SlideShare a Scribd company logo
กลไกระดับอาเซียน
การประชุมสุดยอดอาเซียนหรือประชุมผู้นาอาเซียน (ASEAN Summit)
คณะมนตรีประสานงานอาเซียน (ASEAN Coordinating Council: ACC)
คณะมนตรีประชาคมการเมือง
และความมั่นคงอาเซียน
(APSC/SOM)
คณะมนตรีประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (AEC/SEOM)
คณะมนตรีประชาคมสังคม
และวัฒนธรรมอาเซียน
(ASCC/SOCA)
5
ความร่วมมือเฉพาะด้านระดับ
รัฐมนตรี และ
ระดับ จนท. อาวุโส
ความร่วมมือเฉพาะด้านระดับ
รัฐมนตรี และ
ระดับ จนท. อาวุโส
ความร่วมมือเฉพาะด้านระดับ
รัฐมนตรี และระดับ จนท.
อาวุโส 19 สาขาการประชุม
และ 2 กลไกสิทธิมนุษยชน
โดยมีสานักเลขาธิการอาเซียน (ASEAN Secretariat-ASEC) เป็นฝ่ายเลขาฯ
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASCC)
คุณลักษณะและองค์ประกอบของ ASCC
• เป็นประชาคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง
• เป็นสังคมที่รับผิดชอบ เอื้ออาทรและแบ่งปัน Caring and Sharing
Society
• ประชาชนมีคุณภาพชีวิต และได้รับสวัสดิการที่ดีขึ้น
• ประชาชนเข้าใจกัน เป็นเพื่อนบ้านที่ดีต่อกัน
• มีเอกภาพเป็นหนึ่งเดียวกันโดยใช้อัตลักษณ์ร่วมกัน
เป้ าหมายหลักA.การพัฒนามนุษย์
7เป้าหมาย61มาตรการ
B.การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
7เป้าหมาย94มาตรการ
C.สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม
3เป้าหมาย28มาตรการ
D.ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม
11เป้าหมาย98มาตรการ
E.การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
4เป้าหมาย50มาตรการ
F. การลดช่องว่างทางการพัฒนา
คณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASCC)
การประชุม รมต.
สาขาต่างๆ
การประชุม จนท.
อาวุโส สาขาต่างๆ
รวม 19 สาขา
โทรคมนาคม
และการสื่อสาร
A4 ส่งเสริม
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
(ไอซีที, ศธ.)
การศึกษา
A1 ให้ความสาคัญกับ
การศึกษา
(ศธ.)
A2 การลงทุนในการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์
(ศธ.)
แรงงาน
A3 ส่งเสริมการ
จ้างงานที่เหมาะสม
(ก.แรงงาน)
วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี
A5 การอานวย
ความสะดวกใน
การเข้าถึง
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีเชิง
ประยุกต์
(ก.วิทย์ฯ)
สวัสดิการสังคม
และการพัฒนา
A6 เสริมสร้าง
ทักษะในการ
ประกอบการสาหรับ
สตรี เยาวชน
ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
(พม., แรงงาน)
ข้าราชการพล
เรือน
A7 พัฒนา
สมรรถภาพของ
ระบบราชการ
(กพ., กพร.)
9
ขจัดความยากจน
และการพัฒนา
B1 การขจัด
ความยากจน
(มหาดไทย,
สศช.)
สวัสดิการสังคม
และการพัฒนา
B2 เครือข่ายความ
ปลอดภัยทางสังคม
และความคุ้มกันจาก
ผลกระทบด้านลบจาก
การรวมตัวอาเซียน
และโลกาภิวัตน์
(พม., แรงงาน,
สาธารณสุข, ก.คลัง)
มั่นคงและปลอดภัย
ทางอาหาร
B3. ส่งเสริม
ความมั่นคงและ
ความปลอดภัย
ด้านอาหาร
(ก.เกษตรฯ, ก.
สาธารณสุข)
สาธารณสุข
B4. การเข้าถึงการดูแล
สุขภาพและส่งเสริมการ
ดารงชีวิตที่มีสุขภาพ
(ก.สาธารณสุข)
B5. การเพิ่มศักยภาพในการควบคุมโรคติดต่อ
(ก.สาธารณสุข)
การจัดการภัยพิบัติ
B7. การสร้างรัฐที่พร้อมรับกับภัย
พิบัติและประชาคมที่ปลอดภัยยิ่งขึ้น
(กรมป้ องกันและบรรเทาสาธารณภัย,
กลาโหม, สาธารณสุข)
สวัสดิการสังคม
และการพัฒนา
C1. การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิและ
สวัสดิการสาหรับสตรี เด็ก ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
(พม. , ก. ยุติธรรม)
C3. ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจ
(พม., ก.คลัง, ก. พาณิชย์, สานักนายกฯ, กพ., ก.พ.ร.)
แรงงาน
C2. การคุ้มครองและ
ส่งเสริมสิทธิแรงงาน
โยกย้ายถิ่นฐาน
(ก. แรงงาน)
10
การเกษตรและป่าไม้
D11. ส่งเสริมการบริหาร
จัดการป่าไม้ที่ยั่งยืน
(เอสเอฟเอ็ม)
(ก. ทรัพยากรธรรมชาติฯ,
ก. เกษตรฯ)
11
สิ่งแวดล้อม
D1. การจัดการปัญหา
สิ่งแวดล้อมของโลก
(ก. ทรัพยากรธรรมชาติ)
D6. การทากงานประสานกันในเรื่อง
นโยบายด้านสิ่งแวดล้อมและฐานข้อมูล
(ก. ทรัพยากรธรรมชาติฯ)
D2. การจัดการและการ
ป้ องกันปัญหามลพิษทาง
สิ่งแวดล้อม ข้ามแดน
2.1 มลพิษหมอกควัน
ข้ามแดน
(ก.ทรัพยากรธรรมชาติ)
2.2 มลพิษจาก
ของเสียที่มีพิษ
ข้ามแดน
(ก.อุตสาหกรรม)
D7. ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรชายฝั่งและ
ทรัพยากรทางทะเลอย่างยั่งยืน
(ก. ทรัพยากรธรรมชาติฯ)
D3. ส่งเสริมการพัฒนาที่ยั่งยืนโดย
การศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมและการมี
ส่วนร่วมของประชาชน
(ก.ทรัพยากรธรรมชาติฯ,
ก.ศึกษาธิการ)
D8. ส่งเสริมการจัดการเกี่ยวกับการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง
ชีวภาพอย่างยั่งยืน
(ก. ทรัพยากรธรรมชาติ)
D4. ส่งเสริมเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อม (อีเอสที)
(ก.ทรัพยากรธรรมชาติฯ, ก. วิทย์ฯ)
D9. ส่งเสริมความยั่งยืนของทรัพยากรน้าจืด
(ก. ทรัพยากรธรรมชาติ)
D5. ส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการดารงชีวิตใน
เมืองต่างๆ ของอาเซียนและเขตเมือง
(ก. ทรัพยากรธรรมชาติฯ, กทม.)
D10. การตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงทางสภาพ
ภูมิอากาศและการจัดการต่อผลกระทบ
(ก. ทรัพยากรธรรมชาติ)
สารสนเทศ ศิลปะ
และวัฒนธรรม
E1. ส่งเสริมการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับ
อาเซียนและความรู้สึกของการเป็น
ประชาคม
(ก.ประชาสัมพันธ์, ก.วัฒนธรรม)
E2. การอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทาง
วัฒนธรรมของอาเซียน
(ก. วัฒนธรรม ก.การท่องเที่ยวและกีฬา)
E3. ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรม
และอุตสาหกรรม
(ก. วัฒนธรรม)
สวัสดิการสังคมและ
การพัฒนา
E4. การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน
(พม.)
12
13
E 1 ส่งเสริมการตระหนักรับรู้เกี่ยวกับอาเซียน และ
ความรู้สึกในการเป็นประชาคม
สร้างความรู้สึกเป็นเจ้าของ การรวมกันเป็น
เอกภาพท่ามกลางความหลากหลาย และส่งเสริม
ความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิกในเรื่อง
วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ ศาสนาและอารยธรรม
14
E 2 การอนุรักษ์และส่งเสริมมรดกทาง
วัฒนธรรมอาเซียน
ส่งเสริมการสงวนและอนุรักษ์มรดกทาง
วัฒนธรรมของอาเซียน
15
E 3 ส่งเสริมการสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรม
และอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม
ส่งเสริมอัตลักษณ์อาเซียนและการดารงอยู่ร่วมกัน
โดยสนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ทางวัฒนธรรม
และส่งเสริมความร่วมมือในอุตสาหกรรมฯ
16
E 4 การมีส่วนเกี่ยวข้องกับชุมชน
ปลูกฝังอัตลักษณ์อาเซียนและสร้างอาเซียนที่
มีประชาชนเป็นศูนย์กลางในการก่อตั้ง
ประชาคม โดยสนับสนุนทุกภาคส่วน
ให้มีส่วนร่วม
ลดช่องว่างการพัฒนา
(สศช., ก. คลัง)
17
การประชุม รมต./จนท.อาวุโส (19 สาขา )
ภายใต้ ASCC
 เทคโนโลยีสารสนเทศ (AMRI)  สาธารณสุข (AHMM)
 ยาเสพติด (ASOD) โทรคมนาคมและเทคโนโลยี (TELMIN)
 วัฒนธรรมและศิลปะ (AMCA)  เกษตรและป่าไม้ (AMAF)
 การศึกษา (ASED)  แรงงาน (ALMM)
 การประชุมภาคีตามข้อตกลงอาเซียนด้าน
มลพิษหมอกควันข้ามแดน (COP)
 การพัฒนาชนบทและการขจัดความยากจน
(AMRDPE)
 การจัดการภัยพิบัติ (AMMDM)  สวัสดิการสังคมและการพัฒนา(AMMSWD)
 สิ่งแวดล้อม (AMME)  เยาวชน (AMMY) สท.
 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (AMMST) ข้าราชการพลเรือน (ACCSM)
 การประชุมคณะกรรมการขับเคลื่อนระดับ
รัฐมนตรีของอนุภูมิภาคเพื่อขับเคลื่อนเรื่องมลพิษ
หมอกควันข้ามแดน (MSC)
 สตรี (AMMW) สค.
 สาขากีฬา (AMMS) 18
ผลกระทบเชิงบวก
ของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม
• เกิดความร่วมมือระดับภูมิภาคในประเด็นสาคัญต่าง ๆ เช่น การส่งเสริม
คุ้มครองสิทธิสตรี เด็ก ผู้พิการ, การแก้ไขปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ, การช่วยเหลือกันในยามที่ประเทศสมาชิกเกิดภัยพิบัติ
การกระชับสัมพันธ์และติดต่อกันของประชาชน ผ่านการท่องเที่ยว,
กิจกรรมแลกเปลี่ยนภายใต้ Sectoral Bodies ต่าง ๆ
• ข้อได้เปรียบเชิงภูมิศาสตร์ทาให้ไทยมีโอกาสเป็น Hub ในด้านต่าง ๆ เช่น
การศึกษา การรักษาทางการแพทย์ สปา
19
• ระบบคุ้มครองทางสังคมของไทยยังไม่ครอบคลุมถึงแรงงานนอกระบบ
รวมทั้งสมาชิกที่เป็นเด็ก
• ความสามารถภาษาอังกฤษที่ต่ากว่า ทาให้เกิดการเสียเปรียบในด้านการ
แข่งขันในเรื่องการหางาน การประกอบการ รวมถึงการเจรจาเพื่อรักษา
จุดยืนของไทย และผลประโยชน์ของประเทศ
• ปัญหาภัยคุกคามต่าง ๆ ที่เกิดจากการเคลื่อนย้ายแรงงาน เช่น โรคติดต่อ
ยาเสพติด การค้ามนุษย์
• ภาคบริการของไทย เช่น การศึกษา การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ อาจได้รับ
ผลกระทบจากประเทศที่มีกาลังทุนสูงกว่า
20
ผลกระทบเชิงลบ
ของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนด้านสังคมและวัฒนธรรม
Focal Point ของ ASCC
• คณะรัฐมนตรี มีมติเมื่อวันที่ 4 ตุลาคม 2554 รับทราบคาสั่ง
นายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2554 มอบหมายให้ พม. เป็น
หน่วยงานรับผิดชอบหลัก ทั้งในระดับหัวหน้าคณะผู้แทน และระดับ
เจ้าหน้าที่อาวุโส ของคณะมนตรีประชาคมสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียน (ASCC)
• นายกรัฐมนตรี ได้ลงนามในคาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนการ
เป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน เมื่อวันที่ 2 เมษายน
2555
ความคืบหน้าด้านการศึกษา
• ส่งเสริมให้มีการสอนวิชา ASEAN Studies ในทุกระดับ และ ศธ. ได้จัดทา
Source book on ASEAN เพื่อเป็นสื่อการเรียนการสอนสาหรับ ป. 1 - 6
• ศธ กาลังเร่งดาเนินการเกี่ยวกับการถ่ายโอนหน่วยกิตข้ามประเทศระดับ
มหาวิทยาลัย
• ไทยกาลังริเริ่มให้ทุนการศึกษาแก่ประเทศสมาชิกประเทศละ 5 ทุน จะเริ่ม
ดาเนินการในปีหน้า ที่จุฬามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ
มหาวิทยาลัยชินวัตร ในสาขาเศรษฐศาสตร์ กฎหมายระหว่างประเทศ และ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
ความคืบหน้าด้านแรงงาน
• มีความคืบหน้าในการจัดทามาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามโครงการ ASEAN
Guidelines on the Development of National Framework for Skills
Recognition Arrangement เช่น ไทยได้พัฒนามาตรฐานฝีมือแรงงานไป
แล้ว 22 สาขาอาชีพ
ความคืบหน้าด้านสาธารณสุข
• ให้ความสาคัญต่อความร่วมมือในการควบคุมโรคระบาดต่าง ๆ
• ให้ทุกวันที่ 15 มิถุนายนของปีเป็นวันไข้เลือดออกอาเซียน
• ออกปฏิญญาว่าด้วยเรื่องพันธกิจเรื่องเอดส์ (Zero new infections, Zero
Discrimination และ Zero AIDS-Related Deaths)
ความคืบหน้าด้านภัยพิบัติและสิ่งแวดล้อม
• เร่งรัดการให้สัตยาบันความตกลงของการจัดตั้ง AHA Centre
• ไทยเสนอให้อาเซียนใช้ประโยชน์จาก ICT เพื่อการพยากรณ์อากาศ การเตือน
ภัยล่วงหน้า และการกระจายข้อมูลให้ถึงชุมชนท้องถิ่น และให้มีเครือข่าย
บริหารจัดการน้าเพื่อป้ องกันอุทกภัยในอาเซียน
• เพิ่มความร่วมมือเพื่อแก้ปัญหาหมอกควัน โดยมีเป้ าหมายลดอัคคีภัยใน
บริเวณลุ่มน้าโขงให้เหลือน้อยกว่า 50,000 จุดในปี 2558
ความคืบหน้าด้านสิทธิ
• จัดตั้งคณะกรรมาธิการอาเซียนว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิสตรีและสิทธิ
เด็ก (ACWC)
• ประกาศทศวรรษเพื่อคนพิการอาเซียน
• อาเซียนได้ออกปฏิญญาว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิแรงงานข้ามชาติ แต่มี
ความก้าวหน้าช้ามากในการร่างกรอบตราสารฯ
• ยังคงมีประเด็นที่น่าเป็นห่วงสาหรับแรงงานต่างด้าวผิดกฎหมาย เนื่องจากกฎหมาย
ไทยยังครอบคลุมไม่ถึง และได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการศึกษาปัญหาเรื่องแรงงาน
ต่างด้าว
• อาเซียนต้องผลักดันให้กลไกสิทธิมนุษยชน กลไกที่ 3 คือ คณะกรรมาธิการอาเซียน
ว่าด้วยการคุ้มครองและส่งเสริมสิทธิแรงงานต่างด้าว
ผลกระทบเชิงบวก
ของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของ พม.
ประชาชน รวมถึงกลุ่มสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ได้รับการส่งเสริม
และคุ้มครองสิทธิ และได้รับสวัสดิการที่ดีขึ้นและทั่วถึงไม่น้อยกว่ามาตรฐาน
อาเซียน
เกิดความร่วมมือระดับภูมิภาคอาเซียน ในเรื่องการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิ
สาหรับกลุ่มเป้ าหมาย โดยเฉพาะสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ รวมทั้ง
การสนับสนุนทางด้านวิชาการและงบประมาณ
ชุมชนและภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดตั้งและขับเคลื่อนการเป็นประชาคม
สังคมและวัฒนธรรมอาเซียนควบคู่ไปกับการทางานของภาครัฐ
เป็นการขยายโอกาสให้ภาครัฐและภาคธุรกิจมีส่วนร่วมในการสร้างประชาคม
อาเซียนและร่วมรับผิดชอบต่อสังคม
ผลกระทบเชิงลบ
ของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนของ พม.
จานวนเด็กที่ต้องการการปกป้ องคุ้มครองเป็นพิเศษที่ยังไม่สามารถเข้าถึง
สิทธิด้านการศึกษาและสาธารณสุขจะมีมากขึ้น
ปัญหาเด็กถูกละเมิดทวีความรุนแรงและซับซ้อนมากขึ้นอันเนื่องมาจาก
ความอ่อนแอของสถาบันครอบครัว
สตรี เด็กและเยาวชน และผู้พิการบางกลุ่มยังเข้าไม่ถึงบริการของภาครัฐ
และขาดโอกาสในการพัฒนาศักยภาพเพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคม
อาเซียน
ยังขาดระบบการคุ้มครองทางสังคมสาหรับแรงงานและบุตรของแรงงงาน
นอกระบบ (ซึ่งจะมีจานวนมากขึ้นอันเกิดจากการรวมตัวของอาเซียน)
• ปัญหาความไม่ไว้วางใจจากประเทศเพื่อนบ้าน จากภูมิหลังทาง
ประวัติศาสตร์ และจากทัศนคติของคนไทยที่มีต่อประเทศเพื่อนบ้าน
• ความตระหนักในเรื่องประชาคมอาเซียนของข้าราชการ และประชาชนไทย
• การส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดตั้งและขับเคลื่อนการเป็น
ประชาคมอาเซียน
• การเตรียมบุคลากรของ พม. กับภารกิจในการเป็น Focal Point ของไทย
30
อุปสรรคและข้อท้าทาย

More Related Content

Similar to กลไกของอาเซียยน

ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558
Samran Narinya
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
vorravan
 
อาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียว
อาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียวอาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียว
อาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียว
Totsaporn Inthanin
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนSaran Yuwanna
 
10101910105956 11070716165858
10101910105956 1107071616585810101910105956 11070716165858
10101910105956 11070716165858kuoil
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียนKUJEAB
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall aseani_cavalry
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554TISA
 

Similar to กลไกของอาเซียยน (14)

ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558ประชาคมอาเซียน 2558
ประชาคมอาเซียน 2558
 
Pp suthad
Pp suthadPp suthad
Pp suthad
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
Asean...pongsak
Asean...pongsakAsean...pongsak
Asean...pongsak
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
อาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียว
อาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียวอาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียว
อาชีวะอาเซียนรวมเป็นหนึ่งเดียว
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
10101910105956 11070716165858
10101910105956 1107071616585810101910105956 11070716165858
10101910105956 11070716165858
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
 
ประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียนประเทศไทยกับอาเซียน
ประเทศไทยกับอาเซียน
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
 

กลไกของอาเซียยน