SlideShare a Scribd company logo
รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
โดย
นางอัจฉรา วงศ์อามาตย์ ครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม สพม.32 บุรีรัมย์
โครงสร้างรายวิชา
ที่ ชื่อหน่วย ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา
1 พื้นที่ผิวและ
ปริมาตร
ค 2.1 ม.3/1-
ม.3/4
ค 2.2 ม.3/1
ค 3.1 ม.3/1
ค 6.1 ม.1-
3/2,
ม.1-3/4 -
ม.1-3/5
ลักษณะและสมบัติของรูปเรขาคณิตสามมิติขึ้นอยู่กับ
ชนิดของรูปเรขาคณิตที่เป็นส่วนประกอบ การหาพื้นที่ผิว
ของรูปเรขาคณิตสามมิติใดๆ เป็นการหาพื้นที่ผิวทั้งหมด
ของรูปเรขาคณิตสามมิตินั้น สาหรับการหาปริมาตรของ
ปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม มีวิธีการ
หาที่แตกต่างกัน การนาความรู้เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ จาเป็นต้องมีความ
เข้าใจในเรื่องดังกล่าว การเปรียบเทียบหน่วยความจุหรือ
หน่วยปริมาตร ควรพิจารณาเปรียบเทียบจากหน่วยการ
วัดที่เป็นระบบเดียวกันสาหรับการบอกค่าประมาณของ
ปริมาณของสิ่งต่างๆ โดยไม่ได้วัดจริงและการใช้วิธีการ
ประมาณอย่างคร่าวๆ เพื่อลดความคลาดเคลื่อนอาจใช้
ความรู้ทางคณิตศาสตร์
17
ชั่วโมง
โครงสร้างรายวิชา(ต่อ)
ที่ ชื่อหน่วย ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา
2 กราฟของ
ความสัมพันธ์
เชิงเส้น
ค 4.2 ม.3/2
- ม.3/4
ค 6.1 ม.1-
3/1,
ม.1-3/4 -
ม.1-3/5
กราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณ
สองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น มีลักษณะ
เป็นเส้นตรง ส่วนหนึ่งของเส้นตรง หรือเป็น
จุดที่เรียงอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน และ
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรอาจมี
คาตอบเดียว มีหลายคาตอบ หรือไม่มี
คาตอบ โดยพิจารณาได้จากกราฟของ
สมการทั้งสองของระบบสมการเชิงเส้นสอง
ตัวแปรนั้นๆ
15
ชั่วโมง
โครงสร้างรายวิชา(ต่อ)
ที่ ชื่อหน่วย ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา
3 ระบบสมการ
เชิงเส้นสองตัว
แปร
ค 4.2 ม.3/4
-ม.3/5
ค 6.1 ม.1-
3/1,
ม.1-3/4 -
ม.1-3/5
การอ่านและแปลความหมายกราฟ
ของระบบสมการเชิงเส้น และการแก้
สมการเชิงเส้นสองตัวแปร สามารถ
นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์
ต่างๆ ในชีวิตประจาวันได้
14
ชั่วโมง
โครงสร้างรายวิชา(ต่อ)
ที่ ชื่อหน่วย ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา
4 ความคล้าย ค 3.2
ม.3/1
ค 6.1 ม.1-
3/2 - ม.1-
3/6
รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกันเป็นไปตาม
เงื่อนไขเกี่ยวกับขนาดของมุม และอัตราส่วน
ของความยาวของด้านที่สมนัยกัน ซึ่ง
สามารถนาสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้าย
ไปใช้ให้เหตุผลและแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้
14
ชั่วโมง

More Related Content

More from นางอัจฉรา วงศ์อามาตย์

CAI ดีกรีของจุดยอด
CAI ดีกรีของจุดยอดCAI ดีกรีของจุดยอด
CAI ดีกรีของจุดยอด
นางอัจฉรา วงศ์อามาตย์
 
Cai ดีกรีของจุดยอด
Cai ดีกรีของจุดยอดCai ดีกรีของจุดยอด
Cai ดีกรีของจุดยอด
นางอัจฉรา วงศ์อามาตย์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนางอัจฉรา วงศ์อามาตย์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตรหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตรนางอัจฉรา วงศ์อามาตย์
 
Math asean
Math aseanMath asean
ภาพทอดกฐินวัดสามขาพัฒนา ต.โนนเจริญ อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ 21ตค56
ภาพทอดกฐินวัดสามขาพัฒนา ต.โนนเจริญ อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ 21ตค56ภาพทอดกฐินวัดสามขาพัฒนา ต.โนนเจริญ อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ 21ตค56
ภาพทอดกฐินวัดสามขาพัฒนา ต.โนนเจริญ อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ 21ตค56นางอัจฉรา วงศ์อามาตย์
 
Father day 56
Father day 56Father day 56
ประวัติและข้อมูลทั่วไปของโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ Pdf
ประวัติและข้อมูลทั่วไปของโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ Pdfประวัติและข้อมูลทั่วไปของโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ Pdf
ประวัติและข้อมูลทั่วไปของโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ Pdfนางอัจฉรา วงศ์อามาตย์
 

More from นางอัจฉรา วงศ์อามาตย์ (20)

CAI ดีกรีของจุดยอด
CAI ดีกรีของจุดยอดCAI ดีกรีของจุดยอด
CAI ดีกรีของจุดยอด
 
Cai ดีกรีของจุดยอด
Cai ดีกรีของจุดยอดCai ดีกรีของจุดยอด
Cai ดีกรีของจุดยอด
 
เยี่ยมบ้านนักเรียน ปี2557
เยี่ยมบ้านนักเรียน ปี2557เยี่ยมบ้านนักเรียน ปี2557
เยี่ยมบ้านนักเรียน ปี2557
 
M&e m3 51
M&e m3 51M&e m3 51
M&e m3 51
 
Onet m3 52
Onet m3 52Onet m3 52
Onet m3 52
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ความคล้าย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 กราฟความสัมพันธ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 กราฟความสัมพันธ์หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 กราฟความสัมพันธ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 กราฟความสัมพันธ์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตรหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
พื้นที่ผิวของปริซึม
พื้นที่ผิวของปริซึมพื้นที่ผิวของปริซึม
พื้นที่ผิวของปริซึม
 
Asean Math
Asean MathAsean Math
Asean Math
 
Math asean
Math aseanMath asean
Math asean
 
Math asean
Math aseanMath asean
Math asean
 
ภาพทอดกฐินวัดสามขาพัฒนา ต.โนนเจริญ อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ 21ตค56
ภาพทอดกฐินวัดสามขาพัฒนา ต.โนนเจริญ อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ 21ตค56ภาพทอดกฐินวัดสามขาพัฒนา ต.โนนเจริญ อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ 21ตค56
ภาพทอดกฐินวัดสามขาพัฒนา ต.โนนเจริญ อ.บ้านกรวด จ.บุรีรัมย์ 21ตค56
 
Father day 56
Father day 56Father day 56
Father day 56
 
ข้อมูลบุคลากร และการบริหาร
ข้อมูลบุคลากร และการบริหารข้อมูลบุคลากร และการบริหาร
ข้อมูลบุคลากร และการบริหาร
 
ข้อมูลบุคลากร และการบริหาร
ข้อมูลบุคลากร และการบริหารข้อมูลบุคลากร และการบริหาร
ข้อมูลบุคลากร และการบริหาร
 
ข้อมูลบุคลากร และการบริหาร
ข้อมูลบุคลากร และการบริหารข้อมูลบุคลากร และการบริหาร
ข้อมูลบุคลากร และการบริหาร
 
ข้อมูลบุคลากร และการบริหาร
ข้อมูลบุคลากร และการบริหารข้อมูลบุคลากร และการบริหาร
ข้อมูลบุคลากร และการบริหาร
 
ประวัติและข้อมูลทั่วไปของโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ Pdf
ประวัติและข้อมูลทั่วไปของโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ Pdfประวัติและข้อมูลทั่วไปของโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ Pdf
ประวัติและข้อมูลทั่วไปของโรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ Pdf
 

คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.๓

  • 1. รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 โดย นางอัจฉรา วงศ์อามาตย์ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนโนนเจริญพิทยาคม สพม.32 บุรีรัมย์
  • 2. โครงสร้างรายวิชา ที่ ชื่อหน่วย ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา 1 พื้นที่ผิวและ ปริมาตร ค 2.1 ม.3/1- ม.3/4 ค 2.2 ม.3/1 ค 3.1 ม.3/1 ค 6.1 ม.1- 3/2, ม.1-3/4 - ม.1-3/5 ลักษณะและสมบัติของรูปเรขาคณิตสามมิติขึ้นอยู่กับ ชนิดของรูปเรขาคณิตที่เป็นส่วนประกอบ การหาพื้นที่ผิว ของรูปเรขาคณิตสามมิติใดๆ เป็นการหาพื้นที่ผิวทั้งหมด ของรูปเรขาคณิตสามมิตินั้น สาหรับการหาปริมาตรของ ปริซึม ทรงกระบอก พีระมิด กรวย และทรงกลม มีวิธีการ หาที่แตกต่างกัน การนาความรู้เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร ไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ จาเป็นต้องมีความ เข้าใจในเรื่องดังกล่าว การเปรียบเทียบหน่วยความจุหรือ หน่วยปริมาตร ควรพิจารณาเปรียบเทียบจากหน่วยการ วัดที่เป็นระบบเดียวกันสาหรับการบอกค่าประมาณของ ปริมาณของสิ่งต่างๆ โดยไม่ได้วัดจริงและการใช้วิธีการ ประมาณอย่างคร่าวๆ เพื่อลดความคลาดเคลื่อนอาจใช้ ความรู้ทางคณิตศาสตร์ 17 ชั่วโมง
  • 3. โครงสร้างรายวิชา(ต่อ) ที่ ชื่อหน่วย ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา 2 กราฟของ ความสัมพันธ์ เชิงเส้น ค 4.2 ม.3/2 - ม.3/4 ค 6.1 ม.1- 3/1, ม.1-3/4 - ม.1-3/5 กราฟแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างปริมาณ สองชุดที่มีความสัมพันธ์เชิงเส้น มีลักษณะ เป็นเส้นตรง ส่วนหนึ่งของเส้นตรง หรือเป็น จุดที่เรียงอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน และ ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรอาจมี คาตอบเดียว มีหลายคาตอบ หรือไม่มี คาตอบ โดยพิจารณาได้จากกราฟของ สมการทั้งสองของระบบสมการเชิงเส้นสอง ตัวแปรนั้นๆ 15 ชั่วโมง
  • 4. โครงสร้างรายวิชา(ต่อ) ที่ ชื่อหน่วย ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา 3 ระบบสมการ เชิงเส้นสองตัว แปร ค 4.2 ม.3/4 -ม.3/5 ค 6.1 ม.1- 3/1, ม.1-3/4 - ม.1-3/5 การอ่านและแปลความหมายกราฟ ของระบบสมการเชิงเส้น และการแก้ สมการเชิงเส้นสองตัวแปร สามารถ นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ ต่างๆ ในชีวิตประจาวันได้ 14 ชั่วโมง
  • 5. โครงสร้างรายวิชา(ต่อ) ที่ ชื่อหน่วย ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา 4 ความคล้าย ค 3.2 ม.3/1 ค 6.1 ม.1- 3/2 - ม.1- 3/6 รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่คล้ายกันเป็นไปตาม เงื่อนไขเกี่ยวกับขนาดของมุม และอัตราส่วน ของความยาวของด้านที่สมนัยกัน ซึ่ง สามารถนาสมบัติของรูปสามเหลี่ยมคล้าย ไปใช้ให้เหตุผลและแก้ปัญหาในชีวิตจริงได้ 14 ชั่วโมง