SlideShare a Scribd company logo
1
การปกครองในระบอบ
ประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุข
ดร.สุรพล กาญจนะจิตรา
รองปลัดกระทรวงมหาดไทย
2
นะจิตรา
ย
ฒนาชุมชนและส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น)
มิภาค
เทศไทย
าชการเกี่ยวกับการส่งเสริมและพัฒนาระบบ
ภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น
ลเรือนวิสามัญเกี่ยวกับการพัฒนาระบบบริหารทรัพยากรบุคคล
นิยม ) สาขาการปกครองจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ornell University )
Cornell University )
รปกครอง
งกันราชอาณาจักร
ศษ
มจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปริญญาโท เอก ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา
ที่สำาคัญ
ละเผยแพร่ กรมการพัฒนาชุมชน
และประเมินผล กรมการพัฒนาชุมชน
ฒนาชุมชน
มหาดไทย
- ผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรสงคราม
- ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร
- ผู้ว่าราชการจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
- หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
- ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ
( นายอารีย์ วงศ์อารยะ )
- ที่ปรึกษารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย
(พล.ต.ท.ธีรวุฒิ บุตรศรีภูมิ)
ตำาแหน่งทางวิชาการ
- อุปนายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฎพระนครศรีอยุธยา
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยสยาม
- กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสภามหาวิทยาลัยกรุงเทพ
- อาจารย์พิเศษประจำาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาว
รามคำาแหง มหาวิทยาลัยสยาม มหาวิทยาลัยราชภัฎพ
ศรีอยุธยา มหาวิทยาลัยราชภัฎบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
การบริการสังคม
- ที่ปรึกษาโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
-กรรมการบริหารมูลนิธิสวนสมเด็จพระศรีนครินทร์ ใน
ปถัมถ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
3
องค์ประกอบ
ของรัฐ1.ประชากร(Population)
2.ดินแดน(Territory)
3.รัฐบาล(Government)
4.อำานาจอธิปไตย(Sovereignty)
4
รูปแบบของ
รัฐ
1.รัฐเดี่ยว (Unitary
State)
2.สหพันธ์รัฐ (Federal
State)
5
หลักการจัดระเบียบ
บริหารราชการ
1. หลักการรวมอำานาจการปกครอง
(Centralization)2. หลักการแบ่งอำานาจการปกครอง
(Deconcentration)
3. หลักการกระจายอำานาจการ
ปกครอง (Decentralization)
6
การปกครองแบบ
ประชาธิปไตย
1.ระบบ
รัฐสภา(Parliamentary
system)
2.ระบบ
ประธานาธิบดี(Presidential
system)
3.ระบบกึ่งรัฐสภากึ่งประธานาธิบดี
(Semi Presidential System)
หลักการรวมอำานาจ
การปกครอง
1. กำาลังทหารและตำารวจขึ้น
ตรงต่อส่วนกลาง
2. อำานาจการวินิจฉัยสั่งการอยู่ที่
ส่วนกลาง
3. มีลำาดับขั้นการบังคับบัญชา
ของเจ้าหน้าที่
8
หลักการแบ่งอำานาจ
การปกครอง
1. ส่วนกลางเป็นผู้ใช้อำานาจแต่แบ่งมอบ
อำานาจให้ภูมิภาค
2. มีเจ้าหน้าที่เป็นตัวแทนของส่วนกลาง
ออกไปปฏิบัติหน้าที่
3. ส่วนกลางแบ่งและมอบอำานาจให้ส่วน
ภูมิภาค
9
หลักการกระจายอำานา
จการปกครอง
1. มีการจัดตั้งองค์กรขึ้น
2. มีการเลือกตั้งสภาท้องถิ่นและผู้
บริหารท้องถิ่น3. มีอำานาจอิสระในการปกครอง
ตนเอง4. มีงบประมาณและรายได้ของ
ตนเอง5. มีบุคลากรของตนเอง
10
การบริหารราชการแผ่น
ดินของไทย
1. ราชการบริหารส่วนกลาง ได้แก่
กระทรวง ทบวง กรม
2. ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ได้แก่
จังหวัด และอำาเภอ
3. ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น ได้แก่
อบจ. เทศบาล อบต. กทม. เมืองพัทยา
11
การปกครองสมัยสุโขทัยอยุธยาและ
สมัยรัตนโกสินทร์
สมัยสุโขทัย:เป็นการปกครองแบบครอบครัว
เพราะพลเมืองน้อยสมัยอยุธยา:
-แบ่งการปกครองออกเป็นส่วนกลาง
และส่วนหัวเมือง
-แบ่งอำานาจหน้าที่ในการปกครองออก
เป็น 2 ส่วน
-ฝ่ายทหารมีสมุหพระกลาโหมเป็น
หัวหน้า
12
การปกครองส่วนกลาง
(อยุธยา)
หน่วยงานปกครองส่วนกลางที่สำาคัญ
ที่สุดคือจัตุสดมภ์
1. กรมเมือง
2. กรมนา
3. กรมคลัง
4. กรมวัง
13
การปกครองส่วน
ภูมิภาคถือตามแบบอินเดียสุโขทัยต้องมีเมือง
หน้าด่าน 4 ทิศเหนือ - เมืองศรีสัชนาลัย
ใต้ - เมืองกำาแพงเพชร
ตะวันออก - เมืองสองแคว
ตะวันตก - เมืองสระหลวง(พิจิตร)
เหนือ - เมืองลพบุรี
ใต้ - พระประแดง
ตะวันออก - นครนายก
ตะวันตก - สุพรรณบุรี
อยุธ
ยา
14
พระราชกำาหนดออกในรัชการ
พระเจ้าท้ายสระ
(พ.ศ. 2270)
กำาหนดให้เจ้าเมืองและ
ข้าราชการหัวเมือง
ปฏิบัติ 15 ประการ
15
1. ถ้าไม่ส่งรายงานเข้ากรุงตามกำาหนดหรือไม่เดินทาง
เข้ากรุงต้องรับโทษ2. เจ้าเมืองต้องไม่ฉุดลูกสาวราษฎรข้าราชการทั่วไปสั่ง
ราษฎรตัดไม้ให้เจ้าเมือง
ได้แต่ถ้าให้คัดเพื่อประโยชน์ส่วนตัวเป็นผิด3. เจ้าเมืองต้องรักษาความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
4. เจ้าเมืองออกมาว่าความตัดสินต้องมียกกระบัตรทั้งคู่
5. ถ้ามีท้องตราไปจากเมืองหลวงเจ้าเมืองจะต้องเปิดต่อ
หน้ายกกระบัตร
6. เจ้าเมืองต้องตรวจค่ายคูเมือง กำาแพง และเขต
7. เจ้าเมืองและกรมการเมืองมีหน้าที่ทำาบัญชีคน
8. กรมการจะต้องดึงบัญชีช้างในเขตของตนว่ามีกี่โขลง
เป็นช้างพลายหรือ
16
9. เมื่อมีคนแปลกหน้าต้องรู้จักและเหตุที่มา
10. ข้าราชการในตำาแหน่งใดว่างประชุมกันตั้งขึ้นแทน
ได้แค่ทางกรุงต้อง
เห็นชอบและรักษาการจนกว่าทางกรุงจะตั้งขึ้นแทน11. คนประจำาป้อมค่ายให้กรมการคอยดูแลให้มีความ
สุขห้ามนำามาใช้ในกิจการใด12. เจ้าเมืองต้องดูแลข้าราชการให้ทำาหน้าที่ด้วยดี
13. หน้าที่ยกกระบัตรถ้าข้าราชการเบียดบังราษฎรให้
ยกกระบัตรสอบสวนถ้าจริง
ให้คืนทรัพย์ราษฎรพร้อมส่งคนทำาผิดเข้ากรุงถ้าคน
ทำาผิดเป็นเจ้าเมืองยัง
สอบสวนไม่ได้ต้องส่งเข้ากรุงถ้ายกกระบัตรผิดเอง
ให้เจ้าเมืองฟ้อง
14. ไพร่หลวง ไพร่สม เจ้าเมืองกรมการต้องทำาบัญชีไว้
ให้หมด15. ข้าราชการทุกคนต้องทำาหน้าที่รักษาความผาสุก
17
การปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน
ในสมัย ร.5
1.การปกครองส่วนกลางจัดตั้ง 12
กระทรวง
2.การปกครองส่วนภูมิภาคแบ่งเป็น มณฑล
เทศาภิบาล เมือง อำาเภอ ตำาบล หมู่บ้าน
3.การปกครองท้องถิ่นจัดตั้งสุขาภิบาลท่า
ฉลอมเป็นแห่งแรกเมื่อ พ.ศ. 2448
18
การเปลี่ยนแปลงการปกครอง
พ.ศ. 2475
เป็นการเปลี่ยนแปลงมาสู่ระบอบ
ประชาธิปไตยโดยมีพระมหา
กษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
19
รัฐธรรมนูญ
- เป็นกฎหมายสูงสุด
- เป็นกติกาในการปกครอง
ประเทศ
- ทุกฝ่ายจะต้องปฏิบัติตาม
20
สาระสำาคัญของการปกครองใน
ระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข
1. ความเป็นราชอาณาจักร (รัฐเดี่ยว)
2. มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย
3. อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
4. ใช้ระบบรัฐสภา
21
ราช
อาณาจักร(Kingdo
m)สมเด็จกรมพระยาดำารงราชานุภาพทรงให้
ความหมายว่าการกระทำาใดๆอันเกี่ยวเนื่อง
กับประเทศชาติและมหาชนต้องมีความ
ยำาเกรงและนึกถึงพระบุญญาบารมีของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเป็นอันดับแรก
เพราะพระองค์ท่านทรงเป็นปิยมหาราชที่เป็น
ทั้งความรักความหวงแหนและเกียรติของ
22
การปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย
• ยึดประชาชนมีส่วนร่วม
• มีการเลือกตั้งที่บริสุทธิ์
• คณะผู้บริหารมาจากประชาชน
ผ่านการเลือกตั้ง
23
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย พ.ศ. 2550
ประเทศไทยเป็นราช
อาณาจักรอันหนึ่ง
อันเดียวจะแบ่งแยกมิได้ (ม.1)
24
 ประเทศไทยมีการ
ปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็น
ประมุข (ม.2)
25
• อำานาจอธิปไตยเป็นของปวง
ชนชาวไทย พระมหากษัตริย์
ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้
อำานาจนั้นทางรัฐสภา คณะ
รัฐมนตรี และศาล ตาม
บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญนี้
(ม.3)
26
•องค์พระมหากษัตริย์ทรงดำารงอยู่
ในฐานะอัน
เป็นที่เคารพสักการะผู้ใดจะ
ละเมิดมิได้
•ผู้ใดจะกล่าวหาหรือฟ้องร้องพระ
มหากษัตริย์ในทางใดๆมิได้
27
•พระมหากษัตริย์ทรงดำารง
ตำาแหน่ง
จอมทัพไทย (ม.10)
28
ใช้ระบบรัฐสภา
(Parliamentary System)
•มีสภาที่มาจากการเลือกตั้งโดย
ประชาชน
•ฝ่ายบริหารมาจากสภา
•สภามีหน้าที่ออกกฎหมาย
•สภามีหน้าที่ตรวจสอบการ
ทำางานของฝ่ายบริหาร
29
โครงสร้างการปกครอง - การ
บริหาร
อำานาจอธิปไตย
การปกครอง
อำานาจบริหารอำานาจนิติบัญญัติ อำานาจตุลาการ
การบริหาร
ราชการบริหารส่วนกลาง
กระทรวง
กรม
ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
จังหวัด
อำาเภอ
ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
อบจ.
เทศบาล
อบต.
เมืองพัทยา/กทม.
30
วิวัฒนาการทางการเมืองการวิวัฒนาการทางการเมืองการ
ปกครองของไทยปกครองของไทย
• ระบบราชาธิปไตย
ตั้งแต่ยุคสุโขทัยอยุธยา และ
รัตนโกสินทร์ มีพระมหากษัตริย์
พระบรมวงศานุวงศ์ และเสนาอำามาตย์
เป็นหลัก และฐานคำ้าและขับเคลื่อน
31
วิวัฒนาการทางการเมืองการ
ปกครองของไทย (ต่อ)
• วันที่ 24 มิถุนายน 2475 มีการ
เปลี่ยนแปลงการปกครอง
ก่อการโดยบรรดาเสนาอำามาตย์ 99 คน
ซึ่งเรียกตัวเองว่าคณะราษฎร ครอบงำา
การเมืองการปกครองของไทย จนถึง ปี
2500 ก็หมดอำานาจ เมื่อจอมพล
ป.พิบูลย์สงคราม ถูกคณะรัฐประหารนำา
โดย จอมพล ส.ธนรัตน์ โค่นล้ม เมื่อวัน
32
วิวัฒนาการทางการเมืองการ
ปกครองของไทย (ต่อ)
• จอมพล ส.ธนรัตน์ ถึงแก่อนิจกรรมใน
ปี 2500
จอมพลถนอม และจอมพลประภาส
ครองอำานาจต่อมาจนถึง 16 ตุลาคม
2516 จึงถูกโค่นล้ม โดยขบวนนิสิต
นักศึกษา และชนชั้นกลาง
33
วิวัฒนาการทางการเมืองการ
ปกครองของไทย (ต่อ)
• พ.ศ. 2516 -2519 การสถาปนา
ระบอบประชาธิปไตย
ขบวนการนิสิต นักศึกษา ชนชั้น
กลาง เป็นพลังขับเคลื่อน
ดำารงอยู่ได้เพียง 3 ปี ก็ถูกล้มในวัน
ที่ 6 ตุลาคม 2519
34
วิวัฒนาการทางการเมืองการ
ปกครองของไทย (ต่อ)
• พ.ศ. 2520 – 2532 เป็นยุคของ ระบอบ
ประชาธิปไตยครึ่งใบ
• การขึ้นสู่อำานาจของคณะนายทหาร ซึ่ง
เรียกตัวเองว่า คณะปฏิวัติ
• ครองอำานาจโดยยอมให้มีพรรคการเมือง
ร่วมใช้อำานาจการเมืองด้วย
35
วิวัฒนาการทางการเมืองการ
ปกครองของไทย (ต่อ)
• พ.ศ. 2532 -2534 การสถาปนาระบอบ
ประชาธิปไตยเต็มใบ
• มีพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็นนายก
รัฐมนตรี
• ธนาธิปไตย เริ่มเฟื่องฟู
36
วิวัฒนาการทางการเมืองการ
ปกครองของไทย (ต่อ)
• 23 กุมภาพันธ์ 2534 การขึ้นสู่อำานาจ
ของนายทหาร ซึ่งเรียกตัวเองว่า รสช.
• พฤษภาคม 2535 ล้มลง โดยการลุกฮือ
ของประชาชน
37
วิวัฒนาการทางการเมืองการ
ปกครองของไทย (ต่อ)
• พ.ศ. 2535 – 2539 การสถาปนา
ระบอบประชาธิปไตยภายใต้รัฐบาล
ผสมที่อ่อนแอ
38
วิวัฒนาการทางการเมืองการ
ปกครองของไทย (ต่อ)
• การปฏิรูปการเมืองโดยรัฐธรรมนูญ ปี
2540
ขยายสิทธิเสรีภาพของประชาชน
และสถาปนาการปกครอง โดย
พรรคการเมืองพรรคเดียว
39
วิวัฒนาการทางการเมืองการ
ปกครองของไทย (ต่อ)
• พรรคฝ่ายค้านโจมตีการปกครองช่วงนี้ว่า
เป็น ระบอบเผด็จการรัฐสภา
• มีแนวร่วมประชาชน เพื่อประชาธิปไตย
ร่วมคัดค้าน พ.ต.ท.ทักษิณ จนนำาไปสู่การ
รัฐประหารอีกครั้ง เมื่อวันที่ 19 กันยายน
2549 ล้มรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
• มีการจัดตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญใหม่
ประกาศใช้เมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2550
เป็นฉบับที่ 18 ของไทย ทำาให้ประเทศไทย
เป็นประเทศที่ใช้รัฐธรรมนูญเปลืองที่สุดใน

More Related Content

Viewers also liked

รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นรัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นSupakij Paentong
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
koorimkhong
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการSaiiew
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยSaiiew
 
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ25465.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
กองพัน ตะวันแดง
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 

Viewers also liked (8)

3 เทศบาล
3 เทศบาล3 เทศบาล
3 เทศบาล
 
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่นรัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
รัฐกับการปกครองส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการบทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
บทที่ 1 แนวคิดหลักการของการบริหารราชการ
 
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทยบทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
บทที่ 2 วิวัฒนาการของการบริหารราชการไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ25465.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 

ลองทดสอบส่งไฟล์