SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
ระบบนิเวศแบบทุ่งหญ้า
ทุ่งหญ้ามีลักษณะเป็นที่ราบ มีอาณาเขต
กระจายทั่วไปในส่วนที่เป็นพื้นดินของโลก มีปริมาณ
นำ้าฝน 10-30 นิ้วต่อปี มีอัตราการระเหยสูงทำาให้
เกิดความแห้งแล้งเป็นครั้งคราว แบ่งเป็นทุ่งหญ้าเขต
อบอุ่น(Temperate grassland) เช่น ในทวีป
อเมริกาเหนือ และยุโรปตะวันตกที่เรียกทุ่งหญ้าว่า
แพรรี่(Prairie) รัสเซีย เรียกทุ่งหญ้าว่า สเตปส์
(Steppes) ฮังการีเรียกว่า พัสซา (Pustza) ทุ่งหญ้า
เขตร้อน(Tropical savanna grassland) อยู่ใน
อัฟริกาใต้และตอนเหนือของทวีป ออสเตรเลีย เรียก
ว่า ทุ่งหญ้าสะวันนา (Savanna) ทุ่งหญ้าสะวันนามี
ปริมาณนำ้าฝนสูงกว่าทุ่งหญ้า เขตอบอุ่น มีฝนตก
ประมาณ 40-60 นิ้วต่อปี นำ้าและไฟป่าเป็นปัจจัย
จำากัดของระบบนิเวศทุ่งหญ้า สิ่งมีชีวิตในทุ่งหญ้า
ต้องมีความทนทานต่อความแห้งแล้งและไฟป่าได้
อย่างดีจึงจะชีวิตรอดอยู่ได้
หญ้าจัดเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเด่นในทุ่งหญ้า มี
ความสูงของลำาต้นแตกต่างกันตามปริมาณฝนที่ตก
ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นมีความสูงตั้งแต่ 1.5 ฟุต จนถึง 8
ฟุต หญ้าเหล่านี้มีระบบรากหยั่งลึกมาก บางชนิดหยั่ง
ลึกถึง 6 ฟุต พืชอื่น ๆ ที่พบ ได้แก่ ฟอร์บ(Forb) ซึ่ง
เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง พืชอื่นเฉพาะที่ปรากฎในทุ่ง
หญ้าเขตร้อนไม่ปรากฎในทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นคือ ไม้
ยืนต้น ไม้ยืนต้นมีประปราย ขึ้นรวมเป็นกลุ่มบ้าง ขึ้น
เดี่ยวๆ บ้าง
สัตว์ในทุ่งหญ้ามีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก มีทั้ง
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนำ้ำนม สัตว์กีบ สัตว์แทะ สัตว์ในเขต
อบอุ่น ได้แก่ วัวไบสัน แอนทีโลป ม้ำลำย กระรอก
ส่วนในทุ่งหญ้ำเขตร้อน ได้แก่ แอนทีโลป ม้ำลำย
ควำยป่ำ แรด สิงโต สุนัขป่ำ ในออสเตรเลีย ได้แก่
จิงโจ้
ทุ่งหญ้ำเป็นแหล่งอำหำรที่ดีของสัตว์ มนุษย์
บุกรุกเข้ำไปทำำเกษตรกรรมในทุ่งหญ้ำ ด้วยกำรเพำะ
ปลูกธัญพืช และใช้ทุ่งหญ้ำเป็นที่เลี้ยงสัตว์ ถ้ำกำร
ปลูกธัญพืชและกำรใช้เป็นทุ่งเลี้ยงสัตว์ กระทำำกันจน
เกินขนำด (Over grazing) ย่อมมีผลให้ทุ่งหญ้ำ
เปลี่ยนสภำพจำกที่ชุ่มชื้นเป็นที่แห้งแล้งขึ้นทุกทีและ
เสียสมดุลของระบบนิเวศไปในที่สุด
ทุ่งหญ้ำสะวันนำ

More Related Content

Viewers also liked

ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4Puchida Saingchin
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือพัน พัน
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1 Fay Wanida
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมPinutchaya Nakchumroon
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1Green Greenz
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขต๊อบ แต๊บ
 
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้างSurasek Tikomrom
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 

Viewers also liked (20)

ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตม.4
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ประชากร
ประชากรประชากร
ประชากร
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
Biohmes55
Biohmes55Biohmes55
Biohmes55
 
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1 ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
ชีวะพื้นฐาน ม.4 เทอม 1
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 
กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 
8ปลา
8ปลา8ปลา
8ปลา
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4 กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัขเรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
เรื่องการสืบพันธ์ของสุนัข
 
7กระต่าย
7กระต่าย 7กระต่าย
7กระต่าย
 
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
 
5 หมู
5 หมู5 หมู
5 หมู
 
3แมว
3แมว3แมว
3แมว
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 

More from จันทร์จิรา ทนก่ำ (10)

ลักษณะของต้นกก1
ลักษณะของต้นกก1ลักษณะของต้นกก1
ลักษณะของต้นกก1
 
จุดเด่นของเสื่อกก1
จุดเด่นของเสื่อกก1จุดเด่นของเสื่อกก1
จุดเด่นของเสื่อกก1
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 
ประโยชน์ของเสื่อกก1
ประโยชน์ของเสื่อกก1ประโยชน์ของเสื่อกก1
ประโยชน์ของเสื่อกก1
 
รูปภาพ
รูปภาพรูปภาพ
รูปภาพ
 
แนวทางการอนุรักษ์1
แนวทางการอนุรักษ์1แนวทางการอนุรักษ์1
แนวทางการอนุรักษ์1
 
ลักษณะของต้นกก1
ลักษณะของต้นกก1ลักษณะของต้นกก1
ลักษณะของต้นกก1
 
หน้าแรก
หน้าแรกหน้าแรก
หน้าแรก
 
ต้นกก
ต้นกกต้นกก
ต้นกก
 
ระบบนิเวศป่าดิบชื้นบนภูเขา
ระบบนิเวศป่าดิบชื้นบนภูเขาระบบนิเวศป่าดิบชื้นบนภูเขา
ระบบนิเวศป่าดิบชื้นบนภูเขา
 

ระบบนิเวศแบบทุ่งหญ้า

  • 1. ระบบนิเวศแบบทุ่งหญ้า ทุ่งหญ้ามีลักษณะเป็นที่ราบ มีอาณาเขต กระจายทั่วไปในส่วนที่เป็นพื้นดินของโลก มีปริมาณ นำ้าฝน 10-30 นิ้วต่อปี มีอัตราการระเหยสูงทำาให้ เกิดความแห้งแล้งเป็นครั้งคราว แบ่งเป็นทุ่งหญ้าเขต อบอุ่น(Temperate grassland) เช่น ในทวีป อเมริกาเหนือ และยุโรปตะวันตกที่เรียกทุ่งหญ้าว่า แพรรี่(Prairie) รัสเซีย เรียกทุ่งหญ้าว่า สเตปส์ (Steppes) ฮังการีเรียกว่า พัสซา (Pustza) ทุ่งหญ้า เขตร้อน(Tropical savanna grassland) อยู่ใน อัฟริกาใต้และตอนเหนือของทวีป ออสเตรเลีย เรียก ว่า ทุ่งหญ้าสะวันนา (Savanna) ทุ่งหญ้าสะวันนามี ปริมาณนำ้าฝนสูงกว่าทุ่งหญ้า เขตอบอุ่น มีฝนตก ประมาณ 40-60 นิ้วต่อปี นำ้าและไฟป่าเป็นปัจจัย จำากัดของระบบนิเวศทุ่งหญ้า สิ่งมีชีวิตในทุ่งหญ้า ต้องมีความทนทานต่อความแห้งแล้งและไฟป่าได้ อย่างดีจึงจะชีวิตรอดอยู่ได้ หญ้าจัดเป็นสิ่งมีชีวิตชนิดเด่นในทุ่งหญ้า มี ความสูงของลำาต้นแตกต่างกันตามปริมาณฝนที่ตก ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นมีความสูงตั้งแต่ 1.5 ฟุต จนถึง 8 ฟุต หญ้าเหล่านี้มีระบบรากหยั่งลึกมาก บางชนิดหยั่ง ลึกถึง 6 ฟุต พืชอื่น ๆ ที่พบ ได้แก่ ฟอร์บ(Forb) ซึ่ง เป็นพืชล้มลุกชนิดหนึ่ง พืชอื่นเฉพาะที่ปรากฎในทุ่ง หญ้าเขตร้อนไม่ปรากฎในทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นคือ ไม้ ยืนต้น ไม้ยืนต้นมีประปราย ขึ้นรวมเป็นกลุ่มบ้าง ขึ้น เดี่ยวๆ บ้าง สัตว์ในทุ่งหญ้ามีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก มีทั้ง
  • 2. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนำ้ำนม สัตว์กีบ สัตว์แทะ สัตว์ในเขต อบอุ่น ได้แก่ วัวไบสัน แอนทีโลป ม้ำลำย กระรอก ส่วนในทุ่งหญ้ำเขตร้อน ได้แก่ แอนทีโลป ม้ำลำย ควำยป่ำ แรด สิงโต สุนัขป่ำ ในออสเตรเลีย ได้แก่ จิงโจ้ ทุ่งหญ้ำเป็นแหล่งอำหำรที่ดีของสัตว์ มนุษย์ บุกรุกเข้ำไปทำำเกษตรกรรมในทุ่งหญ้ำ ด้วยกำรเพำะ ปลูกธัญพืช และใช้ทุ่งหญ้ำเป็นที่เลี้ยงสัตว์ ถ้ำกำร ปลูกธัญพืชและกำรใช้เป็นทุ่งเลี้ยงสัตว์ กระทำำกันจน เกินขนำด (Over grazing) ย่อมมีผลให้ทุ่งหญ้ำ เปลี่ยนสภำพจำกที่ชุ่มชื้นเป็นที่แห้งแล้งขึ้นทุกทีและ เสียสมดุลของระบบนิเวศไปในที่สุด ทุ่งหญ้ำสะวันนำ