SlideShare a Scribd company logo
นาย พีรธรรม สาครมณีศักดิ์ ม.6/8 เลขที่ 24

เทคโนโลยี หมายถึง การนาความรู้ทางธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึง
วิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทางานหรือ
แก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่ง
องค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดารงชีวิต
ของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น
 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล บุคลากร และขั้นตอน
การปฏิบัติงาน
ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสาคัญ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์
รอบข้าง
ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นชุดคาสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางาน
ข้อมูล เป็นส่วนที่จะนาไปจัดเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์
บุคลากรเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เป็นสิ่งที่จะต้องเข้าใจเพื่อให้ทางานได้ถูกต้องเป็นระบบ

1. ช่วยให้ติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างสะดวกรวดเร็ว โดยใช้โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์
หรือในรูปของ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ
2. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจานวนมหาศาล ซึ่งผลิตออกมาในแต่ละวัน
3. ช่วยให้เก็บสารนิเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ครั้งแล้วครั้งเล่าอย่างสะดวก
4. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารนิเทศ เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร ด้วยการ
ช่วยคานวณตัวเลขที่ยุ่งยาก ซับซ้อนซึ่งไม่สามารถทาให้สาเร็จได้ด้วยมือ
5. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติเพื่อการเก็บ เรียกใช้และประมวลผลสารนิเทศ
6. สามารถจาลองแบบระบบการวางแผนและทานาย เพื่อทดลองกับสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น
7. อานวยความสะดวกในการเข้าถึงสารนิเทศดีกว่าสมัยก่อน ทาให้ผู้ใช้สารนิเทศมี
ทางเลือกที่ดีกว่า มีประสิทธิภาพกว่า และสามารถแข่งขันกับผู้อื่นได้ดีกว่า
8. ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและระยะทางระหว่างประเทศ

ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อพิจาณาเครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจาก
อดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่ม
จากวิทยุเรียกตัว (pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อความ มาเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์
สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดา
โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกงานสั้นๆ
โทรศัพท์บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคล (Personal Digital
Assistant : PDA) ซึ่งสามารถเชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบ
สัมผัส ทาให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมี อุปกรณ์สไตลัส (stylus) คือใช้
ปากกาป้อนข้อมูลทางหน้าจอ บางรุ่นสามารถสั่งการด้วยเสียง ตัวอย่างอุปกรณ์สื่อสารและ
สารสนเทศแบบพกพาในอนาคตอันใกล้ มนุษย์จะมีอุปกรณ์ที่ทันสมัยใช้กันมากขึ้น
นอกเหนือจากการพูดคุยแบบเห็นหน้าผ่านอินเทอร์เน็ต มนุษย์สามารถพูดคุยแบบเห็นหน้า
ผ่านทางโทรศัพท์มือถือ
 ทาให้สามารถติดต่อกันได้ด้วยค่าใช้จ่ายที่ถูกลง สามารถส่งข้อความ ภาพ และ
เสียง ได้โดยง่ายดาย สะดวกรวดเร็ว อีกทั้งยังค้นหาข้อมูลด้วยภาษาที่เป็น
ธรรมชาติมากขึ้นด้วยเว็บรุ่นที่สาม ( Web 3.0 ) แทนที่จะเป็นการใช้
คาหลักเหมือนดังที่ใช้ในปัจจุบัน ตัวอย่างการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบ
พกพารุ่นใหม่ ดังนั้น อุปกรณ์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน
อนาคตมีแนวโน้มเป็นดังนี้คือ มีขนาดเล็กลง พกพาได้ง่าย แต่มีประสิทธิภาพ
สูงขึ้น เช่น เก็บข้อมูลได้มากขึ้น ประมวลผลได้เร็วขึ้น ใช้งานได้หลากหลายมาก
ขึ้น โดยมีการผนวกอุปกรณ์หลายๆอย่างไว้ในเครื่องเดียว ( all-in-one )
สาคัญอุปกรณ์เหล่านี้ต้องใช้งานง่ายขึ้น รวมถึงสามารถสั่งงานด้วยเสียงได้
นอกจากนี้ ยังมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีขึ้น โดยอาศัยลายนิ้วมือหรือจอ
ม่านตา แทนการพิมพ์รหัสแบบในปัจจุบัน
 ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็นระบบที่
ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อตรงเพียงชุดเดียว ( stand alone ) ต่อมา
มีการเชื่อต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน
หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิดเป็นระบบรับและให้บริการ หรือเรียกว่าระบบรับ-
ให้บริการ ( client-server system ) โดยมีเครื่องให้บริการ ( server
) และเครื่องรับบริการ ( client )รูปที่ 1.26 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อ
ตรงเพียงชุดเดียว ( stand alone ) การให้บริการบนเว็บก็นาหลักการของ
ระบบรับ-ให้บริการมาใช้ช่วยให้การทางานง่าย สะดวกรวดเร็ว เพราะสามารถทางาน
จากที่ใดก็ได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยมีเว็บเซิร์ฟเวอร์ ( web server )
เป็นเครื่องให้บริการเมื่อการใช้งานอินเทอร์เน็ตเป็นไปอย่างแพร่หลาย การพัฒนา
ระบบเครือข่ายเพื่อให้ผู้ใช้สามารถสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้โดยตรง โดยที่
เครื่องให้บริการมีหน้าที่เพียงแค่เก็บตาแหน่งของเครื่องผู้ใช้งานที่มีข้อมูลนั้นๆอยู่
เพื่อให้เครื่องอื่นสามารถทราบที่อยู่ที่มีข้อมูลดังกล่าว และเข้าถึงข้อมูลนั้นได้ เรียก
ระบบแบบนี้ว่าเครือข่ายระดับเดียวกัน ( Peer-to-Peer
network:P2Pnetwork)
 1) ด้านสังคม
 สภาพเหมือนจริง การใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมดยงการทางานต่างๆ จนเกิดเป็น
สังคมผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือที่รู้จักกันว่า ไซเบอร์สเปซ ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ
ต่างๆ เช่น การพูดคุย การซื้อสินค้า การทางานผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ทาให้เกิดสภาพที่เหมือนจริง
การใช้เงินอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้พกเงินสดน้อยลงและเพิ่มความสะดวกสบายใน
การซื้อของด้วยบัตรที่มีลักษณะเป็นบัตรสมาร์ต หรือ สามร์ตการ์ด วึ่งบัตรเดียว
สามารถใช้กับธุรกรรมหลายประเภท
การได้รับเทคโนโลยีมากเกินไปวึ่งนาไปสู่ปัญหาสุขภาพ รวมถึงการทาลายสัม
พุนธภาพทางสังคม เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อน เป็นต้น
 2) ด้านเศรษฐกิจ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์ เพราะ
สามารถชมข่าว และรายการโทรทัศน์ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศ
ต่างๆได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันทีแต่ก่อนระบบเสรษฐกิจมีการจากัด
ภายในประเทส แต่ปัจจุบันก้กระจายเป็นเศรษฐกิจโลก ระบบเศรษฐกิจของทุก
ประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น
3) ด้านสิ่งแวดล้อม
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีประโยชน์ด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เช่น ระบบป้องกันการเวาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม นอกจากนี้รถยนต์
ที่ใช้เครื่องยนต์แบบผสม เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อควบคุมให้เครื่องยนตืลดกา
เผาไหม้น้ามันเชื้อเพลิง เป็นการลมลภาวะก๊าซไนดตรเจนออกไซด์ "ฮโดร
คาร์บอน และก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ ที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน
 นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer)
 ทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น
โปรแกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าโปรแกรมที่ใช้กับงานด้านบัญชี หรือ
โปรแกรมที่ใช้กับระบบงานขนาดใหญ่ขององค์กร
 นักวิเคราะห์ระบบ (System analyst)
 ทาหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์และ
พัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบจะทาการวิเคราะห์ระบบงานและ
ออกแบบระบบสารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งอาจรวมถึง
งานด้านการออกแบบฐานข้อมูลด้วย
 ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (Database administrator)
 ทาหน้าที่บริหารและจัดการฐานข้อมูล(Database)รวมถึงการออกแบบ
บารุงรักษาข้อมูล และการดูแลระบบความปลอดภัยของฐานข้อมูล เช่น การ
กาหนดบัญชีผู้ใช้ การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้
 ผู้ดูแลและบริหารระบบ (System administrator)
 ทาหน้าที่บริหารและจัดการระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร โดยดูแลการติดตั้ง
และบารุงรักษาระบบปฏิบัติการ การติดตั้งฮาร์ดแวร์ การติดตั้งและการ
ปรับปรุงซอฟต์แวร์ สร้าง ออกแบบและบารุงรักษาบัญชีผู้ใช้ สาหรับองค์กร
ขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ควบคุมระบบอาจต้องดูแลและบริหารระบบเครือข่ายด้วย
 นักเขียนเกม (Game maker)
 ทาหน้าที่เขียนหรือพัฒนาโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันนี้การเขียนเกม
คอมพิวเตอร์ เป็นอาชีพที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในประเทศไทย
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

More Related Content

What's hot

40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์วชรพล สาระศาลิน
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศsomdetpittayakom school
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
Thanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
Orapan Chamnan
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
กาญจนา อรอินทร์
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Krittin Piampricharat
 
ชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบ
ชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบ
ชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบThanadphon
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
ไพบูลย์ วงษ์ปาน
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
lovelovejung
 
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
Pairaya Armradid
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5hattayagif
 
คอม
คอมคอม
คอม
thidaporn uankam
 
มายเม็บปิ้งคอม กลุ่มพิมพ์ (1)
มายเม็บปิ้งคอม กลุ่มพิมพ์ (1)มายเม็บปิ้งคอม กลุ่มพิมพ์ (1)
มายเม็บปิ้งคอม กลุ่มพิมพ์ (1)Mint Za
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
Jaohjaaee
 

What's hot (16)

40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1ใบความรู้1.1
ใบความรู้1.1
 
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศหน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
หน่วยที่ 2 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Tec16
Tec16Tec16
Tec16
 
ชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบ
ชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบ
ชื่อ นายธเนศพล ไม่รู้จบ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
มายเม็บปิ้งคอม กลุ่มพิมพ์ (1)
มายเม็บปิ้งคอม กลุ่มพิมพ์ (1)มายเม็บปิ้งคอม กลุ่มพิมพ์ (1)
มายเม็บปิ้งคอม กลุ่มพิมพ์ (1)
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 

Viewers also liked

วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
น้ำ' เพชร
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงnarongsakday
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556chartphysic
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
Ta Lattapol
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
onrika1907
 
15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ
15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ
15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ
Wichai Likitponrak
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
Physics Lek
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
dnavaroj
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
ติวข้อสอบสสวทอวกาศดวงดาว ป3
ติวข้อสอบสสวทอวกาศดวงดาว ป3ติวข้อสอบสสวทอวกาศดวงดาว ป3
ติวข้อสอบสสวทอวกาศดวงดาว ป3
Wichai Likitponrak
 

Viewers also liked (12)

วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 1 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
 
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติบทที่ 4 ธรณีประวัติ
บทที่ 4 ธรณีประวัติ
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ
15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ
15ติวข้อสอบสสวทสุริยะ
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
ติวข้อสอบสสวทอวกาศดวงดาว ป3
ติวข้อสอบสสวทอวกาศดวงดาว ป3ติวข้อสอบสสวทอวกาศดวงดาว ป3
ติวข้อสอบสสวทอวกาศดวงดาว ป3
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfNattapon
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
Thanaporn Pengsri
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1airly2011
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศDuangsuwun Lasadang
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Chuan Fsk
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดelfinspiritap
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Kanatip Anuchit
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Mon Tanawat
 
Dss pp
Dss ppDss pp
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
Phutawan Murcielago
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
Mooktada Piwngam
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศTitima
 

Similar to เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (20)

บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdfบทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ.pdf
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
1
11
1
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
infomation
infomationinfomation
infomation
 
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิดตอนที่  1  พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
ตอนที่ 1 พิจารณาข้อความต่อไปนี้ว่าถูกหรือผิด
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

  • 2.  เทคโนโลยี หมายถึง การนาความรู้ทางธรรมชาติวิทยาและต่อเนื่องมาถึง วิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติและประยุกต์ใช้เพื่อช่วยในการทางานหรือ แก้ปัญหาต่าง ๆ อันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร แม้กระทั่ง องค์ความรู้นามธรรมเช่น ระบบหรือกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้การดารงชีวิต ของมนุษย์ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น
  • 3.  องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ข้อมูล บุคลากร และขั้นตอน การปฏิบัติงาน ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสาคัญ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ รอบข้าง ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นชุดคาสั่งที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางาน ข้อมูล เป็นส่วนที่จะนาไปจัดเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์ บุคลากรเป็นผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานคอมพิวเตอร์ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เป็นสิ่งที่จะต้องเข้าใจเพื่อให้ทางานได้ถูกต้องเป็นระบบ
  • 4.
  • 5.  1. ช่วยให้ติดต่อสื่อสารระหว่างกันอย่างสะดวกรวดเร็ว โดยใช้โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ หรือในรูปของ สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ 2. ช่วยในการจัดระบบข่าวสารจานวนมหาศาล ซึ่งผลิตออกมาในแต่ละวัน 3. ช่วยให้เก็บสารนิเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ครั้งแล้วครั้งเล่าอย่างสะดวก 4. ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารนิเทศ เช่น ช่วยนักวิทยาศาสตร์ วิศวกร ด้วยการ ช่วยคานวณตัวเลขที่ยุ่งยาก ซับซ้อนซึ่งไม่สามารถทาให้สาเร็จได้ด้วยมือ 5. ช่วยให้สามารถจัดระบบอัตโนมัติเพื่อการเก็บ เรียกใช้และประมวลผลสารนิเทศ 6. สามารถจาลองแบบระบบการวางแผนและทานาย เพื่อทดลองกับสิ่งที่ยังไม่เกิดขึ้น 7. อานวยความสะดวกในการเข้าถึงสารนิเทศดีกว่าสมัยก่อน ทาให้ผู้ใช้สารนิเทศมี ทางเลือกที่ดีกว่า มีประสิทธิภาพกว่า และสามารถแข่งขันกับผู้อื่นได้ดีกว่า 8. ลดอุปสรรคเกี่ยวกับเวลาและระยะทางระหว่างประเทศ
  • 6.  ด้านอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อพิจาณาเครือข่ายการสื่อสารทั่วไปจาก อดีตจนถึงปัจจุบัน เห็นได้ชัดว่ามนุษย์ใช้อุปกรณ์การสื่อสารแบบพกพามากขึ้นเรื่อยๆ เริ่ม จากวิทยุเรียกตัว (pager) ซึ่งเป็นเครื่องรับข้อความ มาเป็นโทรศัพท์เคลื่อนที่ อุปกรณ์ สื่อสารชนิดนี้ได้ถูกพัฒนาจนสามารถใช้งานด้านอื่นๆได้ นอกจากการพูดคุยธรรมดา โทรศัพท์เคลื่อนที่รุ่นใหม่สามารถใช้ถ่ายรูป ฟังเพลง ฟังวิทยุ ดูโทรทัศน์ บันทึกงานสั้นๆ โทรศัพท์บางรุ่นมีลักษณะเป็นเครื่องช่วยงานส่วนบุคคล (Personal Digital Assistant : PDA) ซึ่งสามารถเชื่อต่อกับอินเทอร์เน็ตได้ อีกทั้งยังมีหน้าจอแบบ สัมผัส ทาให้สะดวกต่อการใช้งานมากขึ้น บางรุ่นมี อุปกรณ์สไตลัส (stylus) คือใช้ ปากกาป้อนข้อมูลทางหน้าจอ บางรุ่นสามารถสั่งการด้วยเสียง ตัวอย่างอุปกรณ์สื่อสารและ สารสนเทศแบบพกพาในอนาคตอันใกล้ มนุษย์จะมีอุปกรณ์ที่ทันสมัยใช้กันมากขึ้น นอกเหนือจากการพูดคุยแบบเห็นหน้าผ่านอินเทอร์เน็ต มนุษย์สามารถพูดคุยแบบเห็นหน้า ผ่านทางโทรศัพท์มือถือ
  • 7.  ทาให้สามารถติดต่อกันได้ด้วยค่าใช้จ่ายที่ถูกลง สามารถส่งข้อความ ภาพ และ เสียง ได้โดยง่ายดาย สะดวกรวดเร็ว อีกทั้งยังค้นหาข้อมูลด้วยภาษาที่เป็น ธรรมชาติมากขึ้นด้วยเว็บรุ่นที่สาม ( Web 3.0 ) แทนที่จะเป็นการใช้ คาหลักเหมือนดังที่ใช้ในปัจจุบัน ตัวอย่างการใช้งานอุปกรณ์คอมพิวเตอร์แบบ พกพารุ่นใหม่ ดังนั้น อุปกรณ์สาหรับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารใน อนาคตมีแนวโน้มเป็นดังนี้คือ มีขนาดเล็กลง พกพาได้ง่าย แต่มีประสิทธิภาพ สูงขึ้น เช่น เก็บข้อมูลได้มากขึ้น ประมวลผลได้เร็วขึ้น ใช้งานได้หลากหลายมาก ขึ้น โดยมีการผนวกอุปกรณ์หลายๆอย่างไว้ในเครื่องเดียว ( all-in-one ) สาคัญอุปกรณ์เหล่านี้ต้องใช้งานง่ายขึ้น รวมถึงสามารถสั่งงานด้วยเสียงได้ นอกจากนี้ ยังมีระบบรักษาความปลอดภัยที่ดีขึ้น โดยอาศัยลายนิ้วมือหรือจอ ม่านตา แทนการพิมพ์รหัสแบบในปัจจุบัน
  • 8.  ด้านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในอดีตมักเป็นระบบที่ ใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อตรงเพียงชุดเดียว ( stand alone ) ต่อมา มีการเชื่อต่อคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันภายในองค์กร เพื่อทาให้สามารถใช้ข้อมูลร่วมกัน หรือใช้เครื่องพิมพ์ร่วมกัน จนเกิดเป็นระบบรับและให้บริการ หรือเรียกว่าระบบรับ- ให้บริการ ( client-server system ) โดยมีเครื่องให้บริการ ( server ) และเครื่องรับบริการ ( client )รูปที่ 1.26 คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อ ตรงเพียงชุดเดียว ( stand alone ) การให้บริการบนเว็บก็นาหลักการของ ระบบรับ-ให้บริการมาใช้ช่วยให้การทางานง่าย สะดวกรวดเร็ว เพราะสามารถทางาน จากที่ใดก็ได้โดยผ่านระบบอินเทอร์เน็ต โดยมีเว็บเซิร์ฟเวอร์ ( web server ) เป็นเครื่องให้บริการเมื่อการใช้งานอินเทอร์เน็ตเป็นไปอย่างแพร่หลาย การพัฒนา ระบบเครือข่ายเพื่อให้ผู้ใช้สามารถสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้โดยตรง โดยที่ เครื่องให้บริการมีหน้าที่เพียงแค่เก็บตาแหน่งของเครื่องผู้ใช้งานที่มีข้อมูลนั้นๆอยู่ เพื่อให้เครื่องอื่นสามารถทราบที่อยู่ที่มีข้อมูลดังกล่าว และเข้าถึงข้อมูลนั้นได้ เรียก ระบบแบบนี้ว่าเครือข่ายระดับเดียวกัน ( Peer-to-Peer network:P2Pnetwork)
  • 9.  1) ด้านสังคม  สภาพเหมือนจริง การใช้อินเตอร์เน็ตเชื่อมดยงการทางานต่างๆ จนเกิดเป็น สังคมผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือที่รู้จักกันว่า ไซเบอร์สเปซ ซึ่งมีกิจกรรมต่างๆ ต่างๆ เช่น การพูดคุย การซื้อสินค้า การทางานผ่านทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทาให้เกิดสภาพที่เหมือนจริง การใช้เงินอิเล็กทรอนิกส์ ทาให้พกเงินสดน้อยลงและเพิ่มความสะดวกสบายใน การซื้อของด้วยบัตรที่มีลักษณะเป็นบัตรสมาร์ต หรือ สามร์ตการ์ด วึ่งบัตรเดียว สามารถใช้กับธุรกรรมหลายประเภท การได้รับเทคโนโลยีมากเกินไปวึ่งนาไปสู่ปัญหาสุขภาพ รวมถึงการทาลายสัม พุนธภาพทางสังคม เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อน เป็นต้น
  • 10.  2) ด้านเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส่งผลให้เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์ เพราะ สามารถชมข่าว และรายการโทรทัศน์ที่ส่งกระจายผ่านดาวเทียมของประเทศ ต่างๆได้ทั่วโลก สามารถรับรู้ข่าวสารได้ทันทีแต่ก่อนระบบเสรษฐกิจมีการจากัด ภายในประเทส แต่ปัจจุบันก้กระจายเป็นเศรษฐกิจโลก ระบบเศรษฐกิจของทุก ประเทศในโลกจึงเชื่อมโยงและผูกพันกันมากขึ้น 3) ด้านสิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมีประโยชน์ด้านธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น ระบบป้องกันการเวาะชายฝั่ง โดยใช้ภาพถ่ายดาวเทียม นอกจากนี้รถยนต์ ที่ใช้เครื่องยนต์แบบผสม เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อควบคุมให้เครื่องยนตืลดกา เผาไหม้น้ามันเชื้อเพลิง เป็นการลมลภาวะก๊าซไนดตรเจนออกไซด์ "ฮโดร คาร์บอน และก๊าซคาร์บอนมอนออกไซด์ ที่ทาให้เกิดภาวะโลกร้อน
  • 11.  นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์ (Programmer)  ทาหน้าที่ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในงานด้านต่างๆ เช่น โปรแกรมเกี่ยวกับการซื้อขายสินค้าโปรแกรมที่ใช้กับงานด้านบัญชี หรือ โปรแกรมที่ใช้กับระบบงานขนาดใหญ่ขององค์กร  นักวิเคราะห์ระบบ (System analyst)  ทาหน้าที่ในการศึกษาวิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์และ พัฒนาระบบสารสนเทศ นักวิเคราะห์ระบบจะทาการวิเคราะห์ระบบงานและ ออกแบบระบบสารสนเทศให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้งาน ซึ่งอาจรวมถึง งานด้านการออกแบบฐานข้อมูลด้วย
  • 12.  ผู้ดูแลและบริหารฐานข้อมูล (Database administrator)  ทาหน้าที่บริหารและจัดการฐานข้อมูล(Database)รวมถึงการออกแบบ บารุงรักษาข้อมูล และการดูแลระบบความปลอดภัยของฐานข้อมูล เช่น การ กาหนดบัญชีผู้ใช้ การกาหนดสิทธิ์ผู้ใช้  ผู้ดูแลและบริหารระบบ (System administrator)  ทาหน้าที่บริหารและจัดการระบบคอมพิวเตอร์ในองค์กร โดยดูแลการติดตั้ง และบารุงรักษาระบบปฏิบัติการ การติดตั้งฮาร์ดแวร์ การติดตั้งและการ ปรับปรุงซอฟต์แวร์ สร้าง ออกแบบและบารุงรักษาบัญชีผู้ใช้ สาหรับองค์กร ขนาดเล็กเจ้าหน้าที่ควบคุมระบบอาจต้องดูแลและบริหารระบบเครือข่ายด้วย  นักเขียนเกม (Game maker)  ทาหน้าที่เขียนหรือพัฒนาโปรแกรมเกมคอมพิวเตอร์ ในปัจจุบันนี้การเขียนเกม คอมพิวเตอร์ เป็นอาชีพที่ได้รับความนิยมอย่างสูงในประเทศไทย