( BHD ) เขต เวลา   ( UTC +3) รหัสโทรศัพท์   973
บาห์เรน   ( อังกฤษ :  Bahrain )  หรือชื่อทางการ  ราชอาณาจักรบาห์เรน   ( อังกฤษ :  Kingdom of Bahrain;   อาหรับ :  مملكة البحرين ‎ )  เป็น ประเทศเกาะ ที่ไม่มีอาณาเขตติดต่อ กับประเทศอื่นใน อ่าวเปอร์เซีย เกาะบาห์เรนเชื่อมต่อกับ ซาอุดีอาระเบีย ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกด้วย สะพานคิงฟาฮัด   ( เปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่  25 พฤศจิกายน   พ.ศ. 2529 )  ส่วน สะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรน  ที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับ กาตาร์  ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก
แผนที่
ประวัติศาสตร์ บาห์เรนเคยอยู่ใต้อารักขาของอังกฤษตั้งแต่ปี  2363  โดยอำนาจการปกครองถูกแบ่งออกระหว่างเจ้าครองนครกับข้าหลวงอังกฤษ อิหร่านเคยอ้างสิทธิเหนือบาห์เรนมาตั้งแต่ศตวรรษที่  19  แต่เมื่อปี  2523  อิหร่านยอมรับรายงานของ  UN   ที่แสดงข้อเท็จจริงว่าชาวบาห์เรนต้องการเป็นอิสระมากกว่าที่จะถูกรวมไว้กับอิหร่าน บาห์เรนได้รับเอกราชเมื่อวันที่  15  สิงหาคม  2514  ตามสนธิสัญญามิตรภาพฉบับใหม่ที่ทำกับอังกฤษ หลังจากที่ความพยายามในการรวมประเทศกับกาตาร์และ  Trucial States  ( สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ )  เป็นสหพันธรัฐไม่ประสบความสำเร็จ บาห์เรนเป็นประเทศแรกในอ่าวอาหรับที่ขุดพบน้ำมันดิบ ในปี  2475  และมีการสร้างโรงกลั่นน้ำมันขึ้น อย่างไรก็ดี ปริมาณน้ำมันดิบที่ขุดพบในบาห์เรนนับว่ามีจำนวนไม่มากนักเมื่อเทียบกับคูเวตและซาอุดีอาระเบีย
การเมือง ราชาธิปไตยกึ่งรัฐสภา มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นไปตามผลการลงประชามติของชาวบาห์เรนเมื่อวันที่  14  กุมภาพันธ์  2545  ปัจจุบัน คือ สมเด็จพระราชาธิบดี ฮามัด บิน อิซา อัลคอลิฟะห์  ( His Majesty King Hamad Bin   Isa Al Khalifa)  เสด็จ ขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่  6  มีนาคม  2542
การแบ่งเขตการปกครอง
ก่อนหน้า  3 กรกฎาคม   พ.ศ. 2545  ประเทศบาห์เรนแบ่งเขตการปกครองเป็นเทศบาลที่ปกครองจากเมืองหลวง  ( กรุงมานามา ) 12  แห่ง คือ 1.อัลฮิดด์   ( Al Hidd) 2.อัล มะนามะห์   ( Al Manamah) 3.อัล มินตะเกาะห์อัลกะร์บียะห์   ( Al Mintaqah al Gharbiyah) 4.อัล มินตะเกาะห์อัลวุสตะ   ( Al Mintaqah al Wusta) 5.อัล มินตะเกาะห์อัลชะมาลียะห์   ( Al Mintaqah al Shamaliyah) 6.อัล มุฮาร์รัก   ( Al Muharraq) 7.อาร์ ริฟาวาอัลมินตะเกาะห์อัลจะนูบียะห์   ( Ar Rifa' wa al Mintaqah al Janubiyah) 8.จิดด์ ฮัฟส์   ( Jidd Haffs) 9.มะ ดีนัตฮามัด   ( Madinat Hamad  ไม่แสดงบนแผนที่ แบ่งจากเทศบาลอาร์ริฟาฯ เมื่อ  พ.ศ. 2534 ) 10.มะ ดีนัตอิซา   ( Madinat 'Isa) 11.จุซูร์ ฮะวาร์   ( Juzur Hawar) 12.ซิ ตระห์   ( Sitrah)
ในปัจจุบันประเทศบาห์เรนแบ่งเป็น  5  เขตผู้ว่าราชการ   ( governorates)  ได้แก่ 1.เขต ผู้ว่าราชการเมืองหลวง   ( Capital) 2.เขต ผู้ว่าราชการกลาง   ( Central) 3.เขต ผู้ว่าราชการมุฮาร์รัก   ( Muharraq) 4.เขต ผู้ว่าราชการเหนือ   ( Northern) 5.เขต ผู้ว่าราชการใต้   ( Southern)
ภูมิศาสตร์ บาห์เรนเป็นหมู่เกาะโดยทั่วไปแห้งแล้งแบนและประกอบด้วยทะเลทรายต่ำธรรมดาที่เพิ่มขึ้นอย่างอ่อนโยนไปที่ลาดชันกลางต่ำในอ่าวเปอร์เซียทางตะวันออกของประเทศซาอุดิอาระเบีย บาห์เรนมีพื้นที่ทั้งหมด  257  ตารางไมล์ ซึ่งเป็นเล็กน้อยมีขนาดใหญ่กว่าเกาะแมนแม้ว่าจะมีขนาดเล็กกว่าในบริเวณใกล้เคียง เป็นหมู่เกาะของเกาะ บาห์เรนไม่ได้เปิดเผยขอบเขตที่ดินกับประเทศอื่น แต่จะมี  161  กิโลเมตร  (100  ไมล์ )  ชายฝั่งและสิทธิเรียกร้องต่อไป  22  กม . (12  nmi)   ของน้ำทะเลระหว่างประเทศและ กม . 44 (24  nmi )  เขตต่อเนื่อง บาห์เรนของหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือบาห์เรน  Island, Muharraq Island,  อืมม  Nasan   และ  Sitrah  บาห์เรนมีฤดูหนาวที่หนาวรุนแรงและร้อนมากฤดูร้อนชื้น บาห์เรนของทรัพยากรธรรมชาติจำนวนมากรวมถึงน้ำมันและก๊าซธรรมชาติรวมทั้งปลา ซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูกที่ดินถือ  2.82%  เท่านั้น ของพื้นที่ทั้งหมด
ทะเลทรายถือ  92%  ของบาห์เรนและแห้งแล้งเป็นครั้งคราวและพายุฝุ่นเป็นภัยธรรมชาติหลักเพื่อ  Bahrainis   ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมรวมถึงการหันหน้าไปทางบาห์เรนทะเลทรายที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของที่ดินซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูก จำกัด  ,  การย่อยสลายชายฝั่ง  ( ชายฝั่งเกิดความเสียหายต่อแนวปะการังและพืชน้ำทะเล )  เกิดจากการรั่วไหลน้ำมันและปล่อยเรือบรรทุกน้ำมันขนาดใหญ่อื่น ๆ จากโรงกลั่นน้ำมัน ,   สถานีจัดจำหน่ายและการถมที่ดินที่ผิดกฎหมาย ที่สถานที่เช่น  Tubli  เบย์ การใช้  -  ภาคเกษตรและในประเทศ ' เหนือของ  Dammam Aquifer, aquifer  หลักในบาห์เรนได้นำไปสู่  salinization  โดยที่อยู่ติดกันกร่อยและน้ำเค็มแหล่งน้ำ
ที่ตั้ง ที่ตั้งและพื้นที่ ประเทศบาห์เรนประกอบด้วยหมู่เกาะเล็ก ๆ  ( archipelago)   ประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ ประมาณ  33  เกาะในอ่าวเปอร์เซีย จากฝั่งทะเลตะวันออกของซาอุดีอาระเบีย  15  ไมล์ และจากชายฝั่งทะเลตะวันตกของกาตาร์  17  ไมล์ บาห์เรนมีพื้นที่ประมาณ  620  ตร . กม .(264.4  ตารางไมล์ )  ส่วนใหญ่เต็มไปด้วยทรายและหินอากาศ เดือนธันวาคมถึงปลายเดือนมีนาคม อุณหภูมิจะอยู่ประมาณ  19 C –  29 C  แต่จะร้อนชื้นมากในฤดูร้อน โดยในเดือนสิงหาคมและกันยายนอุณหภูมิอาจขึ้นสูงถึง  40 C
ลักษณะภูมิอากาศ ช่วงฤดูหนาว  ( ธันวาคม - มีนาคม )  อากาศเย็นสบาย อุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง  19 - 29  องศาเซลเซียส ช่วงฤดูร้อน  ( เดือนเมษายน - ตุลาคม )  อากาศร้อนชื้น อุณหภูมิอาจสูงถึง  49  องศาเซลเซียส ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิประเทศเกือบทั้งหมดเป็นที่ราบต่ำในทะเลทราย ค่อยๆ ชันขึ้น ทางตอนกลาง เศรษฐกิจ อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ  ร้อยละ  6.1 ( ไทย  2.6%) ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ   18.97  พันล้าน  USD ( ไทย  273.4  พันล้าน  USD) รายได้ประชาชาติต่อหัว   18 , 979  USD ( ไทย  4 , 081  USD) ปริมาณน้ำมันสำรอง   125  ล้านบาร์เรล
ความสัมพันธ์กับไทย ไทย และ บาห์เรน ได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่  17 มกราคม   2520  ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์อันใกล้ชิด บาห์เรนถือเป็นพันธมิตรที่สำคัญที่สุดในภูมิภาคตะวันออกกลางและมีบทบาทเป็นสะพานเชื่อมไทยสู่ประเทศใน ตะวันออกกลาง ในหลายมิติ  นายกรัฐมนตรีบาห์เรน ทรงชื่นชมพระปรีชาสามารถของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นอย่างยิ่ง ทรงโปรด ประเทศไทย และอัธยาศัยไมตรีของคนไทย และเสด็จมาพักผ่อนที่ประเทศไทยเป็นประจำทุกปี และทรงเป็นบุคคลสำคัญซึ่งอยู่เบื้องหลังความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างประเทศทั้งสอง อนึ่ง นายกรัฐมนตรีบาห์เรนทรงเป็นผู้สั่งการให้อำนวยความสะดวกในการติดต่อนัดหมายให้คณะผู้แทนไทยเข้าเฝ้าราชวงศ์ในตะวันออกกลางหลายราชวงศ์เพื่อกราบบังคมทูลเชิญร่วมงาน ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั ว เมื่อเดือน มิถุนายน 2549
ศาสนา ศาสนาในประเทศบาห์เรน ศาสนา   % อิสลาม   81.2% คริสต์   9% อื่น ๆ   9.8% ประชากรส่วนมากของประเทศนับถือ และยึดศาสนาอิสลามเป็นแบบแผน ในการดำเนินชีวิต ซึ่งจะเห็นได้ว่าสิ่งก่อสร้าง โบราณวัตถุ โบราณสถาน วัฒนธรรมต่างๆ เป็นสิ่งสะท้อนอิทธิพลของศาสนาอิสลาม ให้เห็นเด่นชัดในประเทศ บาห์เรน และประชากรส่วนมากพูด ภาษาอาหรับซึ่งใช้กันในแถบภูมิภาคนี้
สุดยอดถนน  " บาห์เรน "  อลังการงานสร้าง ! " บาห์เรน "  หรือชื่อ  " ราชอาณาจักรบาห์เรน (  مملكة البحرين )   เป็นประเทศที่มีเกาะถึง  33  เกาะ ห่างจากฝั่งทะเลตะวันออกของซาอุดีอาระเบีย   24  กิโลเมตร และห่างจากชายฝั่งทะเลตะวันตกของกาตาร์  27  กิโลเมตร   ไม่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอื่นในอ่าวเปอร์เซีย จึงต้องมีการสร้างถนนและสะพานข้ามน้ำทะเล ที่ยิ่งใหญ่สมกับเป็นประเทศผู้ค้าน้ำมัน
The King Fahd Causeway  เปิดใช้เมื่อ  1986  เชื่อมระหว่าง   Bahrain  กับ  Saudi Arabia
สะพาน  King Fahad Causeway  ที่ประเทศบาห์เรนเป็นสะพาน ข้ามทะเลระยะยาว  25  กิโลเมตร   เชื่อมระหว่างประเทศบาห์เรน และซาอุดีอาระเบีย   เปิดใช้ตั้งแต่ พ . ศ . 2529 ( ค . ศ . 1986)  เป็นสะพานที่ค่าก่อสร้างแพงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก   และใช้เทคโนโลยีการก่อสร้าง  ที่ได้รับการยืนยันว่า   มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาก แต่สร้างประโยชน์ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของบาห์เรน   จนเป็นประเทศชั้นนำในตะวันออกกลาง
 
 
 
สุดยอดถนน
 
 
 
ประเทศบาห์เรน   &  สุดยอดถนนมีจริงด้วย
 
 
 
 
 
 
บรรณานุกรม มติชน .  “ บาห์เรน , ”  ประเทศบาห์เรน .  21  สิงหาคม พ . ศ .  2551.< http://www.nidambe11.net , www.kingfahdbinabdulaziz.com > 14  มกราคม พ . ศ . 2554
จัดทำโดย นางสาว อุษณีย์  อุ่นทานนท์  เลขที่  36  ชั้น  ม .5/2

More Related Content

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

ประเทศบาห์เรน

  • 4. เมือง หลวง ( และเมืองใหญ่สุด ) มานามา ภาษาทางการ ภาษา อาหรับ การ ปกครอง สมบูรณาญาสิทธิราชย์   -  พระมหากษัตริย์ สมเด็จพระราชาธิบดีฮามัด บิน อิซา อัล คอลีฟะห์   -  นายกรัฐมนตรี เชคคอลีฟะห์ อิบน์ ซุลมัน อัลคอ ลีฟะห์ ได้รับเอกราช   -  จาก ส หราชอาณาจักร 15 สิงหาคม พ.ศ. 2514 พื้นที่ รวม 665  ตร.กม.   ( 176 ) 253  ตร.ไมล์   แหล่งน้ำ  (%) น้อยมาก  
  • 5. พื้นที่   -  รวม 665  ตร.กม.   ( 176 ) 253  ตร.ไมล์     -  แหล่ง น้ำ   (%) น้อยมาก ประชากร   -  กรกฎาคม 2548  ( ประมาณ ) 688,345 ( 157 )   -  ความหนาแน่น 987  คน / ตร . กม .  ( ? )2,556  คน / ตร . ไมล์ จีดีพี   ( อำนาจซื้อ ) 2548 ( ประมาณ )   -  รวม 14.08 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ   ( 130 )   -  ต่อหัว 20,500 ดอลลาร์สหรัฐ   ( 50 ) สกุลเงิน ดี นาร์บาห์เรน ( BHD ) เขต เวลา ( UTC +3) รหัสโทรศัพท์ 973
  • 6. บาห์เรน ( อังกฤษ : Bahrain ) หรือชื่อทางการ ราชอาณาจักรบาห์เรน ( อังกฤษ : Kingdom of Bahrain; อาหรับ : مملكة البحرين ‎ ) เป็น ประเทศเกาะ ที่ไม่มีอาณาเขตติดต่อ กับประเทศอื่นใน อ่าวเปอร์เซีย เกาะบาห์เรนเชื่อมต่อกับ ซาอุดีอาระเบีย ซึ่งอยู่ทางทิศตะวันตกด้วย สะพานคิงฟาฮัด ( เปิดใช้อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2529 ) ส่วน สะพานมิตรภาพกาตาร์-บาห์เรน ที่กำลังอยู่ในระหว่างวางแผนงานนั้น จะเชื่อมต่อบาห์เรนเข้ากับ กาตาร์ ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศใต้ และจะเป็นสะพานขึงที่ยาวที่สุดในโลก
  • 8. ประวัติศาสตร์ บาห์เรนเคยอยู่ใต้อารักขาของอังกฤษตั้งแต่ปี 2363 โดยอำนาจการปกครองถูกแบ่งออกระหว่างเจ้าครองนครกับข้าหลวงอังกฤษ อิหร่านเคยอ้างสิทธิเหนือบาห์เรนมาตั้งแต่ศตวรรษที่ 19 แต่เมื่อปี 2523 อิหร่านยอมรับรายงานของ UN ที่แสดงข้อเท็จจริงว่าชาวบาห์เรนต้องการเป็นอิสระมากกว่าที่จะถูกรวมไว้กับอิหร่าน บาห์เรนได้รับเอกราชเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 2514 ตามสนธิสัญญามิตรภาพฉบับใหม่ที่ทำกับอังกฤษ หลังจากที่ความพยายามในการรวมประเทศกับกาตาร์และ Trucial States ( สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ) เป็นสหพันธรัฐไม่ประสบความสำเร็จ บาห์เรนเป็นประเทศแรกในอ่าวอาหรับที่ขุดพบน้ำมันดิบ ในปี 2475 และมีการสร้างโรงกลั่นน้ำมันขึ้น อย่างไรก็ดี ปริมาณน้ำมันดิบที่ขุดพบในบาห์เรนนับว่ามีจำนวนไม่มากนักเมื่อเทียบกับคูเวตและซาอุดีอาระเบีย
  • 9. การเมือง ราชาธิปไตยกึ่งรัฐสภา มีพระมหากษัตริย์เป็นพระประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นไปตามผลการลงประชามติของชาวบาห์เรนเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2545 ปัจจุบัน คือ สมเด็จพระราชาธิบดี ฮามัด บิน อิซา อัลคอลิฟะห์ ( His Majesty King Hamad Bin Isa Al Khalifa) เสด็จ ขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2542
  • 11. ก่อนหน้า 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2545 ประเทศบาห์เรนแบ่งเขตการปกครองเป็นเทศบาลที่ปกครองจากเมืองหลวง ( กรุงมานามา ) 12 แห่ง คือ 1.อัลฮิดด์ ( Al Hidd) 2.อัล มะนามะห์ ( Al Manamah) 3.อัล มินตะเกาะห์อัลกะร์บียะห์ ( Al Mintaqah al Gharbiyah) 4.อัล มินตะเกาะห์อัลวุสตะ ( Al Mintaqah al Wusta) 5.อัล มินตะเกาะห์อัลชะมาลียะห์ ( Al Mintaqah al Shamaliyah) 6.อัล มุฮาร์รัก ( Al Muharraq) 7.อาร์ ริฟาวาอัลมินตะเกาะห์อัลจะนูบียะห์ ( Ar Rifa' wa al Mintaqah al Janubiyah) 8.จิดด์ ฮัฟส์ ( Jidd Haffs) 9.มะ ดีนัตฮามัด ( Madinat Hamad ไม่แสดงบนแผนที่ แบ่งจากเทศบาลอาร์ริฟาฯ เมื่อ พ.ศ. 2534 ) 10.มะ ดีนัตอิซา ( Madinat 'Isa) 11.จุซูร์ ฮะวาร์ ( Juzur Hawar) 12.ซิ ตระห์ ( Sitrah)
  • 12. ในปัจจุบันประเทศบาห์เรนแบ่งเป็น 5 เขตผู้ว่าราชการ ( governorates) ได้แก่ 1.เขต ผู้ว่าราชการเมืองหลวง ( Capital) 2.เขต ผู้ว่าราชการกลาง ( Central) 3.เขต ผู้ว่าราชการมุฮาร์รัก ( Muharraq) 4.เขต ผู้ว่าราชการเหนือ ( Northern) 5.เขต ผู้ว่าราชการใต้ ( Southern)
  • 13. ภูมิศาสตร์ บาห์เรนเป็นหมู่เกาะโดยทั่วไปแห้งแล้งแบนและประกอบด้วยทะเลทรายต่ำธรรมดาที่เพิ่มขึ้นอย่างอ่อนโยนไปที่ลาดชันกลางต่ำในอ่าวเปอร์เซียทางตะวันออกของประเทศซาอุดิอาระเบีย บาห์เรนมีพื้นที่ทั้งหมด 257 ตารางไมล์ ซึ่งเป็นเล็กน้อยมีขนาดใหญ่กว่าเกาะแมนแม้ว่าจะมีขนาดเล็กกว่าในบริเวณใกล้เคียง เป็นหมู่เกาะของเกาะ บาห์เรนไม่ได้เปิดเผยขอบเขตที่ดินกับประเทศอื่น แต่จะมี 161 กิโลเมตร (100 ไมล์ ) ชายฝั่งและสิทธิเรียกร้องต่อไป 22 กม . (12 nmi) ของน้ำทะเลระหว่างประเทศและ กม . 44 (24 nmi ) เขตต่อเนื่อง บาห์เรนของหมู่เกาะที่ใหญ่ที่สุดคือบาห์เรน Island, Muharraq Island, อืมม Nasan และ Sitrah บาห์เรนมีฤดูหนาวที่หนาวรุนแรงและร้อนมากฤดูร้อนชื้น บาห์เรนของทรัพยากรธรรมชาติจำนวนมากรวมถึงน้ำมันและก๊าซธรรมชาติรวมทั้งปลา ซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูกที่ดินถือ 2.82% เท่านั้น ของพื้นที่ทั้งหมด
  • 14. ทะเลทรายถือ 92% ของบาห์เรนและแห้งแล้งเป็นครั้งคราวและพายุฝุ่นเป็นภัยธรรมชาติหลักเพื่อ Bahrainis ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมรวมถึงการหันหน้าไปทางบาห์เรนทะเลทรายที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของที่ดินซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูก จำกัด , การย่อยสลายชายฝั่ง ( ชายฝั่งเกิดความเสียหายต่อแนวปะการังและพืชน้ำทะเล ) เกิดจากการรั่วไหลน้ำมันและปล่อยเรือบรรทุกน้ำมันขนาดใหญ่อื่น ๆ จากโรงกลั่นน้ำมัน , สถานีจัดจำหน่ายและการถมที่ดินที่ผิดกฎหมาย ที่สถานที่เช่น Tubli เบย์ การใช้ - ภาคเกษตรและในประเทศ ' เหนือของ Dammam Aquifer, aquifer หลักในบาห์เรนได้นำไปสู่ salinization โดยที่อยู่ติดกันกร่อยและน้ำเค็มแหล่งน้ำ
  • 15. ที่ตั้ง ที่ตั้งและพื้นที่ ประเทศบาห์เรนประกอบด้วยหมู่เกาะเล็ก ๆ ( archipelago) ประกอบด้วยเกาะต่าง ๆ ประมาณ 33 เกาะในอ่าวเปอร์เซีย จากฝั่งทะเลตะวันออกของซาอุดีอาระเบีย 15 ไมล์ และจากชายฝั่งทะเลตะวันตกของกาตาร์ 17 ไมล์ บาห์เรนมีพื้นที่ประมาณ 620 ตร . กม .(264.4 ตารางไมล์ ) ส่วนใหญ่เต็มไปด้วยทรายและหินอากาศ เดือนธันวาคมถึงปลายเดือนมีนาคม อุณหภูมิจะอยู่ประมาณ 19 C – 29 C แต่จะร้อนชื้นมากในฤดูร้อน โดยในเดือนสิงหาคมและกันยายนอุณหภูมิอาจขึ้นสูงถึง 40 C
  • 16. ลักษณะภูมิอากาศ ช่วงฤดูหนาว ( ธันวาคม - มีนาคม ) อากาศเย็นสบาย อุณหภูมิจะอยู่ระหว่าง 19 - 29 องศาเซลเซียส ช่วงฤดูร้อน ( เดือนเมษายน - ตุลาคม ) อากาศร้อนชื้น อุณหภูมิอาจสูงถึง 49 องศาเซลเซียส ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิประเทศเกือบทั้งหมดเป็นที่ราบต่ำในทะเลทราย ค่อยๆ ชันขึ้น ทางตอนกลาง เศรษฐกิจ อัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ร้อยละ 6.1 ( ไทย 2.6%) ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ 18.97 พันล้าน USD ( ไทย 273.4 พันล้าน USD) รายได้ประชาชาติต่อหัว 18 , 979 USD ( ไทย 4 , 081 USD) ปริมาณน้ำมันสำรอง 125 ล้านบาร์เรล
  • 17. ความสัมพันธ์กับไทย ไทย และ บาห์เรน ได้สถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตเมื่อวันที่ 17 มกราคม 2520 ทั้งสองประเทศมีความสัมพันธ์อันใกล้ชิด บาห์เรนถือเป็นพันธมิตรที่สำคัญที่สุดในภูมิภาคตะวันออกกลางและมีบทบาทเป็นสะพานเชื่อมไทยสู่ประเทศใน ตะวันออกกลาง ในหลายมิติ นายกรัฐมนตรีบาห์เรน ทรงชื่นชมพระปรีชาสามารถของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นอย่างยิ่ง ทรงโปรด ประเทศไทย และอัธยาศัยไมตรีของคนไทย และเสด็จมาพักผ่อนที่ประเทศไทยเป็นประจำทุกปี และทรงเป็นบุคคลสำคัญซึ่งอยู่เบื้องหลังความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดระหว่างประเทศทั้งสอง อนึ่ง นายกรัฐมนตรีบาห์เรนทรงเป็นผู้สั่งการให้อำนวยความสะดวกในการติดต่อนัดหมายให้คณะผู้แทนไทยเข้าเฝ้าราชวงศ์ในตะวันออกกลางหลายราชวงศ์เพื่อกราบบังคมทูลเชิญร่วมงาน ฉลองสิริราชสมบัติครบ 60 ปีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หั ว เมื่อเดือน มิถุนายน 2549
  • 18. ศาสนา ศาสนาในประเทศบาห์เรน ศาสนา % อิสลาม 81.2% คริสต์ 9% อื่น ๆ 9.8% ประชากรส่วนมากของประเทศนับถือ และยึดศาสนาอิสลามเป็นแบบแผน ในการดำเนินชีวิต ซึ่งจะเห็นได้ว่าสิ่งก่อสร้าง โบราณวัตถุ โบราณสถาน วัฒนธรรมต่างๆ เป็นสิ่งสะท้อนอิทธิพลของศาสนาอิสลาม ให้เห็นเด่นชัดในประเทศ บาห์เรน และประชากรส่วนมากพูด ภาษาอาหรับซึ่งใช้กันในแถบภูมิภาคนี้
  • 19. สุดยอดถนน &quot; บาห์เรน &quot; อลังการงานสร้าง ! &quot; บาห์เรน &quot; หรือชื่อ &quot; ราชอาณาจักรบาห์เรน ( مملكة البحرين ) เป็นประเทศที่มีเกาะถึง 33 เกาะ ห่างจากฝั่งทะเลตะวันออกของซาอุดีอาระเบีย 24 กิโลเมตร และห่างจากชายฝั่งทะเลตะวันตกของกาตาร์ 27 กิโลเมตร ไม่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอื่นในอ่าวเปอร์เซีย จึงต้องมีการสร้างถนนและสะพานข้ามน้ำทะเล ที่ยิ่งใหญ่สมกับเป็นประเทศผู้ค้าน้ำมัน
  • 20. The King Fahd Causeway เปิดใช้เมื่อ 1986 เชื่อมระหว่าง Bahrain กับ Saudi Arabia
  • 21. สะพาน King Fahad Causeway ที่ประเทศบาห์เรนเป็นสะพาน ข้ามทะเลระยะยาว 25 กิโลเมตร เชื่อมระหว่างประเทศบาห์เรน และซาอุดีอาระเบีย เปิดใช้ตั้งแต่ พ . ศ . 2529 ( ค . ศ . 1986) เป็นสะพานที่ค่าก่อสร้างแพงที่สุดแห่งหนึ่งของโลก และใช้เทคโนโลยีการก่อสร้าง ที่ได้รับการยืนยันว่า มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยมาก แต่สร้างประโยชน์ ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของบาห์เรน จนเป็นประเทศชั้นนำในตะวันออกกลาง
  • 22.  
  • 23.  
  • 24.  
  • 26.  
  • 27.  
  • 28.  
  • 29. ประเทศบาห์เรน & สุดยอดถนนมีจริงด้วย
  • 30.  
  • 31.  
  • 32.  
  • 33.  
  • 34.  
  • 35.  
  • 36. บรรณานุกรม มติชน . “ บาห์เรน , ” ประเทศบาห์เรน . 21 สิงหาคม พ . ศ . 2551.< http://www.nidambe11.net , www.kingfahdbinabdulaziz.com > 14 มกราคม พ . ศ . 2554
  • 37. จัดทำโดย นางสาว อุษณีย์ อุ่นทานนท์ เลขที่ 36 ชั้น ม .5/2