SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ
การศึกษากระบวนการผลิต กิจกรรมเพิ่มมูลคา และตนทุนการผลิตรังไหมและ
เสนไหมอีรี่ในระดับฟารม
Production Process, Value-added Activities and Production Cost of Eri Silkworm
at Farm Level
โดยนายธํารงค เมฆโหรา และคณะ
ธันวาคม 2551
สัญญาเลขที่ PDG5120027
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ
การศึกษากระบวนการผลิต กิจกรรมเพิ่มมูลคา และตนทุนการผลิตรังไหมและ
เสนไหมอีรี่ในระดับฟารม
Production Process, Value-added Activities and Production Cost of Eri Silk Worm at
Farm Level
คณะผูวิจัย สังกัด
1. นายธํารงค เมฆโหรา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
2. นายปรเมศร อัศวเรืองพิภพ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
ชุดโครงการ
สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
(ความเห็นในรายงานนี้เปนของผูวิจัย สกว.ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป)
สรุปเสนอผูบริหาร
ไหมอีรี่จัดเปนนวัตกรรมใหม เกิดจากการคนพบหนอนไหมที่สามารถเลี้ยงดวยใบมันสําปะหลัง
และสามารถผลิตหนอนไหมและดักแดที่นําไปใชบริโภคเปนอาหารของคน และอาหารสัตว สวนเสนไหมที่
ไดจากการปนและสาวเสนใยจากรังไหมนํามาใชในการทอผาพื้นบาน และเมื่อมีการฟอกยอมและออกแบบ
ลวดลาย ผาที่เกิดจากไหมอีรี่สามารถสรางมูลคาเพิ่มไดอีกมาก การศึกษานี้ จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา
ระบบการจัดการฟารม กระบวนการผลิต โครงการตนทุนการผลิต และตนทุนการผลิตไหมอีรี่ ในระดับไรนา
และครัวเรือนเกษตรกร และเพื่อศึกษาทางเลือกในการใชประโยชนและการสรางมูลคาของดักแด รังไหม
และเสนไหม ผลการศึกษาพบวาการจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการเพาะเลี้ยง ปกติทําการเลี้ยงใน
บาน หรือมุมบาน (กรณีบานชั้นเดียว) และใตถุนบาน (กรณีบานสองชั้น) อุปกรณจําเปนในการเลี้ยง
ประกอบดวยกระดงที่ใชเลี้ยงหนอนไหมในวัย 1 ถึง 3 ชั้นเลี้ยงที่ตอเปนโครงไม ประมาณ 3 ชั้น กวาง 1.20
เมตร ยาว 3 เมตร มุงเขียวปูพื้นโครงไมเพื่อเปนที่อาศัยของหนอน เลี้ยงไดรุนละประมาณ 12-15 กิโลกรัม
การจัดการวัตถุดิบ วัตถุดิบหลักที่ใชในการเลี้ยงไดแกใบละหุงและมันสําปะหลัง โดยละหุงจะปลูกปะปนอยู
กับพื้นที่หลัก เชน ขาวโพด เปนตน และปลูกบริเวณริมรั้วบาน แลวเก็บใบมาเลี้ยง สวนมันสําปะหลัง สวน
ใหญเปนแปลงของตนเองและแปลงปลูกของเพื่อนบานที่อนุญาตใหผูเลี้ยงเก็บใบมันสําปะหลังมาเลี้ยงไหม
อีรี่โดยไมมีคาใชจาย โดยใบมันสําปะหลังและละหุงตองสด ผูเลี้ยงตองเก็บทุกวัน คาใชจายหลักจึงไดแกคา
เดินทางไปเก็บวัตถุดิบ ในสวนของการเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต การเลี้ยงในวัย 1 และ 2
ผูเลี้ยงใหอาหารนอย แตบอยครั้ง โดยคอยสังเกตเมื่ออาหารหมด ตองเติมทันที ในวัย 3 จะใหอาหาร 3 รอบ
เชา-เย็น-เที่ยงคืน หรือทุก 8 ชั่วโมง ในวัย 4 จะเพิ่มรอบการใหอาหารเปน 6 ชั่วโมงตอครั้ง และในวัยที่ 5
รอบการใหอาหารจะตองเต็มที่ประมาณ 3-4 ชั่วโมง ตอครั้ง การดูแลรักษา ในวัย 1 และ 2 ตัวหนอนจะถูก
เลี้ยงในกระดง ตั้งแตวัย 3 เปนตนไป จะเริ่มขยายลงสูชั้นเลี้ยง และในวัย 5 ตอนปลายกอนเขาดักแด
จะตองยายตัวหนอนจากสถานที่เลี้ยงเดิม ไปอยูในที่ใหม (เก็บเขาจอ) เพื่อใหหนอนไหมสรางรัง เขาดักแด
และเพื่อประโยชนในการรักษาความสะอาดของรังไหม เมื่อหนอนไหมสรางรังและเขาดักแดเรียบรอยแลว ผู
เลี้ยงจะนํารังไหมมาตัดแยกเอาตัวดักแดออกเพื่อจําหนายไปทําเปนอาหาร สวนรังไหมจะนําไปฟอก ตม
ลอกกาว แลวสาวเปนเสนดายตอไป ตนทุนการผลิตรังไหม ตนทุนการผลิตรังไหมตอการเลี้ยง 1 รอบ
ประกอบดวยตนทุนคงที่ ประมาณ 42 บาท ตนทุนผันแปร ไดแกคาแรงงานของตนเอง 561 บาท คา
เดินทาง 271 บาท และภาชนะ 5 บาท การแยกรังไหมและดักแดออกจากกัน ดวยอุปกรณกรรไกรและ
แรงงานคน 1 คน สามารถแยกรังและดักแดออกได 5 กิโลกรัมรังไหม ในเวลา 5 ชั่วโมง คิดเปนคาจางตัดรัง
ไหมกิโลกรัมละ 20 บาท การฟอกรังไหมดวยวิธีการพื้นบาน น้ําหนักรังไหม 1 กิโลกรัมสามารถฟอกเปนปุย
ไหมแหงได 7 ขีด สวนประกอบที่จําเปนในการฟอกรังไหม 1 กิโลกรัม ไดแกน้ํา (ลิตรละ 0.012-0.013 บาท)
-1-
โซดาแอส (ราคากิโลกรัม ราคา 45-70 บาท) สบูเหลว (ราคากิโลกรัม 45-70 บาท) น้ํายาปรับผานุม (ถุงละ
20 บาท) เชื้อเพลิงในการตม (หาจากธรรมชาติ ประเมินไมได) และแรงงาน (2 คนตอครั้ง) ดังนั้น ในการ
ฟอกรังไหม 1 กิโลกรัม จะเปนตนทุน 508.96 บาท การสาวไหมกระทําดวยเครื่องเอ็มซี ซึ่งพัฒนามาจาก
กลุมผูเลี้ยงฝายแกมไหมของมหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยปุยไหม 1 กิโลกรัม 1 คน ใชเวลาทําเสนวันละ 8
ชั่วโมง ไดเสนไหมเสนเล็กเฉลี่ย 0.1 กิโลกรัม หากเปนเสนใหญ 1 วัน จะไดเสนไหม 0.3 กิโลกรัม การทอผา
ผาคลุมไหลเปนผลิตภัณฑหลักของกลุมผูเลี้ยงไหมอีรี่ โดยปกติเสนยืนจะใชเสนดายที่ทําจากฝาย สวนเสน
พุงทําจากไหมอีรี่ ผาคลุม 1 ผืน ขนาดกวาง 8 นิ้ว ยาว 1.80 เมตร จะมีน้ําหนักประมาณ 0.3 กิโลกรัม คน
ทอ 1 คน จะทําได 3 ผืน ในเวลา 2 วัน แตหากเปนไหมอีรี่ลวน 1 คน จะทําไดวันละ 1 ผืน และจําหนายใน
ราคาสงผืนละ 500-700 บาท (ไหมอีรี่แกมฝาย) และ 800-1,000 บาท (ไหมอีรี่ลวน) ผลตอบแทนของการ
เลี้ยงไหมอีรี่รังสด 1 รุน น้ําหนัก 13.5 กิโลกรัม เปนเงินสด มีคาเทากับ 1,295 บาท และผลตอบแทนสุทธิ
เทากับ 734 บาท สวนมูลคาเพิ่มของแรงงานจากกิจกรรมการเลี้ยงไหมจากดักแดสูผลิตภัณฑ จํานวน 1
กิโลกรัม ประกอบดวยกิจกรรมการผลิตรังไหมและดักแด การฟอกรังไหมและผลิตเสนดาย และการผลิตผา
ไหมและผลิตภัณฑ มีมูลคาเทากับ 959 641 และ 1,100 บาท ตามลําดับ ปญหาในดานตาง ๆ ในการเลี้ยง
ไหมขณะนี้คือการจําหนายรังไหมที่ผูเลี้ยงตั้งราคาไวสูง อุตสาหกรรมไมสามารถเขามารับซื้อได การสื่อสาร
ของโครงการเนนไปสูการรับซื้อผลิตภัณฑคืนในราคาสูง และการแสวงหาแนวทางการตลาดเพื่อการใช
ประโยชนของตลาดระดับสูง ดังนั้น ในการจะผลักดันการเลี้ยงไหมอีรี่เขาสูอุตสาหกรรม จะตองคํานึงถึง
ความสามารถในการแขงขันกับการผลิตไหมหมอน และการนําเขาเสนไหมจากตางประเทศ การสรางความ
รับรูใหแกผูเลี้ยงเกี่ยวกับคุณคาที่แทจริงของไหมอีรี่ ที่ประกอบดวยทั้งสวนที่เปนดักแดที่มีคุณคาทาง
โภชนาการและความตองการของตลาด และในสวนที่เปนรังไหม ที่มีคุณสมบัติที่ดีกวาฝาย แตคุณภาพยัง
อยูในระดับปานกลาง ไมถึงระดับไหมคุณภาพสูง ประสิทธิภาพในการฟอกรังไหม และประสิทธิภาพการทํา
เสนดายที่รวดเร็ว และไดขนาดของเสนไหมตามที่ตองการ จากเครื่องมือสาวไหมที่โครงการใหการสนับสนุน
และมีโครงการนํารองทดสอบระบบการบริหารจัดการการผลิตและการตลาดในการนําไหมอีรี่เขาสู
อุตสาหกรรมเสนไหมตอไป
-2-
บทคัดยอ
การเลี้ยงไหมอีรี่สามารถทําไดในบาน มุมบาน และใตถุนบาน อุปกรณประกอบดวยกระดง ชั้น
เลี้ยงที่ตอเปนโครงไม ประมาณ 3 ชั้น กวาง 1.20 เมตร ยาว 3 เมตร มุงเขียวปูพื้นโครงไมเพื่อเปนที่อาศัย
ของหนอน เลี้ยงไดน้ําหนักรังสด (รังไหมและดักแด) รุนละประมาณ 12-15 กิโลกรัม การจัดการวัตถุดิบ ใช
ใบละหุงและมันสําปะหลังสด ผูเลี้ยงตองเก็บทุกวัน คาใชจายหลักจึงอยูที่คาเดินทางไปเก็บวัตถุดิบ การ
เลี้ยงและการดูแลงาย ผูเลี้ยงจะนํารังไหมมาตัดแยกเอาตัวดักแดออก เพื่อจําหนายไปทําเปนอาหาร สวนรัง
ไหมจะนําไปฟอก ตมลอกกาว แลวสาวเปนเสนดายตอไป ตนทุนการผลิตรังไหมตอการเลี้ยง 1 รุน
ประกอบดวยตนทุนคงที่ ประมาณ 42 บาท ตนทุนผันแปร 838 บาท การแยกรังไหมและดักแดออกจากกัน
ดวยอุปกรณกรรไกรและแรงงานคน 1 คน สามารถแยกรังและดักแดออกได 5 กิโลกรัมรังไหม ในเวลา 5
ชั่วโมง คิดเปนคาจางตัดรังไหมกิโลกรัมละ 20 บาท การฟอกรังไหมดวยวิธีการพื้นบาน น้ําหนักรังไหม 1
กิโลกรัม สามารถฟอกเปนปุยไหมแหงได 0.7 กิโลกรัม สวนประกอบที่จําเปนในการฟอกรังไหม 1 กิโลกรัม
ไดแกน้ํา โซดาแอส สบูเหลว แรงงาน และเชื้อเพลิง จะเปนตนทุน 508.96 บาท การสาวไหมของโครงการ
ดวยเครื่องเอ็มซี โดยปุยไหม 1 กิโลกรัม 1 คน ใชเวลาทําเสนวันละ 8 ชั่วโมง ไดเสนไหมเสนเล็กเฉลี่ย 0.1
กิโลกรัม หากเปนเสนใหญ 1 วัน จะไดเสน 0.3 กิโลกรัม การทอผา ผาคลุมไหลเปนผลิตภัณฑหลักของ
กลุมผูเลี้ยงไหมอีรี่ โดยปกติเสนยืนจะใชเสนดายที่ทําจากฝาย สวนเสนพุงทําจากไหมอีรี่ ผาคลุม 1 ผืน
ขนาดกวาง 8 นิ้ว ยาว 1.80 เมตร จะมีน้ําหนักประมาณ 3 ขีด คนทอ 1 คน จะทําได 3 ผืน ในเวลา 2 วัน แต
หากเปนไหมอีรี่ลวน 1 คน จะทําไดวันละ 1 ผืน และจําหนายในราคาสงผืนละ 500-700 บาท (ไหมอีรี่แกม
ฝาย) และ 800-1,000 บาท (ไหมอีรี่ลวน) ) ผลตอบแทนเงินสดและสุทธิของการเลี้ยงไหมอีรี่รังสด 1 รุน
น้ําหนัก 13.5 กิโลกรัม มีคาเทากับ 1,295 และ 734 บาท ตามลําดับ สวนมูลคาเพิ่มจากกิจกรรมการเลี้ยง
ไหมจากดักแดสูผลิตภัณฑ จํานวน 1 กิโลกรัม ประกอบดวยกิจกรรมการผลิตรังไหม การผลิตเสนดาย และ
การผลิตผาไหมและผลิตภัณฑ มีมูลคาเทากับ 959 641 และ 1,100 บาท ตามลําดับ ปญหาในดานตาง ๆ
ในการเลี้ยงไหมขณะนี้คือการจําหนายรังไหมที่ผูเลี้ยงตั้งราคาไวสูง อุตสาหกรรมไมสามารถเขามารับซื้อได
การสื่อสารของโครงการเนนไปสูการรับซื้อผลิตภัณฑคืนในราคาสูง และการแสวงหาแนวทางเพิ่มมูลคาใน
ตลาดระดับสูงจากสารสกัดจากไหมอีรี่ ดังนั้น ในการจะผลักดันการเลี้ยงไหมอีรี่เขาสูอุตสาหกรรม จะตอง
คํานึงถึงความสามารถในการแขงขันกับการผลิตไหมหมอน และการนําเขาเสนไหมจากตางประเทศ การ
สรางความรับรูใหแกผูเลี้ยงเกี่ยวกับคุณคาที่แทจริงของไหมอีรี่ ที่ประกอบดวยทั้งสวนที่เปนดักแดที่มีคุณคา
ทางโภชนาการและความตองการของตลาด และในสวนที่เปนรังไหม ที่มีคุณสมบัติที่ดีกวาฝาย แตคุณภาพ
ไมถึงระดับไหมคุณภาพสูง ประสิทธิภาพในการฟอกรังไหม และประสิทธิภาพการทําเสนดายที่รวดเร็ว และ
ไดขนาดของเสนไหมตามที่ตองการ จากเครื่องมือสาวไหมที่โครงการใหการสนับสนุน และมีโครงการนํารอง
การบริหารจัดการการผลิตและการตลาดในการนําไหมอีรี่เขาสูอุตสาหกรรมเสนไหมตอไป
-3-
Abstract
Eri silkworms fresh cocoon weigh 12-15 kilograms were able to rear in house,
house corner and area beneath the house using castor and cassava leaves within traditional
bamboo trays, three wood stories laid by green net and size of 1.20 meters width and 3.0
meters length. The fresh leaves had to be collected daily and thus the travelling to collect the
leave became the major cost of production. The rearing process of Eri silkworms was simple.
After having become cocoons, the farmers separated the pupae out off the cocoons for human
food purposes. The cocoons were boiled and spun with water, soda ash and mild liquid soap
to produce fibres. Then, the fibres were reeled by hand and simple machine to produce yarn.
For one generation of cocoon production, the cost consisted of fixed cost 42 baht and variable
costs 880 baht. The cost of cocoon separation was 20 baht per kilogram. And the cost fibre
production was 508.96 baht per kilogram. For yarning, one labour (8 hours) with simple
machine (MC) was able to produce the small size of yard only 100 grams, or 300 grams for
the large size. For fabric production, the represented product was the scarf, size 8 niches
width and 1.80 metres length. One labour could produce scarf made of cotton mixed with
hand spun Eri yarn three pieces within two days and Eri scarf one piece a day. The wholesale
price of scarf made of cotton mixed with hand spun Eri yarn ranged from 500 to 700 baht per
piece, while the price of scarf made of whole Eri yarn ranged from 800 to 1,000 baht each.
The cash returns and net returns from rearing Eri silkworms one crop were 1,295 and 734
baht, respectively. The value added of labour from Eri silkworms to silk products (weight 1
kilogram) consisting of fresh cocoon rearing, yarn making and scarf making were 959, 641
and 1,100 bath, respectively. The major obstacles to steer the Eri silk into industrial sector
were to determine so high price of cocoons that the industry was not able to support, the
project communication to farmers with high expected return from Eri silk products, and
seeking the high market for the products extracted from the silkworms. In order to encourage
the Eri silk production into industry, the suggestions are as follows: the competitiveness with
two industries namely mulberry silk production and silk import must be considered.
Moreover, the awareness of producer concerning with the use of both Eri larva and pupa for
human food and cocoons with higher quality than cotton but medium level comparing to the
other kinds of silk must be acknowledged. In addition, the efficiency of fibre extraction from
the cocoons and yarning must be improved all aspects of cost, time and size. Finally, the pilot
project on Eri silk production and marketing towards industry should be operated before
promoting the large scale.
-4-
สารบัญเรื่อง
หนา
สรุปเสนอผูบริหาร -1-
บทคัดยอ -3-
Abstract -4-
สารบัญเรื่อง -5-
สารบัญตาราง -7-
สารบัญภาพ -8-
1. ความสําคัญของปญหา 1
2. วัตถุประสงคของการศึกษา 2
3. ขอบเขตการศึกษา 2
4. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 2
5. ผลการสํารวจตามกรอบตัวอยาง 3
5.1 จังหวัดกําแพงเพชร 3
5.2 จังหวัดนครสวรรค 4
5.3 จังหวัดอํานาจเจริญ 6
5.4 จังหวัดรอยเอ็ด 8
5.5 จังหวัดขอนแกน 9
5.6 จังหวัดพะเยา 10
5.7 จังหวัดเชียงใหม 12
5.8 จังหวัดอุทัยธานี 13
6. การจัดการโซอุปทานในการเลี้ยงไหมอีรี่ 15
6.1 การเลี้ยง 15
6.2 การแยกรังไหมและดักแด 17
6.3 การฟอกรังไหม 17
6.4 การสาวเสนดายจากไหมอีรี่ 18
6.5 การทอผา 18
6.6 ตนทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงไหมอีรี่รังสด 19
6.7 มูลคาเพิ่มของแรงงานจากกิจกรรมการเลี้ยงไหมอีรี่จากรังไหมสูผลิตภัณฑ 20
-5-
สารบัญเรื่อง (ตอ)
หนา
7. ปญหาในการเลี้ยงไหมอีรี่ 20
8. การสังเคราะหขอมูล 21
9. สรุปองคความรูและงานวิจัยในประเด็นตาง ๆ 22
10. สรุปและขอเสนอแนะ 24
10.1 สรุป 24
10.2 ประเด็นปญหา 25
10.3 ขอเสนอแนะ 26
บรรณานุกรม 27
ภาคผนวก 28
-6-
สารบัญตาราง
ตารางที่ หนา
1 ตนทุนการเลี้ยงไหมอีรี่เฉลี่ย 1 รุน 17
2 ตนทุนการฟอกรังไหมอีรี่เฉลี่ย 1 กิโลกรัม 18
3 ตนทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงไหมอีรี่เฉลี่ย 1 รุน (บาท) 19
4 มูลคาเพิ่มของกิจกรรมการผลิตรังไหมและผลิตผลิตภัณฑจากเสนไหม (บาทตอ
กิโลกรัม)
20
-7-
สารบัญภาพ
ภาพที่ หนา
1 โรงเลี้ยงไหมอีรี่ที่จังหวัดเชียงใหม 29
2 ชั้นและอุปกรณการเลี้ยงงาย ๆ ในบานพัก จังหวัดอุทัยธานี 29
3 เครื่องสาวไหมดวยมือ จังหวัดกําแพงเพชร 30
4 เครื่องสาวไหมพวงดวยลอจักรยาน จังหวัดกําแพงเพชร 30
5 เครื่องและการสาวไหมพวงดวยลอจักรยาน จังหวัดกําแพงเพชร (ตอ) 31
6 เครื่องและการสาวไหมพวงดวยลอจักรยาน จังหวัดกําแพงเพชร (ตอ) 31
7 เสนไหมอีรี่ฝมือชาวบานจังหวัดกําแพงเพชร 32
8 เสนไหมอีรี่ฝมือชาวบานจังหวัดอุทัยธานี 32
9 เสนไหมอีรี่ฝมือชาวบานจังหวัดเชียงใหม 33
10 ผลิตภัณฑเสื้อจากไหมอีรี่ ผีมือชาวบานจังหวัดกําแพงเพชร 33
11 ผลิตภัณฑจากไหมอีรี่ ผีมือชาวบานจังหวัดกําแพงเพชร 34
12 ผลิตภัณฑจากไหมอีรี่ ผีมือชาวบานจังหวัดเชียงใหม 34
13 ผลิตภัณฑจากไหมอีรี่ ผีมือชาวบานจังหวัดเชียงใหม 35
14 ผลิตภัณฑจากไหมอีรี่ ผีมือชาวบานจังหวัดอุทัยธานี 35
-8-
1
การศึกษากระบวนการผลิต กิจกรรมเพิ่มมูลคา และตนทุนการผลิตรังไหมและ
เสนไหมอีรี่ในระดับฟารม
Production Process, Value-added Activities and Production Cost of Eri Silkworm at
Farm Level
1. ความสําคัญของปญหา
ไหมอีรี่จัดเปนนวัตกรรมใหม เกิดจากการคนพบหนอนไหมที่สามารถเลี้ยงดวยใบมันสําปะหลัง
และสามารถผลิตหนอนไหมและดักแดที่นําไปใชบริโภคเปนอาหารของคน อาหารสัตว และสารสกัดที่เปน
ประโยชนตอมนุษยดวยสารตอตานอนุมูลอิสระ และสารเสริมสุขภาพความงาม ในสวนของรังไหม สามารถ
นํามาผลิตเสนไหมที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัว เสนไหมที่ไดจากการปนและสาวเสนใยนํามาใชในการทอผา
พื้นบาน และเมื่อมีการฟอกยอมและออกแบบลวดลาย ผาที่เกิดจากไหมอีรี่สามารถสรางมูลคาเพิ่มไดอีก
มาก ซึ่งหากพัฒนาตอไปอาจนําเสนไหมเขาสูอุตสาหกรรมการทําเสนยืนใหเกษตรกร และผลิตผาใน
โรงงานทอผา นอกจากนี้ เศษของรังไหมสามารถนําไปแปรรูปเปนกาวไหม เซริซิน โปรตีนไฮโดรไลเสท ได
อีก ประกอบกับอาหารของตัวหนอน คือ ใบมันสําปะหลัง ตองการความสะอาด ปราศจากสารเคมีที่เปนพิษ
การปลูกมันสําปะหลังเพื่อใชใบมาเลี้ยงตัวหนอน จะชวยลดการใชสารพิษในการปลูกมันสําปะหลังดวย
มันสําปะหลัง เปนพืชเศรษฐกิจที่ปลูกงาย มูลคาในอดีตไมสูงนัก เนื่องจากการใชประโยชนจํากัด
เฉพาะอาหารสัตวและการแปรสภาพเปนแปงมันสําปะหลังเพื่อสงออก แตในชวงปพ.ศ. 2550-2551 ที่ผาน
มา มูลคาของมันสําปะหลังไดเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากสามารถนําไปผลิตพลังงานทดแทน ทําใหราคาหัวมัน
สําปะหลังสดเพิ่มขึ้นกวาเทาตัว หลายฝายจึงคาดการณวาพื้นที่ปลูกจะขยายเพิ่มขึ้นในอนาคต และนับเปน
โอกาสดีของฐานทรัพยากรในการนํามาผลิตไหมอีรี่ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการปลูกมันสําปะหลังหนาแนน
ในการเลี้ยงไหมอี่รี่ดวยใบมันสําปะหลังนี้ สามารถนําใบจากตนมันสําปะหลังมาใชไดถึงรอยละ 30
โดยไมสงผลกระทบตอผลผลิตและคุณภาพของแปงในหัวมันสําปะหลัง นอกจากนี้ การเลี้ยงหนอนไหม
สามารถดําเนินการไดถึง 20,000 ตัว ตอพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง 2-5 ไร โดยใชเวลาเพียง 45 วัน ไดผลผลิต
เปนรังไหม 3-5 กิโลกรัม และดักแด 24 กิโลกรัม มีมูลคารวมกันประมาณ 2,500 บาท ซึ่งภายในเวลา 1 ป
สามารถเลี้ยงไดถึง 6-8 ครั้ง แตการสรางความเขาใจที่ถูกตองถึงคุณคาและประโยชนของไหมอีรี่แกผูที่
เกี่ยวของในการกําหนดนโยบายและเกษตรกร จําเปนตองจัดทําฐานขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการผลิต
กิจกรรมการสรางมูลคา ตนทุนการผลิต และการสรางประโยชนในระดับไรนาและทองถิ่น ควบคูไปกับการ
วิจัยในดานการพัฒนาการเลี้ยง การผลิตไหมในเชิงการคา การตลาด และการกําหนดมาตรฐานและ
ออกแบบผลิตภัณฑ ดังนั้น จึงสมควรดําเนินการศึกษากระบวนการผลิต กิจกรรมเพิ่มมูลคา และตนทุนการ
ผลิตรังไหมและเสนไหมอีรี่ในระดับฟารม จากกลุมเกษตรกรที่ดําเนินการแลว เพื่อใชเปนฐานขอมูลสําหรับ
การขยายโอกาสตอไปในพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังอื่น
2
2. วัตถุประสงคของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาระบบการจัดการฟารม กระบวนการผลิต โครงการตนทุนการผลิต และตนทุนการ
ผลิตไหมอีรี่ ในระดับไรนาและครัวเรือนเกษตรกร
2. เพื่อศึกษาทางเลือกในการใชประโยชนและการสรางมูลคาของดักแด รังไหม และเสนไหม
3. ขอบเขตการศึกษา
1. พื้นที่เปาหมาย ภาคเหนือไดแกจังหวัดเชียงใหม ลําพูน และพะเยา ภาคกลางตอนบน ไดแก
จังหวัดอุทัยธานี และนครสวรรค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไดแกจังหวัดขอนแกน ชัยภูมิ อํานาจเจริญ และ
รอยเอ็ด
2. เนื้อหาของการศึกษา ประกอบดวย
-กระบวนการและกิจกรรมการผลิต ไดแกการจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการ
เพาะเลี้ยง การเตรียมไข หนอนไหม การจัดการวัตถุดิบ การเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต
-ตนทุนการผลิตรังไหม ประกอบดวยตนทุนคงที่ประกอบดวยคาโรงเรือน คาเสื่อมราคา
สิ่งกอสราง และคาใชที่ดิน และตนทุนผันแปร ประกอบดวยคาซอมแซมสิ่งกอสรางและอุปกรณการเลี้ยง
คาอุปกรณสิ้นเปลือง คาไขไหม คาแรงงานในการดูแลรักษาและจัดการวัตถุดิบ คาน้ํามันเชื้อเพลิง คา
วัตถุดิบที่ใช และคาใชจายอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในระหวางการดําเนินการผลิต
3. เนื้อหาทางเลือกในการใชประโยชนและการสรางมูลคาเพิ่ม ประกอบดวย
-ทางเลือกในการผลิตตัวออนหนอนไหมสูตลาดตาง ๆ พรอมการวิเคราะหตนทุนและ
ผลตอบแทนในสถานการณปจจุบัน
-ทางเลือกในการผลิตรังไหมสูตลาดตาง ๆ พรอมการวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนใน
สถานการณปจจุบัน
4. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
1. ฐานขอมูลกระบวนการผลิต กิจกรรมการเพิ่มมูลคา ตนทุนการผลิตรังไหม และการผลิตเสน
ไหม ในระดับไรนาและครัวเรือนเกษตรกร
2. ไดฐานขอมูลการใชประโยชนจากรังไหมและดักแดในระดับทองถิ่น
3. ไดขอเสนอแนะการพัฒนาไหมอีรี่สําหรับทางเลือกที่เปนอาชีพ (เสริม) และอุตสาหกรรม
3
5. ผลการสํารวจตามกรอบตัวอยาง
ในการศึกษาครั้งนี้ ไดกําหนดแนวทางการศึกษาโดยใชแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการโซอุปทาน ตั้งแต
กลุมผูเลี้ยงตนน้ํา จนถึงปลายน้ํา ศึกษากิจกรรมของแตละกลุม รวมถึงการวิเคราะหเชิงปริมาณเพื่อวัดผล
สําเร็จของการเพิ่มมูลคาของแตละกิจกรรมภายในโซอปุทาน แตเมื่อไดจัดเก็บขอมูลในภาคสนามจริง
พบวา ในทางปฏิบัติ
(1) เกษตรกรไมไดบันทึกขอมูลตาง ๆ ที่เกิดขึ้นไวอยางชัดเจน
(2) วัสดุอุปกรณที่ใชในการผลิตของกลุมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา เปนสิ่งของที่มีอยูและใช
งานในหลาย ๆ วัตถุประสงค โดยโรงเรือนเลี้ยงไหม ก็เปนโรงเรือนเกาที่สรางไวทําการเลี้ยงไหมบาน เครื่อง
ปนดาย มีอยูแลว หรือมีอยูที่สวนกลางของกลุม สวนเครื่องมือทอผา มีการใชรวมกันระหวางผาไหมกับผา
ฝาย จึงกลาวไดวา การจัดหาวัสดุอุปกรณการเลี้ยงมีความแตกตางกันมากระหวางกลุมที่เริ่มตนเลี้ยงใหม
กับกลุมที่มีอุปกรณที่มีอยูเดิม เชนเดียวกับการทอผา
(3) การเลี้ยงไหมอีรี่ การผลิตเสนดาย รวมถึงการทอผา อยูในรูปของกลุม โดยสมาชิกในกลุม
จัดเปนคนที่มีความขยันขันแข็ง โดยเฉพาะในกลุมจังหวัดอุทัยธานี นครสวรรค พะเยา และเชียงใหม ถึงแม
จะทําการประกอบการเกษตรหลัก (ปลูกมันสําปะหลัง ขาวโพด และออย) และมีแรงงานจํานวนนอยใน
ครัวเรือน แตยังทําการเลี้ยงไหมและทอผาเพื่อเปนรายไดเสริมกันอยางตอเนื่อง ดวยใจรักและเต็มใจที่จะ
ทํา
(4) คาใชจายที่เห็นไดชัดเจน คือ คาน้ํามันที่ใชกับพาหนะเพื่อเดินทางไปเก็บใบละหุง และหรือใบ
มันสําปะหลัง คาน้ํายาซักผา ผงซักฟอก หรือดางที่ใชในกระบวนการลอกกาว เทานั้น
ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้ จึงใชวิธีการประเมินในเชิงคุณภาพเปนหลัก โดยมีขอมูลในเชิงปริมาณ
สนับสนุน ดังนี้
5.1 จังหวัดกําแพงเพชร
กลุมตาง ๆ ไดรับการคัดเลือกใหเขารวมอบรมการเลี้ยงไหมอีรี่และทําเสนไหม เพื่อนําไป
พัฒนาการเลี้ยงและผลิตผาไหม โดยกลุมที่ไดรับการคัดเลือก มีพื้นฐานการทอผาฝายมากอน ผลการ
ดําเนินการ เปนดังนี้
(1) กลุมสตรีทอผาบานโนนใหญ ตําบลหนองทอง อําเภอไทรงาม ประธานกลุมฯไปอบรม
เพียงคนเดียวและไมไดดําเนินการขยายการเลี้ยงและผลิตเสนไหมตอ เพราะไมมีวัตถุดิบในการเลี้ยงไหม
เนื่องจากพื้นที่เปนนาขาวและมีทัศนคติที่ไมดีตอตัวหนอนเนื่องจากมีขนาดใหญและลักษณะนากลัว
วิธีการทําเสนไหมยุงยากและยังมีอาการแพตัวหนอนและรังไหมดวย อีกทั้งไมมั่นใจวาจะขายไดเพราะเดิม
เลี้ยงไหมบานอยูแลว จึงหันกลับไปทําการเลี้ยงไหมหมอนแทน
4
(2) กลุมสตรีทอผาบานลานกระดี่ ตําบลหนองทอง อําเภอไทรงาม ประธานกลุมฯไป
อบรมเพียงคนเดียวและไมไดดําเนินการขยายการเลี้ยงและผลิตเสนไหมตอ เหตุผลเชนเดียวกันกับกลุม
สตรีทอผาบานโนนใหญ เพราะวาหมูบานอยูติดกัน
(3) กลุมทอผาฝายสีธรรมชาติบานบอแกวพัฒนา ตําบลพานทอง อําเภอไทรงาม
ประธานกลุมฯไปอบรมเพียงคนเดียวและไมไดดําเนินการเลี้ยงและผลิตเสนไหมตอ เพราะไมมีวัตถุดิบใน
การเลี้ยงไหมเนื่องจากพื้นที่เปนนาขาวและไมมีการปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ แตประธานกลุมนั้นมี
ความสามารถในการทําเสนและทอผาจึงไดมีการดําเนินการในสวนนี้เพียงผูเดียว โดยไดรับการสนับสนุน
รังไหมและเครื่องปนดาย (MC) จากโครงการฯ เริ่มดําเนินการทําเสนและทอผาชวงตนป พ.ศ. 2551
สามารถทอผาสงไปใหทางโครงการฯจําหนายใหแลวจํานวน 12 เมตร ในราคาเมตรละ 500 บาท โดยทอผา
มีขนาดความกวาง 1.2 เมตร ปจจุบันกลุมฯไมไดดําเนินการเกี่ยวกับไหมอีรี่แลว เนื่องจากมีความคิดเห็น
วาตลาดที่จะรับซื้อนั้นยังไมแนนอนและไมชัดเจน อีกทั้งวิธีการทําเสนดายเพื่อนําไปทอเปนผานั้นยุงยาก
หลายขั้นตอน เสนไหมที่ดึงเปนเสนดายมีขนาดใหญ เมื่อนํามาทําผลิตภัณฑจึงไมสวยงาม
(4) กลุมทอผาบานสุขสําราญ ตําบลคลองน้ําไหล อําเภอคลองลาน มีตัวแทนกลุมฯไป
รวมอบรม 2 คน เปนกลุมทอผาฝาย และไมมีประสบการณในเรื่องการเลี้ยงไหม แตในพื้นที่นั้นมีการปลูก
มันสําปะหลังเปนพืชหลัก เมื่อนําโครงการฯไปเสนอจึงมีความสนใจเขารวมในการฝกอบรม หลังจากอบรม
แลวไมไดดําเนินการขยายตอ เนื่องจากตัวแทนที่ไปอบรมนั้นไมยอมรับและมีทัศนคติที่ไมดีตอตัวหนอน
เพราะมีลักษณะนากลัว วิธีการทําเสนดายยุงยากและยังมีอาการแพ รวมถึงไมมีความมั่นใจวาจะสามารถ
ขายไดเพราะเปนของใหมที่ไมคอยมีคนรูจักมากนัก อีกทั้งยังมีราคาแพงดวย
(5) บานคลองใหญใต ตําบลคลองน้ําไหล อําเภอคลองลาน ไปอบรมแตไมไดดําเนินการ
ขยายโครงการฯ ตอ เนื่องจากในหมูบานมีการเลี้ยงไหมหมอนของบริษัทจุลไหมไทย จํากัด อยูแลว ซึ่งมี
ระบบการเลี้ยงที่สรางความมั่นใจใหแกผูเลี้ยงวาสามารถจําหนายผลผลิตไดแนนอน กลาวคือ บริษัท จุล
ไหมไทย จํากัดเปนผูจัดหาไขมาให แลวรับซื้อรังไหมกลับคืน ในราคาประกัน กิโลกรัมละ 130 บาท ในการ
เลี้ยงแตละครั้ง ผูเลี้ยงจะมีรายไดประมาณ 2,000-2,500 บาท แตถาเปลี่ยนมาเลี้ยงไหมอีรี่นั้นตองหาตลาด
เองและยังไมเปนที่รูจักมากนัก ตลาดก็ยังไมชัดเจน เกษตรกรจึงไมเลี้ยง
5.2 จังหวัดนครสวรรค
กลุมวิสาหกิจทอผาบานพนาสวรรค ตําบลแมเปน อําเภอแมเปน เปนกลุมที่มีการเลี้ยง
ไหมอีรี่แบบครบวงจรเพราะไดทุนสนับสนุนจาก สกว. การดําเนินการเลี้ยง ทําเสน และทอเปนผลิตภัณฑ
ชาวบานในชุมชนยอมรับและพอใจในการเลี้ยงไหมอีรี่
ประสบการณการเลี้ยงไหมอีรี่ของกลุมฯ มีการผลิตไขไหม และเพาะขยายพันธุไดเอง ทํา
การเลี้ยงไหมอีรี่ไดปละ 4-6 รอบ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพภูมิอากาศและปริมาณของใบมันสําปะหลัง สามารถ
5
ผลิตไขไหมไดครั้งละ 15-20 กรัม และจะไดจํานวนหนอนไหม 7,000-8,000 ตัว โดยในระยะหนอนไหมวัย 1
ถึงวัย 3 นั้นจะเลี้ยงดวยใบละหุง ทําใหหนอนแข็งแรงและโตเร็ว สวนในระยะวัย 4 และ 5 จะใชใบ
มันสําปะหลังเลี้ยงเพราะในชวงนี้หนอนกินมาก ใบละหุงมีไมพอ อีกทั้งรสชาติของดักแดไหมอีรี่จะไมขม จะ
ใชใบมันสําปะหลังในวัยนี้เฉลี่ยวันละ 50-80 กิโลกรัม โดยที่ตัวหนอนจะมีการพัฒนาในแตละวัย เฉลี่ยวัย
ละ 4 วัน ใชระยะเวลาในการเลี้ยงตั้งแตฟกเปนตัวหนอนจนตัวหนอนเขารัง ใชเวลา 18-22 วัน หากครบทั้ง
วงจรชีวิตจะใชเวลา 45 วัน ในการเลี้ยงแตละครั้ง รังไหมที่ยังไมไดตัดเอาดักแดออก เฉลี่ย 15 กิโลกรัมตอ
รอบการเลี้ยง (อัตราสวนของรังไหมที่ยังไมไดเอาดักแดออก 1 กิโลกรัม จะไดรังไหมเปลา 0.2 กิโลกรัม และ
เปนดักแด 0.8 กิโลกรัม) จะไดรังไหมเปลา 3 กิโลกรัม และดักแด 12 กิโลกรัม โดยเฉลี่ย
กระบวนการและกิจกรรมการผลิต
-การจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการเพาะเลี้ยง ปกติผูเลี้ยงจะทําการเลี้ยง
ในบาน หรือมุมบาน (กรณีบานชั้นเดียว) และใตถุนบาน (กรณีบานสองชั้น) อุปกรณที่ใชประกอบดวย
กระดงในวัย 1 ถึง 3 แลวตอดวยชั้นเลี้ยงที่ตอเปนโครงไม ประมาณ 3 ชั้น กวาง 1.20 เมตร ยาว 3 เมตร
รายละ 2 ชุด ซึ่งอุปกรณที่ตองจายเงินซื้อคือมุงเขียว ราคามวนละ 250 บาท กวาง 1.20 เมตร ยาว 12 เมตร
ใชจํานวน 2 มวน เลี้ยงไดรุนละประมาณ 12 กิโลกรัม
-การเตรียมไขไหม ผูเลี้ยงทําการเพาะพันธุเอง หากเก็บพันธุไมได หรือไขไมฟก จะ
ขอยืมจากเพื่อนบาน และหากตายหมด จะขอการสนับสนุนใหมจากโครงการ
-การจัดการวัตถุดิบ ผูเลี้ยงทําการปลูกละหุงบริเวณรั้วบาน สวนใบมันสําปะหลัง
เปนของตนเองที่ทําการปลูกในพื้นที่ไร
-การเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต ผูเลี้ยงทําการเลี้ยงดวยใบละหุงใน
วัย 1 2 และตนวัย 3 เนื่องจากตนละหุงมีนอย จากนั้น จึงเลี้ยงดวยใบมันสําปะหลัง ซึ่งจัดการเก็บจาก
แปลงปลูกของตนเอง เมื่อไดผลผลิตรังไหมแลว จะทําการตัดรังแยกเอาดักแดออก ไปจําหนายใหคนใน
หมูบาน สวนที่เปนรัง จะรวบรวมสงกลุมวิสาหกิจชุมชน
-ตนทุนการผลิตรังไหม ประกอบดวย
ตนทุนคงที่ประเมินไมได เนื่องจากผูเลี้ยงทําการเลี้ยงในบาน สวนมุงเขียว
ใชจํานวน 2 มวน ๆ ละ 250 บาท
ตนทุนผันแปร ประกอบดวยคาน้ํามันเชื้อเพลิงในการเดินทางไปเก็บในวัย
3 ถึง 5
การจัดการผลผลิตของกลุม
(1) ดักแด ผูเลี้ยงสามารถจําหนายสดไดภายในชุมชน ในราคา 80-100 บาทตอ
กิโลกรัม โดยปริมาณการผลิตไมเพียงพอตอความตองการ สวนการแปรรูปดักแดเพื่อบริโภคตองตมใหสุก
กอนและนําไปคั่วกับเกลือ หรือทําอาหารประเภทยํา และลาบ
6
(2) รังไหม รังมีคุณภาพปานกลาง กลุมจะนํามาทําเสนเองบางสวน สวนที่เหลือก็
จะจําหนายรังไหมไปใหโครงการฯ เพื่อสงตอไปใหกลุมอื่นในเครือขายฟอกและทําเสนตอไป ราคาในการ
จําหนายนั้นจะแบงออกเปน 2 แบบ ขึ้นอยูกับคุณภาพของรังไหม โดยรังไหมเกรด 1 ราคา 250-300 บาท
ตอกิโลกรัม (รังสะอาด ไมแฟบ ขนาดใหญ) เกรด 2 ราคา 200-250 บาทตอกิโลกรัม (ลักษณะรังมีคุณภาพ
ดอยกวาเกรด 1)
(3) การทําเสน โดยการฟอกลอกกาว ขั้นตอนโดยสรุปมีดังนี้ นํารังไหมไปแชน้ํา 1
คืน แลวนําไปตมกับดางและสบูเหลว จากนั้นลางน้ําเปลา 3 ครั้ง ขั้นตอไปนํารังไหมไปปนกับน้ํายาปรับผา
นุมดวยเครื่องซักผาจนรังไหมฟูดี แลวนําไปตากใหแหงจากนั้นจึงนําไปปนเสน เสนไหมที่ทําไดจะจําหนาย
ในราคากิโลกรัมละ 1,000 บาท
(4) การทอผา ผาที่ทอนั้นทอเปนผาคลุมไหล ผาเช็ดหนา และตามคําสั่งซื้อของ
โครงการฯ ราคาผาเช็ดหนา ชิ้นละ 100 บาท ผาคลุมไหล ชิ้นละ 700 บาท สงจําหนายใหโครงการฯ และ
กลุมฯไดเคยทําการพัฒนาตลาดดวยการนําสินคาและผลิตภัณฑมาออกรานในงานแสดงสินคาโอท็อปที่
เมืองทองธานีดวย ในระยะแรกของการรวมกลุมกันสามารถจําหนายผลิตภัณฑไดดี แตในปจจุบันการทํา
เสนและทอผาดําเนินการอยูเพียงคนเดียวและจะสงผลิตภัณฑจําหนายใหกับโครงการฯ สวนสมาชิกคนอื่น
จะขายเฉพาะรังไหมใหกับกลุมฯ ซึ่งกลุมฯจะดําเนินการผลิตผลิตภัณฑตามคําสั่งซื้อจากโครงการฯ
(5) เมื่อเริ่มกอตั้งกลุมฯ มีจํานวนคนเลี้ยงเพิ่มถึง 28 คน แตป พ.ศ. 2551
เศรษฐกิจไมดี ราคาผลผลิตการเกษตรดีขึ้น คนเลี้ยงหนาใหมหยุดการเลี้ยงชั่วคราว ณ เวลาของการศึกษา
ครั้งนี้ พบวามีผูเลี้ยงนอย การเลี้ยงวัย 1 ถึง 3 ใชใบละหุงทั้งหมด ตัวหนอนไหมจะอวน แข็งแรงดี วัย 4 และ
5 ใหกินใบ มันสําปะหลังเทานั้น เพราะหากใชใบละหุงจนกระทั่งเปนตัวดักแด เมื่อนําไปบริโภคจะมี
รสชาติขม ในการเลี้ยงจะใชเฉพาะใบมันสําปะหลัง ระยอง 5 (ใบใหญ กานแดง ไดดักแดที่มีรสชาติอรอย
และแข็งแรงที่สุด) ระยอง 9 และกําแพงแสน เทานั้น ผูเลี้ยงเคยประสบปญหาหนอนแหงตาย สังเกตพบวา
มาจากยากันยุง สวนการเลี้ยง ผูเลี้ยงดําเนินการในลักษณะแยกกันเลี้ยงตามบานพักอาศัยของตนเอง อายุ
ตั้งแตเริ่มฟกจากไขเปนหนอนจนสรางรัง 15-22 วัน วงจรชีวิตทั้งหมด 45 วัน เลี้ยงอยูบนชั้นที่ปูดวยมุง
เขียว
5.3 จังหวัดอํานาจเจริญ
(1) กลุมเลี้ยงไหมอีรี่บานปากอ ตําบลปากอ อําเภอชานุมาน สงสมาชิกไปอบรมการเลี้ยง
ไหมอีรี่ 8 คน ตั้งป พ.ศ. 2548 แลวกลับมาทําการเลี้ยงไดประมาณ 1 ปครึ่ง ในรูปของกลุม ไดผลผลิตครั้ง
ละ 40-50 กิโลกรัม ตอมาประสบปญหาตัวหนอนตายโดยไมทราบสาเหตุในระยะวัย 4 และ 5 แกไขไมได
จึงหยุดทําการผลิตไป
7
กระบวนการและกิจกรรมการผลิต
-การจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการเพาะเลี้ยง ปกติผูเลี้ยงทําการเลี้ยงใน
บาน หรือมุมบาน (กรณีบานชั้นเดียว) และใตถุนบาน (กรณีบานสองชั้น) อุปกรณที่ใชประกอบดวยกระดง
ในวัย 1 ถึง 3 แลวตอดวยชั้นเลี้ยงที่ตอเปนโครงไม ประมาณ 3 ชั้น กวาง 1.20 เมตร ยาว 3 เมตร รายละ 2
ชุด ซึ่งอุปกรณที่ตองจายเงินซื้อคือมุงเขียว ราคามวนละ 250 บาท กวาง 1.20 เมตร ยาว 12 เมตร ใช
จํานวน 2 มวน เลี้ยงไดรุนละประมาณ 12 กิโลกรัม
-การเตรียมไขไหม ในการเลี้ยงครั้งแรก ผูเลี้ยงทําการขอพันธุจากโครงการฯ
สําหรับการเลี้ยงรุนตอมา ผูเลี้ยงทําการเพาะพันธุเอง หากเก็บพันธุไมได หรือไขไมฟก จะขอยืมจากเพื่อน
บาน และหากตายหมด จะขอการสนับสนุนใหมจากโครงการ
-การจัดการวัตถุดิบ ผูเลี้ยงเก็บใบมันสําปะหลังจากแปลงของตนเองมาทําการ
เลี้ยง
-การเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต ผูเลี้ยงทําการเลี้ยงหนอนไหมดวย
ใบมันสําปะหลังตลอดวงจรชีวิต เมื่อไดผลผลิตรังไหมแลว จะทําการตัดรังแยกเอาดักแดออก ไปจําหนาย
ใหคนในหมูบาน สวนที่เปนรัง จะรวบรวมมารวมกันจัดการฟอก สาวเสนดาย และทอผาในรูปของกลุม
-ตนทุนการผลิตรังไหม ประกอบดวย
ตนทุนคงที่ใชมุงเขียวใชจํานวน 2 มวน ๆ ละ 250 บาท กระดง 3 ใบ สวน
รายการอื่นประเมินไมได เนื่องจากเปนการเลี้ยงในบาน
ตนทุนผันแปร ประกอบดวยคาน้ํามันเชื้อเพลิงในการเดินทางไปเก็บใบ
มันสําปะหลัง
การจัดการผลผลิตของกลุม
(1.1) ผลผลิตตัวดักแด ผูเลี้ยงสามารถจําหนายสดในชุมชน ภายหลังจากตัดรัง
และแยกตัวดักแดออกมาจําหนาย ไดราคากิโลกรัมละ 100 บาท โดยปริมาณผลผลิตยังไมเพียงพอกับ
ความตองการของตลาด
(1.2) รังไหม คุณภาพรังและเสนใยดี ขาวสะอาด โดยกลุมนํามาทําเสนดายเอง
อีกสวนหนึ่งนํามาทําดอกไมประดิษฐ
(1.3) การทําเสนดาย กรรมวิธีการฟอกรังไหม โดยสรุป นํารังไหมแชน้ําดาง 1
คืน แลวนํามาตม ลางน้ําจํานวน 3 ครั้ง ในการลางครั้งที่ 4 จะใสน้ํายาปรับผานุม ปนดวยเครื่องซักผาจนฟู
ดี แลวนํามาตากใหแหง กอนนําไปปนเปนดายอีกตอหนึ่ง
(1.4) การทอผา ทางกลุมสามารถนําดายมาทอเปนผาเมตร เคยจําหนายได
เมตรละ 300 บาท จําหนายใหโครงการฯ และชาวบานทั่วไป
8
(1.5) กลุมฯ หยุดทําการเลี้ยงไหมอีรี่ เนื่องจากปญหาดักแดตายในวัย 4-5 โดย
หาสาเหตุไมได ทั้ง ๆ ที่ในระยะแรกนาจะไปไดดี สมาชิกจึงหันไปประกอบอาชีพอื่นแทน (รับจางนอกพื้นที่)
ซึ่งมีรายไดดีกวาการเลี้ยงไหมอีรี่จากสวนที่เหลือจากการตาย
(2) กลุมทอผาพื้นบานอําเภอพนา ขอรวมไปอบรมกับกลุมอําเภอชานุมาน เดิมเลี้ยงไหม
จุลและจิมทอมสันป และเกิดปญหาในการเลี้ยง จึงขอไปดูงานแตยังไมตัดสินใจเลี้ยง เนื่องจากไมมีวัตถุดิบ
ในหมูบาน เพราะเปนพื้นที่นา
5.4 จังหวัดรอยเอ็ด
กลุมเลี้ยงไหมอีรี่บานใหมสามัคคี ตําบลหนองใหญ อําเภอโพนทอง เปนกลุมสงเสริมใหม
ที่โครงการฯ ยายฐานมาจากอําเภอชานุมาน จังหวัดอํานาจเจริญ เลี้ยงได 1 ป 4 รุน ทําการเลี้ยงแบบ
รวมกลุม จํานวนสมาชิก 9 คน ใชพื้นที่สาธารณะของหมูบานจํานวน 4 ไร ปลูกมันสําปะหลังเพื่อนําใบมา
ใชในการเลี้ยงหนอนไหมอีรี่ อุปกรณที่ใชเลี้ยงอยูในโรงเรือนทอเสื่อเดิม ประกอบดวยกระดงและจอ สมาชิก
คนใดตองการเลี้ยงใหมาดําเนินการ ณ สถานที่ตั้งกลุมฯ เลี้ยงไดรังไหมสดครั้งละ 50 กิโลกรัม
กระบวนการและกิจกรรมการผลิต
-การจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการเพาะเลี้ยง ผูเลี้ยงใชอาคาร
เอนกประสงคของหมูบาน อุปกรณที่ใชประกอบดวยกระดง 100 ใบ และชั้นเลี้ยงที่ตอเปนโครงไม ประมาณ
6 ชั้น กวาง 1.20 เมตร ยาว 3 เมตร รายละ 6 ชุด และจอจํานวน 50 ใบ ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากโครงการ
และการลงทุน 6,000 บาท ในรูปของกลุม
-การเตรียมไขหนอนไหม ผูเลี้ยงทําการเพาะพันธุเองในตะกรา 5 ใบ ฝาชีครอบ 5
ใบ
-การจัดการวัตถุดิบ ผูเลี้ยงดําเนินการปลูกมันสําปะหลังในรูปของกลุมฯ จํานวน
4 ไร หากวัตถุดิบไมเพียงพอ จะไปเก็บจากแปลงของสมาชิกในกลุมฯ
-การเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต ผูเลี้ยงดําเนินการเลี้ยงดวยใบ
มันสําปะหลังอยางเดียว สมาชิกจะจัดเวรกันในการเก็บใบมันฯ และดูแลการเลี้ยง เมื่อไดผลผลิตรังไหมแลว
จะทําการตมแลวสาวเสนไหม เหมือนการทําเสนไหมหมอน
-ตนทุนการผลิตรังไหม ประกอบดวย
ตนทุนคงที่ประกอบดวยชั้นเลี้ยง 6,000 บาท กระดง 5,000 บาท จอ
7,500 บาท ตะกราฟกไข 500 บาท ฝาชี 100 บาท
ตนทุนผันแปร ประกอบดวยคาน้ํามันเชื้อเพลิงในการเดินทางไปเก็บใบ
มันสําปะหลังตอ1 รอบการเลี้ยง ประมาณ 300 บาท
9
ประสบการณการเลี้ยง
(1) ผลผลิตตัวดักแด ดักแดที่ตมและสาวไหมแลว ผูเลี้ยงสามารถจําหนายใน
ชุมชน กิโลกรัมละ 100 บาท โดยปริมาณผลผลิตไมเพียงพอกับความตองการของตลาด
(2) รังไหม คุณภาพรังดี โดยกลุมฯ นํามาทําเสนดายเอง
(3) การทําเสนดาย ผูเลี้ยงใชกรรมวิธีการตมรังไหม โดยนํารังไหมตมในน้ํารอนจัด
มิฉะนั้น หากรังไหมจมจะสาวไหมไมได วิธีการสาวไหมนี้ใชวิธีการสาวไหมบานทั่วไป โดยตมทั้งรัง สาวได
เพียงวันละ 2 กิโลกรัมรังไหม จะไดเสนไหมเพียง 2 ขีด หลังจากนั้น จะดึงใยออกเขาเครื่องปนดายอีกครั้ง
หนึ่ง ซึ่งเครื่องปนดาย ไดรับการสนับสนุนใหยืมจากโครงการฯ วิธีการนี้ มีความยุงยากไมแตกตางจากการ
ตัดรังฟอก โดยราคาเสนไหมที่ขายได กิโลกรัมละ 1,000 บาท
(4) การทอผา ทางกลุมฯ สามารถนําดายมาทอเปนผาเมตร จําหนายไดเมตรละ
400 บาท จําหนายใหโครงการฯ โดยกลุมมีรายไดจากการขายผาแลวจํานวน 40 เมตร มูลคา 16,000 บาท
(5) กลุมฯ ชะลอการเลี้ยงไหมอีรี่ เนื่องจากการเลี้ยงในรุนหลัง ๆ มีปญหาดักแด
ตายในวัย 4 และ 5 โดยหาสาเหตุไมได แตสันนิษฐานวานาจะมาจากหลายปจจัย ไดแกอากาศรอน
สถานที่ไมเหมาะสม และอาคารไมมีอากาศถายเท ทั้ง ๆ ที่ผลการเลี้ยงในระยะแรกไดผลดี ปจจุบันสมาชิก
ที่เคยเลี้ยง ไดหันไปประกอบอาชีพอื่นแทน (ทอเสื่อขาย) ซึ่งมีรายไดดีกวาการเลี้ยงไหมอีรี่ จากผลผลิตที่
เหลือจากการตายพบวาใหรังไหมอยูในเกณฑคุณภาพดี แตมีปญหาใบมันสําปะหลังในแปลงปลูกไม
สมบูรณ ตองเก็บเพิ่มจากแปลงขางนอก
(6) สรุป กลุมผูเลี้ยงยังมีองคความรูในดานนี้ไมมากนัก ใชระบบการทํางานแบบ
กลุม โดยใครมาทํางาน จะมีสมุดบัญชีบันทึกการทํางาน ใชวิธีการเลี้ยงในกระดง เขาจอ ใชวิธีการสาวเสน
เหมือนไหมบาน แบบตมทั้งรัง ไมตองแยกตัวดักแดออกจากรังกอน อยางไรก็ตาม เมื่อโครงการฯ นํา
อุปกรณการสนับสนุนกลับ การเลี้ยงจึงชะลอไป
5.5 จังหวัดขอนแกน
กลุมเลี้ยงไหมอีรี่โสกนกเต็งพัฒนา สมาชิกเริ่มตนจํานวน 15 คน ปจจุบันเหลือทําจริง 5
คน จากสมาชิก 40-50 คน แบงเปน 5 กลุมยอย เพื่อเปนจุดถายทอดเทคโนโลยีใหผูสนใจไดมาเยี่ยมชมการ
ผลิตและกิจกรรมตาง ๆ ไดกระจายเต็มหมูบาน ปจจุบัน ทําเลี้ยงอยูที่เดียวกันคือบริเวณใตถุนบานประธาน
กลุม มีประสบการณการเลี้ยงมาแลวเปนเวลา 4 ป ปละ 3 ครั้ง เลี้ยงแบบกลุม ใชพันธุมันสําปะหลังทั่วไป
แตไมมีใบมันสําปะหลังตลอดป เนื่องจากมีการจัดทําแปลงปลูกมันสําปะหลังเฉพาะของกลุม จํานวน 10
ไร เลี้ยงรุนละ 15-20 กิโลกรัม เปนรังไหม 2-3 กิโลกรัม ดักแด 12 กิโลกรัม เพราะประสบปญหาไขฟกไม
เปนตัวเมื่อทําการเพาะฟกเอง เชนเดียวกับที่รอยเอ็ด ผูประสานงานโครงการที่มหาวิทยาลัยขอนแกนจึงสง
10
ตัวออนมาใหเลี้ยง แลวรับซื้อรังไหมพรอมดักแดระยะ 5 ไปจัดการเอง นอกจากนี้ ยังมีปญหาไหมวัย 4 และ
5 ตายในลักษณะตัวยุบ แหง สันนิษฐานวานาจะมาจากควันอาหาร
กระบวนการและกิจกรรมการผลิต
-การจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการเพาะเลี้ยง ผูเลี้ยงทําการเลี้ยงบริเวณ
ใตถุนบาน อุปกรณที่ใชในการเลี้ยง ประกอบดวยชั้นเลี้ยงที่ตอเปนโครงไม ประมาณ 3 ชั้น กวาง 1.20 เมตร
ยาว 3 เมตร จํานวน 3 หลัง มุงเขียว จํานวน 2 มวน จอ 10 ใบ ตาขายปองกันสัตวเลี้ยง 2 กิโลกรัม
-การเตรียมไขไหม กลุมผูเลี้ยงไดรับการสนับสนุนจากทีมวิจัย
มหาวิทยาลัยขอนแกน
-การจัดการวัตถุดิบ ผูเลี้ยงดําเนินการปลูกมันสําปะหลังในรูปของกลุมฯ จํานวน
10 ไร
-การเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต ผูเลี้ยงดําเนินการเลี้ยงดวยใบมัน
สําปะหลัง ซึ่งจัดการเก็บจากแปลงปลูกของกลุมฯ โดยกลุมฯ จะจัดเวรใหสมาชิกมาทําการเลี้ยง เมื่อได
ผลผลิตรังไหมแลว จะทําการตัดรังแยกเอาดักแดออกนํามาบริโภคในกลุมเปนหลัก สวนที่เปนรัง นํามาสาว
เสน และทอผา
-ตนทุนการผลิตรังไหม ประกอบดวย
ตนทุนคงที่ชั้นเลี้ยง 7,500 บาท มุงเขียว 500 บาท จอ 1,000 บาท อวน
220 บาท
ตนทุนผันแปร ประกอบดวยคาน้ํามันเชื้อเพลิงในการเดินทางไปเก็บใบ
มันสําปะหลัง ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร รุนละประมาณ 300 บาท
ประสบการณการเลี้ยง
(1) ผลผลิตตัวดักแด กลุมผูเลี้ยงสามารถจําหนายสดในชุมชน ภายหลังจากตัดรัง
และแยกตัวดักแดออกมา ไดกิโลกรัมละ 60 บาท และจําหนายตัวหนอนในวัย 5 กอนเขาจอ ในราคา
กิโลกรัมละ 80 บาท ผูซื้อนําไปบรรจุกระปองจําหนาย โดยปริมาณผลผลิตไมเพียงพอกับความตองการของ
ตลาด
(2) รังไหม คุณภาพรังดี โดยกลุมฯ นํามาทําเสนดายเอง
(3) การทําเสนดาย ผูเลี้ยงใชกรรมวิธีการตมลอกกาว เสนดายจําหนายให
โครงการฯ ในราคากิโลกรัมละ 650 บาท
(4) การทอผา ทางกลุมฯ สามารถนําดายมาทอเปนผาเมตร จําหนายไดเมตรละ
200 บาท และผาพันคอ กวาง 30 เซ็นติเมตร ยาว 1.8 เมตร ราคาผืนละ 120 บาท จําหนายใหโครงการฯ
11
(5) ปจจุบัน กลุมฯ ชะลอการเลี้ยงไหมอีรี่ เนื่องจากผลการเลี้ยงในรุนหลังมีปญหา
ดักแดเริ่มตายตั้งแตในวัย 3 โดยไมทราบสาเหตุ แตสันนิษฐานวานาจะมาจากสถานที่ไมเหมาะสม (ใตถุน
บาน) ที่มีสภาพการตั้งบานเรืองติดกันเปนกลุมใหญ
5.6 จังหวัดพะเยา
(1) กลุมผูเลี้ยงไหมอีรี่บานโซ มีผูเลี้ยงในปจจุบันจํานวน 5 ราย และมีการขยายไปเลี้ยงที่
บานหนองบัว ตําบลตา อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กลุมนี้ สามารถเลี้ยงไดประจํา และเลี้ยงติดตอกันโดย
ทําการเพาะไขไหมเอง ใชใบละหุงที่ปลูกไวเปนหลักในการเลี้ยง ไมมีการปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ ผลผลิต
แบงออกเปนสองสวน คือ ตัวดักแด และรังไหม การเลี้ยงแตละรุน ผูเลี้ยง 1 ราย จะไดผลผลิตประมาณ 20
กิโลกรัม จําแนกเปนดักแด 18 กิโลกรัม รังไหม 2 กิโลกรัม
กระบวนการและกิจกรรมการผลิต
-การจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการเพาะเลี้ยง ทําการเลี้ยงที่มุมบาน (กรณี
บานชั้นเดียว) และใตถุนบาน (กรณีบานสองชั้น) อุปกรณที่ใชประกอบดวยกระดง ชั้นเลี้ยงที่ตอเปนโครงไม
และมุงเขียว
-การเตรียมไขไหม ผูเลี้ยงไดรับไขไหมครั้งแรกจากโครงการฯ จากนั้นเก็บและ
เพาะพันธุเอง ซึ่งทําไดอยางตอเนื่อง เลี้ยงไดปละ 10 ครั้ง ตามรุนกัน
-การจัดการวัตถุดิบ ผูเลี้ยงปลูกละหุงบริเวณรั้วบานและในไร ไมมีการใชใบมัน
สําปะหลัง เนื่องจากไมไดปลูก
-การเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต ผูเลี้ยงดําเนินการเลี้ยงหนอนไหม
ดวยใบละหุงตลอดชวงการเลี้ยง ซึ่งจัดการเก็บจากแปลงปลูกของตนเอง เมื่อไดผลผลิตรังไหมแลว จะทํา
การตัดรังแยกเอาดักแดออกไปจําหนายใหคนในหมูบาน สวนที่เปนรัง จะรวบรวมเพื่อจําหนายใหโครงการฯ
ตอไป โดยเคยนํามาสาวเสนดายดวยวิธีการฟอกรังดวยตนเอง
-ตนทุนการผลิตรังไหม ประกอบดวย
ตนทุนคงที่ประเมินไมได เนื่องจากผูเลี้ยงทําเอง สวนมุงเขียวใชจํานวน 2
มวน ๆ ละ 250 บาท
ตนทุนผันแปร ประกอบดวยคาน้ํามันเชื้อเพลิงในการเดินทางไปเก็บใบละหุง
รุนละ 400 บาท (ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร)
ประสบการณกลุม
(1.1) ผลผลิตตัวดักแด ผูเลี้ยงสามารถจําหนายสด ภายหลังจากตัดรังและ
แยกตัวดักแดออกมา ไดตั้งแตกิโลกรัมละ 100 บาท จนถึง 200 บาท ในรูปของการขายปลีก โดยปริมาณ
ผลผลิตไมเพียงพอกับความตองการของตลาด
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม
คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม

More Related Content

What's hot

แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555Utai Sukviwatsirikul
 
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)ทับทิม เจริญตา
 
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1 คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1 thirachet pendermpan
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014Hospital for Health
 
หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)chuvub
 
ไวรัส คอมพิวเตอร์
ไวรัส คอมพิวเตอร์ไวรัส คอมพิวเตอร์
ไวรัส คอมพิวเตอร์Darika Surarit
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคลมพิษ (Urticaria/Angioedema) 2557
แนวทางการดูแลรักษาโรคลมพิษ (Urticaria/Angioedema) 2557แนวทางการดูแลรักษาโรคลมพิษ (Urticaria/Angioedema) 2557
แนวทางการดูแลรักษาโรคลมพิษ (Urticaria/Angioedema) 2557Utai Sukviwatsirikul
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)Aommii Honestly
 
Guideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervisionGuideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervisionUtai Sukviwatsirikul
 
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานงานอาชีวอนามัยฯ ปี 2549 (กฎหมาย จป คปอ)
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานงานอาชีวอนามัยฯ ปี 2549 (กฎหมาย จป คปอ)กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานงานอาชีวอนามัยฯ ปี 2549 (กฎหมาย จป คปอ)
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานงานอาชีวอนามัยฯ ปี 2549 (กฎหมาย จป คปอ)biology10000
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติpanida428
 
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัยคู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัยSupakarn Yimchom
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงานfluketo606
 

What's hot (20)

การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
 
Wine
WineWine
Wine
 
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
 
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
 
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1 คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
คณิตคิดเร็วป1-6 ชุดที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
 
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
 
หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)
 
ไวรัส คอมพิวเตอร์
ไวรัส คอมพิวเตอร์ไวรัส คอมพิวเตอร์
ไวรัส คอมพิวเตอร์
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคลมพิษ (Urticaria/Angioedema) 2557
แนวทางการดูแลรักษาโรคลมพิษ (Urticaria/Angioedema) 2557แนวทางการดูแลรักษาโรคลมพิษ (Urticaria/Angioedema) 2557
แนวทางการดูแลรักษาโรคลมพิษ (Urticaria/Angioedema) 2557
 
ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)ความน่าจะเป็น(Probability)
ความน่าจะเป็น(Probability)
 
Guideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervisionGuideline in child_health_supervision
Guideline in child_health_supervision
 
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานงานอาชีวอนามัยฯ ปี 2549 (กฎหมาย จป คปอ)
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานงานอาชีวอนามัยฯ ปี 2549 (กฎหมาย จป คปอ)กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานงานอาชีวอนามัยฯ ปี 2549 (กฎหมาย จป คปอ)
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานงานอาชีวอนามัยฯ ปี 2549 (กฎหมาย จป คปอ)
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
ขั้นตอนการย้อมสีธรรมชาติ
 
Ophthalmic medication guideline
Ophthalmic medication guidelineOphthalmic medication guideline
Ophthalmic medication guideline
 
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัยคู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
คู่มือการป้องกันและระงับอัคคีภัย
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
โครงาน
โครงานโครงาน
โครงาน
 

More from pyopyo

ประกาศสอบราคาอาหารกลางวัน อบต.แม่สัน
ประกาศสอบราคาอาหารกลางวัน อบต.แม่สันประกาศสอบราคาอาหารกลางวัน อบต.แม่สัน
ประกาศสอบราคาอาหารกลางวัน อบต.แม่สันpyopyo
 
ข้อมูลแนวปฏิบัติที่ดี (Good practices)
ข้อมูลแนวปฏิบัติที่ดี (Good practices)ข้อมูลแนวปฏิบัติที่ดี (Good practices)
ข้อมูลแนวปฏิบัติที่ดี (Good practices)pyopyo
 
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบสอน และสอบสัมภาษณ์
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบสอน และสอบสัมภาษณ์ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบสอน และสอบสัมภาษณ์
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบสอน และสอบสัมภาษณ์pyopyo
 
ตาราง Office hour 57
ตาราง Office hour 57ตาราง Office hour 57
ตาราง Office hour 57pyopyo
 
ประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงาน
ประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงาน
ประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานpyopyo
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจpyopyo
 
ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ
ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ
ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ pyopyo
 
กำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตร
กำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตรกำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตร
กำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตรpyopyo
 
ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด
ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด
ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด pyopyo
 
จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557
จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557
จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557pyopyo
 
กฎหมายแรงงานน่ารู้
กฎหมายแรงงานน่ารู้กฎหมายแรงงานน่ารู้
กฎหมายแรงงานน่ารู้pyopyo
 
รายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPE
รายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPEรายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPE
รายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPEpyopyo
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการpyopyo
 
รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557
รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557 รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557
รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557 pyopyo
 
ตารางสอน ภาค1
ตารางสอน ภาค1ตารางสอน ภาค1
ตารางสอน ภาค1pyopyo
 
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปาง
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปางแบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปาง
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปางpyopyo
 
ประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปาง
ประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปางประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปาง
ประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปางpyopyo
 
ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง
ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง
ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง pyopyo
 
ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57 ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)
ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57  ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57  ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)
ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57 ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)pyopyo
 
จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557
จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557
จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557pyopyo
 

More from pyopyo (20)

ประกาศสอบราคาอาหารกลางวัน อบต.แม่สัน
ประกาศสอบราคาอาหารกลางวัน อบต.แม่สันประกาศสอบราคาอาหารกลางวัน อบต.แม่สัน
ประกาศสอบราคาอาหารกลางวัน อบต.แม่สัน
 
ข้อมูลแนวปฏิบัติที่ดี (Good practices)
ข้อมูลแนวปฏิบัติที่ดี (Good practices)ข้อมูลแนวปฏิบัติที่ดี (Good practices)
ข้อมูลแนวปฏิบัติที่ดี (Good practices)
 
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบสอน และสอบสัมภาษณ์
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบสอน และสอบสัมภาษณ์ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบสอน และสอบสัมภาษณ์
ประกาศรายชื่อผู้ผ่านการสอบสอน และสอบสัมภาษณ์
 
ตาราง Office hour 57
ตาราง Office hour 57ตาราง Office hour 57
ตาราง Office hour 57
 
ประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงาน
ประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงาน
ประกาศผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงาน
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ
ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ
ตารางบรรยายวิชาภาษาอังกฤษ วิทยาลัยสหวิทยาการ
 
กำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตร
กำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตรกำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตร
กำหนดการ งานพระราชทานปริญญาบัตร
 
ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด
ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด
ขายทอดตลาดพัสดุชำรุด
 
จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557
จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557
จัดกลุ่มเรียนวิชาภาษาอังกฤษ PPE 2557
 
กฎหมายแรงงานน่ารู้
กฎหมายแรงงานน่ารู้กฎหมายแรงงานน่ารู้
กฎหมายแรงงานน่ารู้
 
รายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPE
รายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPEรายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPE
รายชื่อผู้ยืนยันสิทธิ์เข้าศึกษาต่อ PPE
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการ
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธ์สอบจิตวิทยา สหวิยาการ
 
รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557
รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557 รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557
รายวิชาที่เปิดสอนปีการศึกษา 2557
 
ตารางสอน ภาค1
ตารางสอน ภาค1ตารางสอน ภาค1
ตารางสอน ภาค1
 
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปาง
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปางแบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปาง
แบบฟอร์มหนังสือยืนยันสิทธิ สหวิทย์ ลำปาง
 
ประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปาง
ประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปางประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปาง
ประกาศผ่านการคัดเลือก สหวิทลำปาง
 
ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง
ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง
ประกาศสัมภาษณ์ สหวิทยาการ ลำปาง
 
ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57 ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)
ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57  ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57  ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)
ประกาศรับตรงโครงการ Ppe 57 ลำปาง (ขยายเวลารับสมัคร)
 
จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557
จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557
จดทะเบียนรายวิชาภาคเรียนที่ 1 / 2557
 

คู่มือการเลี้ยงไหมอีรี่ระดับฟาร์ม

  • 2. สัญญาเลขที่ PDG5120027 รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ การศึกษากระบวนการผลิต กิจกรรมเพิ่มมูลคา และตนทุนการผลิตรังไหมและ เสนไหมอีรี่ในระดับฟารม Production Process, Value-added Activities and Production Cost of Eri Silk Worm at Farm Level คณะผูวิจัย สังกัด 1. นายธํารงค เมฆโหรา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง 2. นายปรเมศร อัศวเรืองพิภพ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง ชุดโครงการ สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (ความเห็นในรายงานนี้เปนของผูวิจัย สกว.ไมจําเปนตองเห็นดวยเสมอไป)
  • 3. สรุปเสนอผูบริหาร ไหมอีรี่จัดเปนนวัตกรรมใหม เกิดจากการคนพบหนอนไหมที่สามารถเลี้ยงดวยใบมันสําปะหลัง และสามารถผลิตหนอนไหมและดักแดที่นําไปใชบริโภคเปนอาหารของคน และอาหารสัตว สวนเสนไหมที่ ไดจากการปนและสาวเสนใยจากรังไหมนํามาใชในการทอผาพื้นบาน และเมื่อมีการฟอกยอมและออกแบบ ลวดลาย ผาที่เกิดจากไหมอีรี่สามารถสรางมูลคาเพิ่มไดอีกมาก การศึกษานี้ จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา ระบบการจัดการฟารม กระบวนการผลิต โครงการตนทุนการผลิต และตนทุนการผลิตไหมอีรี่ ในระดับไรนา และครัวเรือนเกษตรกร และเพื่อศึกษาทางเลือกในการใชประโยชนและการสรางมูลคาของดักแด รังไหม และเสนไหม ผลการศึกษาพบวาการจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการเพาะเลี้ยง ปกติทําการเลี้ยงใน บาน หรือมุมบาน (กรณีบานชั้นเดียว) และใตถุนบาน (กรณีบานสองชั้น) อุปกรณจําเปนในการเลี้ยง ประกอบดวยกระดงที่ใชเลี้ยงหนอนไหมในวัย 1 ถึง 3 ชั้นเลี้ยงที่ตอเปนโครงไม ประมาณ 3 ชั้น กวาง 1.20 เมตร ยาว 3 เมตร มุงเขียวปูพื้นโครงไมเพื่อเปนที่อาศัยของหนอน เลี้ยงไดรุนละประมาณ 12-15 กิโลกรัม การจัดการวัตถุดิบ วัตถุดิบหลักที่ใชในการเลี้ยงไดแกใบละหุงและมันสําปะหลัง โดยละหุงจะปลูกปะปนอยู กับพื้นที่หลัก เชน ขาวโพด เปนตน และปลูกบริเวณริมรั้วบาน แลวเก็บใบมาเลี้ยง สวนมันสําปะหลัง สวน ใหญเปนแปลงของตนเองและแปลงปลูกของเพื่อนบานที่อนุญาตใหผูเลี้ยงเก็บใบมันสําปะหลังมาเลี้ยงไหม อีรี่โดยไมมีคาใชจาย โดยใบมันสําปะหลังและละหุงตองสด ผูเลี้ยงตองเก็บทุกวัน คาใชจายหลักจึงไดแกคา เดินทางไปเก็บวัตถุดิบ ในสวนของการเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต การเลี้ยงในวัย 1 และ 2 ผูเลี้ยงใหอาหารนอย แตบอยครั้ง โดยคอยสังเกตเมื่ออาหารหมด ตองเติมทันที ในวัย 3 จะใหอาหาร 3 รอบ เชา-เย็น-เที่ยงคืน หรือทุก 8 ชั่วโมง ในวัย 4 จะเพิ่มรอบการใหอาหารเปน 6 ชั่วโมงตอครั้ง และในวัยที่ 5 รอบการใหอาหารจะตองเต็มที่ประมาณ 3-4 ชั่วโมง ตอครั้ง การดูแลรักษา ในวัย 1 และ 2 ตัวหนอนจะถูก เลี้ยงในกระดง ตั้งแตวัย 3 เปนตนไป จะเริ่มขยายลงสูชั้นเลี้ยง และในวัย 5 ตอนปลายกอนเขาดักแด จะตองยายตัวหนอนจากสถานที่เลี้ยงเดิม ไปอยูในที่ใหม (เก็บเขาจอ) เพื่อใหหนอนไหมสรางรัง เขาดักแด และเพื่อประโยชนในการรักษาความสะอาดของรังไหม เมื่อหนอนไหมสรางรังและเขาดักแดเรียบรอยแลว ผู เลี้ยงจะนํารังไหมมาตัดแยกเอาตัวดักแดออกเพื่อจําหนายไปทําเปนอาหาร สวนรังไหมจะนําไปฟอก ตม ลอกกาว แลวสาวเปนเสนดายตอไป ตนทุนการผลิตรังไหม ตนทุนการผลิตรังไหมตอการเลี้ยง 1 รอบ ประกอบดวยตนทุนคงที่ ประมาณ 42 บาท ตนทุนผันแปร ไดแกคาแรงงานของตนเอง 561 บาท คา เดินทาง 271 บาท และภาชนะ 5 บาท การแยกรังไหมและดักแดออกจากกัน ดวยอุปกรณกรรไกรและ แรงงานคน 1 คน สามารถแยกรังและดักแดออกได 5 กิโลกรัมรังไหม ในเวลา 5 ชั่วโมง คิดเปนคาจางตัดรัง ไหมกิโลกรัมละ 20 บาท การฟอกรังไหมดวยวิธีการพื้นบาน น้ําหนักรังไหม 1 กิโลกรัมสามารถฟอกเปนปุย ไหมแหงได 7 ขีด สวนประกอบที่จําเปนในการฟอกรังไหม 1 กิโลกรัม ไดแกน้ํา (ลิตรละ 0.012-0.013 บาท) -1-
  • 4. โซดาแอส (ราคากิโลกรัม ราคา 45-70 บาท) สบูเหลว (ราคากิโลกรัม 45-70 บาท) น้ํายาปรับผานุม (ถุงละ 20 บาท) เชื้อเพลิงในการตม (หาจากธรรมชาติ ประเมินไมได) และแรงงาน (2 คนตอครั้ง) ดังนั้น ในการ ฟอกรังไหม 1 กิโลกรัม จะเปนตนทุน 508.96 บาท การสาวไหมกระทําดวยเครื่องเอ็มซี ซึ่งพัฒนามาจาก กลุมผูเลี้ยงฝายแกมไหมของมหาวิทยาลัยเชียงใหม โดยปุยไหม 1 กิโลกรัม 1 คน ใชเวลาทําเสนวันละ 8 ชั่วโมง ไดเสนไหมเสนเล็กเฉลี่ย 0.1 กิโลกรัม หากเปนเสนใหญ 1 วัน จะไดเสนไหม 0.3 กิโลกรัม การทอผา ผาคลุมไหลเปนผลิตภัณฑหลักของกลุมผูเลี้ยงไหมอีรี่ โดยปกติเสนยืนจะใชเสนดายที่ทําจากฝาย สวนเสน พุงทําจากไหมอีรี่ ผาคลุม 1 ผืน ขนาดกวาง 8 นิ้ว ยาว 1.80 เมตร จะมีน้ําหนักประมาณ 0.3 กิโลกรัม คน ทอ 1 คน จะทําได 3 ผืน ในเวลา 2 วัน แตหากเปนไหมอีรี่ลวน 1 คน จะทําไดวันละ 1 ผืน และจําหนายใน ราคาสงผืนละ 500-700 บาท (ไหมอีรี่แกมฝาย) และ 800-1,000 บาท (ไหมอีรี่ลวน) ผลตอบแทนของการ เลี้ยงไหมอีรี่รังสด 1 รุน น้ําหนัก 13.5 กิโลกรัม เปนเงินสด มีคาเทากับ 1,295 บาท และผลตอบแทนสุทธิ เทากับ 734 บาท สวนมูลคาเพิ่มของแรงงานจากกิจกรรมการเลี้ยงไหมจากดักแดสูผลิตภัณฑ จํานวน 1 กิโลกรัม ประกอบดวยกิจกรรมการผลิตรังไหมและดักแด การฟอกรังไหมและผลิตเสนดาย และการผลิตผา ไหมและผลิตภัณฑ มีมูลคาเทากับ 959 641 และ 1,100 บาท ตามลําดับ ปญหาในดานตาง ๆ ในการเลี้ยง ไหมขณะนี้คือการจําหนายรังไหมที่ผูเลี้ยงตั้งราคาไวสูง อุตสาหกรรมไมสามารถเขามารับซื้อได การสื่อสาร ของโครงการเนนไปสูการรับซื้อผลิตภัณฑคืนในราคาสูง และการแสวงหาแนวทางการตลาดเพื่อการใช ประโยชนของตลาดระดับสูง ดังนั้น ในการจะผลักดันการเลี้ยงไหมอีรี่เขาสูอุตสาหกรรม จะตองคํานึงถึง ความสามารถในการแขงขันกับการผลิตไหมหมอน และการนําเขาเสนไหมจากตางประเทศ การสรางความ รับรูใหแกผูเลี้ยงเกี่ยวกับคุณคาที่แทจริงของไหมอีรี่ ที่ประกอบดวยทั้งสวนที่เปนดักแดที่มีคุณคาทาง โภชนาการและความตองการของตลาด และในสวนที่เปนรังไหม ที่มีคุณสมบัติที่ดีกวาฝาย แตคุณภาพยัง อยูในระดับปานกลาง ไมถึงระดับไหมคุณภาพสูง ประสิทธิภาพในการฟอกรังไหม และประสิทธิภาพการทํา เสนดายที่รวดเร็ว และไดขนาดของเสนไหมตามที่ตองการ จากเครื่องมือสาวไหมที่โครงการใหการสนับสนุน และมีโครงการนํารองทดสอบระบบการบริหารจัดการการผลิตและการตลาดในการนําไหมอีรี่เขาสู อุตสาหกรรมเสนไหมตอไป -2-
  • 5. บทคัดยอ การเลี้ยงไหมอีรี่สามารถทําไดในบาน มุมบาน และใตถุนบาน อุปกรณประกอบดวยกระดง ชั้น เลี้ยงที่ตอเปนโครงไม ประมาณ 3 ชั้น กวาง 1.20 เมตร ยาว 3 เมตร มุงเขียวปูพื้นโครงไมเพื่อเปนที่อาศัย ของหนอน เลี้ยงไดน้ําหนักรังสด (รังไหมและดักแด) รุนละประมาณ 12-15 กิโลกรัม การจัดการวัตถุดิบ ใช ใบละหุงและมันสําปะหลังสด ผูเลี้ยงตองเก็บทุกวัน คาใชจายหลักจึงอยูที่คาเดินทางไปเก็บวัตถุดิบ การ เลี้ยงและการดูแลงาย ผูเลี้ยงจะนํารังไหมมาตัดแยกเอาตัวดักแดออก เพื่อจําหนายไปทําเปนอาหาร สวนรัง ไหมจะนําไปฟอก ตมลอกกาว แลวสาวเปนเสนดายตอไป ตนทุนการผลิตรังไหมตอการเลี้ยง 1 รุน ประกอบดวยตนทุนคงที่ ประมาณ 42 บาท ตนทุนผันแปร 838 บาท การแยกรังไหมและดักแดออกจากกัน ดวยอุปกรณกรรไกรและแรงงานคน 1 คน สามารถแยกรังและดักแดออกได 5 กิโลกรัมรังไหม ในเวลา 5 ชั่วโมง คิดเปนคาจางตัดรังไหมกิโลกรัมละ 20 บาท การฟอกรังไหมดวยวิธีการพื้นบาน น้ําหนักรังไหม 1 กิโลกรัม สามารถฟอกเปนปุยไหมแหงได 0.7 กิโลกรัม สวนประกอบที่จําเปนในการฟอกรังไหม 1 กิโลกรัม ไดแกน้ํา โซดาแอส สบูเหลว แรงงาน และเชื้อเพลิง จะเปนตนทุน 508.96 บาท การสาวไหมของโครงการ ดวยเครื่องเอ็มซี โดยปุยไหม 1 กิโลกรัม 1 คน ใชเวลาทําเสนวันละ 8 ชั่วโมง ไดเสนไหมเสนเล็กเฉลี่ย 0.1 กิโลกรัม หากเปนเสนใหญ 1 วัน จะไดเสน 0.3 กิโลกรัม การทอผา ผาคลุมไหลเปนผลิตภัณฑหลักของ กลุมผูเลี้ยงไหมอีรี่ โดยปกติเสนยืนจะใชเสนดายที่ทําจากฝาย สวนเสนพุงทําจากไหมอีรี่ ผาคลุม 1 ผืน ขนาดกวาง 8 นิ้ว ยาว 1.80 เมตร จะมีน้ําหนักประมาณ 3 ขีด คนทอ 1 คน จะทําได 3 ผืน ในเวลา 2 วัน แต หากเปนไหมอีรี่ลวน 1 คน จะทําไดวันละ 1 ผืน และจําหนายในราคาสงผืนละ 500-700 บาท (ไหมอีรี่แกม ฝาย) และ 800-1,000 บาท (ไหมอีรี่ลวน) ) ผลตอบแทนเงินสดและสุทธิของการเลี้ยงไหมอีรี่รังสด 1 รุน น้ําหนัก 13.5 กิโลกรัม มีคาเทากับ 1,295 และ 734 บาท ตามลําดับ สวนมูลคาเพิ่มจากกิจกรรมการเลี้ยง ไหมจากดักแดสูผลิตภัณฑ จํานวน 1 กิโลกรัม ประกอบดวยกิจกรรมการผลิตรังไหม การผลิตเสนดาย และ การผลิตผาไหมและผลิตภัณฑ มีมูลคาเทากับ 959 641 และ 1,100 บาท ตามลําดับ ปญหาในดานตาง ๆ ในการเลี้ยงไหมขณะนี้คือการจําหนายรังไหมที่ผูเลี้ยงตั้งราคาไวสูง อุตสาหกรรมไมสามารถเขามารับซื้อได การสื่อสารของโครงการเนนไปสูการรับซื้อผลิตภัณฑคืนในราคาสูง และการแสวงหาแนวทางเพิ่มมูลคาใน ตลาดระดับสูงจากสารสกัดจากไหมอีรี่ ดังนั้น ในการจะผลักดันการเลี้ยงไหมอีรี่เขาสูอุตสาหกรรม จะตอง คํานึงถึงความสามารถในการแขงขันกับการผลิตไหมหมอน และการนําเขาเสนไหมจากตางประเทศ การ สรางความรับรูใหแกผูเลี้ยงเกี่ยวกับคุณคาที่แทจริงของไหมอีรี่ ที่ประกอบดวยทั้งสวนที่เปนดักแดที่มีคุณคา ทางโภชนาการและความตองการของตลาด และในสวนที่เปนรังไหม ที่มีคุณสมบัติที่ดีกวาฝาย แตคุณภาพ ไมถึงระดับไหมคุณภาพสูง ประสิทธิภาพในการฟอกรังไหม และประสิทธิภาพการทําเสนดายที่รวดเร็ว และ ไดขนาดของเสนไหมตามที่ตองการ จากเครื่องมือสาวไหมที่โครงการใหการสนับสนุน และมีโครงการนํารอง การบริหารจัดการการผลิตและการตลาดในการนําไหมอีรี่เขาสูอุตสาหกรรมเสนไหมตอไป -3-
  • 6. Abstract Eri silkworms fresh cocoon weigh 12-15 kilograms were able to rear in house, house corner and area beneath the house using castor and cassava leaves within traditional bamboo trays, three wood stories laid by green net and size of 1.20 meters width and 3.0 meters length. The fresh leaves had to be collected daily and thus the travelling to collect the leave became the major cost of production. The rearing process of Eri silkworms was simple. After having become cocoons, the farmers separated the pupae out off the cocoons for human food purposes. The cocoons were boiled and spun with water, soda ash and mild liquid soap to produce fibres. Then, the fibres were reeled by hand and simple machine to produce yarn. For one generation of cocoon production, the cost consisted of fixed cost 42 baht and variable costs 880 baht. The cost of cocoon separation was 20 baht per kilogram. And the cost fibre production was 508.96 baht per kilogram. For yarning, one labour (8 hours) with simple machine (MC) was able to produce the small size of yard only 100 grams, or 300 grams for the large size. For fabric production, the represented product was the scarf, size 8 niches width and 1.80 metres length. One labour could produce scarf made of cotton mixed with hand spun Eri yarn three pieces within two days and Eri scarf one piece a day. The wholesale price of scarf made of cotton mixed with hand spun Eri yarn ranged from 500 to 700 baht per piece, while the price of scarf made of whole Eri yarn ranged from 800 to 1,000 baht each. The cash returns and net returns from rearing Eri silkworms one crop were 1,295 and 734 baht, respectively. The value added of labour from Eri silkworms to silk products (weight 1 kilogram) consisting of fresh cocoon rearing, yarn making and scarf making were 959, 641 and 1,100 bath, respectively. The major obstacles to steer the Eri silk into industrial sector were to determine so high price of cocoons that the industry was not able to support, the project communication to farmers with high expected return from Eri silk products, and seeking the high market for the products extracted from the silkworms. In order to encourage the Eri silk production into industry, the suggestions are as follows: the competitiveness with two industries namely mulberry silk production and silk import must be considered. Moreover, the awareness of producer concerning with the use of both Eri larva and pupa for human food and cocoons with higher quality than cotton but medium level comparing to the other kinds of silk must be acknowledged. In addition, the efficiency of fibre extraction from the cocoons and yarning must be improved all aspects of cost, time and size. Finally, the pilot project on Eri silk production and marketing towards industry should be operated before promoting the large scale. -4-
  • 7. สารบัญเรื่อง หนา สรุปเสนอผูบริหาร -1- บทคัดยอ -3- Abstract -4- สารบัญเรื่อง -5- สารบัญตาราง -7- สารบัญภาพ -8- 1. ความสําคัญของปญหา 1 2. วัตถุประสงคของการศึกษา 2 3. ขอบเขตการศึกษา 2 4. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 2 5. ผลการสํารวจตามกรอบตัวอยาง 3 5.1 จังหวัดกําแพงเพชร 3 5.2 จังหวัดนครสวรรค 4 5.3 จังหวัดอํานาจเจริญ 6 5.4 จังหวัดรอยเอ็ด 8 5.5 จังหวัดขอนแกน 9 5.6 จังหวัดพะเยา 10 5.7 จังหวัดเชียงใหม 12 5.8 จังหวัดอุทัยธานี 13 6. การจัดการโซอุปทานในการเลี้ยงไหมอีรี่ 15 6.1 การเลี้ยง 15 6.2 การแยกรังไหมและดักแด 17 6.3 การฟอกรังไหม 17 6.4 การสาวเสนดายจากไหมอีรี่ 18 6.5 การทอผา 18 6.6 ตนทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงไหมอีรี่รังสด 19 6.7 มูลคาเพิ่มของแรงงานจากกิจกรรมการเลี้ยงไหมอีรี่จากรังไหมสูผลิตภัณฑ 20 -5-
  • 8. สารบัญเรื่อง (ตอ) หนา 7. ปญหาในการเลี้ยงไหมอีรี่ 20 8. การสังเคราะหขอมูล 21 9. สรุปองคความรูและงานวิจัยในประเด็นตาง ๆ 22 10. สรุปและขอเสนอแนะ 24 10.1 สรุป 24 10.2 ประเด็นปญหา 25 10.3 ขอเสนอแนะ 26 บรรณานุกรม 27 ภาคผนวก 28 -6-
  • 9. สารบัญตาราง ตารางที่ หนา 1 ตนทุนการเลี้ยงไหมอีรี่เฉลี่ย 1 รุน 17 2 ตนทุนการฟอกรังไหมอีรี่เฉลี่ย 1 กิโลกรัม 18 3 ตนทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงไหมอีรี่เฉลี่ย 1 รุน (บาท) 19 4 มูลคาเพิ่มของกิจกรรมการผลิตรังไหมและผลิตผลิตภัณฑจากเสนไหม (บาทตอ กิโลกรัม) 20 -7-
  • 10. สารบัญภาพ ภาพที่ หนา 1 โรงเลี้ยงไหมอีรี่ที่จังหวัดเชียงใหม 29 2 ชั้นและอุปกรณการเลี้ยงงาย ๆ ในบานพัก จังหวัดอุทัยธานี 29 3 เครื่องสาวไหมดวยมือ จังหวัดกําแพงเพชร 30 4 เครื่องสาวไหมพวงดวยลอจักรยาน จังหวัดกําแพงเพชร 30 5 เครื่องและการสาวไหมพวงดวยลอจักรยาน จังหวัดกําแพงเพชร (ตอ) 31 6 เครื่องและการสาวไหมพวงดวยลอจักรยาน จังหวัดกําแพงเพชร (ตอ) 31 7 เสนไหมอีรี่ฝมือชาวบานจังหวัดกําแพงเพชร 32 8 เสนไหมอีรี่ฝมือชาวบานจังหวัดอุทัยธานี 32 9 เสนไหมอีรี่ฝมือชาวบานจังหวัดเชียงใหม 33 10 ผลิตภัณฑเสื้อจากไหมอีรี่ ผีมือชาวบานจังหวัดกําแพงเพชร 33 11 ผลิตภัณฑจากไหมอีรี่ ผีมือชาวบานจังหวัดกําแพงเพชร 34 12 ผลิตภัณฑจากไหมอีรี่ ผีมือชาวบานจังหวัดเชียงใหม 34 13 ผลิตภัณฑจากไหมอีรี่ ผีมือชาวบานจังหวัดเชียงใหม 35 14 ผลิตภัณฑจากไหมอีรี่ ผีมือชาวบานจังหวัดอุทัยธานี 35 -8-
  • 11. 1 การศึกษากระบวนการผลิต กิจกรรมเพิ่มมูลคา และตนทุนการผลิตรังไหมและ เสนไหมอีรี่ในระดับฟารม Production Process, Value-added Activities and Production Cost of Eri Silkworm at Farm Level 1. ความสําคัญของปญหา ไหมอีรี่จัดเปนนวัตกรรมใหม เกิดจากการคนพบหนอนไหมที่สามารถเลี้ยงดวยใบมันสําปะหลัง และสามารถผลิตหนอนไหมและดักแดที่นําไปใชบริโภคเปนอาหารของคน อาหารสัตว และสารสกัดที่เปน ประโยชนตอมนุษยดวยสารตอตานอนุมูลอิสระ และสารเสริมสุขภาพความงาม ในสวนของรังไหม สามารถ นํามาผลิตเสนไหมที่มีคุณสมบัติเฉพาะตัว เสนไหมที่ไดจากการปนและสาวเสนใยนํามาใชในการทอผา พื้นบาน และเมื่อมีการฟอกยอมและออกแบบลวดลาย ผาที่เกิดจากไหมอีรี่สามารถสรางมูลคาเพิ่มไดอีก มาก ซึ่งหากพัฒนาตอไปอาจนําเสนไหมเขาสูอุตสาหกรรมการทําเสนยืนใหเกษตรกร และผลิตผาใน โรงงานทอผา นอกจากนี้ เศษของรังไหมสามารถนําไปแปรรูปเปนกาวไหม เซริซิน โปรตีนไฮโดรไลเสท ได อีก ประกอบกับอาหารของตัวหนอน คือ ใบมันสําปะหลัง ตองการความสะอาด ปราศจากสารเคมีที่เปนพิษ การปลูกมันสําปะหลังเพื่อใชใบมาเลี้ยงตัวหนอน จะชวยลดการใชสารพิษในการปลูกมันสําปะหลังดวย มันสําปะหลัง เปนพืชเศรษฐกิจที่ปลูกงาย มูลคาในอดีตไมสูงนัก เนื่องจากการใชประโยชนจํากัด เฉพาะอาหารสัตวและการแปรสภาพเปนแปงมันสําปะหลังเพื่อสงออก แตในชวงปพ.ศ. 2550-2551 ที่ผาน มา มูลคาของมันสําปะหลังไดเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากสามารถนําไปผลิตพลังงานทดแทน ทําใหราคาหัวมัน สําปะหลังสดเพิ่มขึ้นกวาเทาตัว หลายฝายจึงคาดการณวาพื้นที่ปลูกจะขยายเพิ่มขึ้นในอนาคต และนับเปน โอกาสดีของฐานทรัพยากรในการนํามาผลิตไหมอีรี่ โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการปลูกมันสําปะหลังหนาแนน ในการเลี้ยงไหมอี่รี่ดวยใบมันสําปะหลังนี้ สามารถนําใบจากตนมันสําปะหลังมาใชไดถึงรอยละ 30 โดยไมสงผลกระทบตอผลผลิตและคุณภาพของแปงในหัวมันสําปะหลัง นอกจากนี้ การเลี้ยงหนอนไหม สามารถดําเนินการไดถึง 20,000 ตัว ตอพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง 2-5 ไร โดยใชเวลาเพียง 45 วัน ไดผลผลิต เปนรังไหม 3-5 กิโลกรัม และดักแด 24 กิโลกรัม มีมูลคารวมกันประมาณ 2,500 บาท ซึ่งภายในเวลา 1 ป สามารถเลี้ยงไดถึง 6-8 ครั้ง แตการสรางความเขาใจที่ถูกตองถึงคุณคาและประโยชนของไหมอีรี่แกผูที่ เกี่ยวของในการกําหนดนโยบายและเกษตรกร จําเปนตองจัดทําฐานขอมูลเกี่ยวกับกระบวนการผลิต กิจกรรมการสรางมูลคา ตนทุนการผลิต และการสรางประโยชนในระดับไรนาและทองถิ่น ควบคูไปกับการ วิจัยในดานการพัฒนาการเลี้ยง การผลิตไหมในเชิงการคา การตลาด และการกําหนดมาตรฐานและ ออกแบบผลิตภัณฑ ดังนั้น จึงสมควรดําเนินการศึกษากระบวนการผลิต กิจกรรมเพิ่มมูลคา และตนทุนการ ผลิตรังไหมและเสนไหมอีรี่ในระดับฟารม จากกลุมเกษตรกรที่ดําเนินการแลว เพื่อใชเปนฐานขอมูลสําหรับ การขยายโอกาสตอไปในพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังอื่น
  • 12. 2 2. วัตถุประสงคของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาระบบการจัดการฟารม กระบวนการผลิต โครงการตนทุนการผลิต และตนทุนการ ผลิตไหมอีรี่ ในระดับไรนาและครัวเรือนเกษตรกร 2. เพื่อศึกษาทางเลือกในการใชประโยชนและการสรางมูลคาของดักแด รังไหม และเสนไหม 3. ขอบเขตการศึกษา 1. พื้นที่เปาหมาย ภาคเหนือไดแกจังหวัดเชียงใหม ลําพูน และพะเยา ภาคกลางตอนบน ไดแก จังหวัดอุทัยธานี และนครสวรรค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือไดแกจังหวัดขอนแกน ชัยภูมิ อํานาจเจริญ และ รอยเอ็ด 2. เนื้อหาของการศึกษา ประกอบดวย -กระบวนการและกิจกรรมการผลิต ไดแกการจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการ เพาะเลี้ยง การเตรียมไข หนอนไหม การจัดการวัตถุดิบ การเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต -ตนทุนการผลิตรังไหม ประกอบดวยตนทุนคงที่ประกอบดวยคาโรงเรือน คาเสื่อมราคา สิ่งกอสราง และคาใชที่ดิน และตนทุนผันแปร ประกอบดวยคาซอมแซมสิ่งกอสรางและอุปกรณการเลี้ยง คาอุปกรณสิ้นเปลือง คาไขไหม คาแรงงานในการดูแลรักษาและจัดการวัตถุดิบ คาน้ํามันเชื้อเพลิง คา วัตถุดิบที่ใช และคาใชจายอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นในระหวางการดําเนินการผลิต 3. เนื้อหาทางเลือกในการใชประโยชนและการสรางมูลคาเพิ่ม ประกอบดวย -ทางเลือกในการผลิตตัวออนหนอนไหมสูตลาดตาง ๆ พรอมการวิเคราะหตนทุนและ ผลตอบแทนในสถานการณปจจุบัน -ทางเลือกในการผลิตรังไหมสูตลาดตาง ๆ พรอมการวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนใน สถานการณปจจุบัน 4. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ฐานขอมูลกระบวนการผลิต กิจกรรมการเพิ่มมูลคา ตนทุนการผลิตรังไหม และการผลิตเสน ไหม ในระดับไรนาและครัวเรือนเกษตรกร 2. ไดฐานขอมูลการใชประโยชนจากรังไหมและดักแดในระดับทองถิ่น 3. ไดขอเสนอแนะการพัฒนาไหมอีรี่สําหรับทางเลือกที่เปนอาชีพ (เสริม) และอุตสาหกรรม
  • 13. 3 5. ผลการสํารวจตามกรอบตัวอยาง ในการศึกษาครั้งนี้ ไดกําหนดแนวทางการศึกษาโดยใชแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการโซอุปทาน ตั้งแต กลุมผูเลี้ยงตนน้ํา จนถึงปลายน้ํา ศึกษากิจกรรมของแตละกลุม รวมถึงการวิเคราะหเชิงปริมาณเพื่อวัดผล สําเร็จของการเพิ่มมูลคาของแตละกิจกรรมภายในโซอปุทาน แตเมื่อไดจัดเก็บขอมูลในภาคสนามจริง พบวา ในทางปฏิบัติ (1) เกษตรกรไมไดบันทึกขอมูลตาง ๆ ที่เกิดขึ้นไวอยางชัดเจน (2) วัสดุอุปกรณที่ใชในการผลิตของกลุมตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา เปนสิ่งของที่มีอยูและใช งานในหลาย ๆ วัตถุประสงค โดยโรงเรือนเลี้ยงไหม ก็เปนโรงเรือนเกาที่สรางไวทําการเลี้ยงไหมบาน เครื่อง ปนดาย มีอยูแลว หรือมีอยูที่สวนกลางของกลุม สวนเครื่องมือทอผา มีการใชรวมกันระหวางผาไหมกับผา ฝาย จึงกลาวไดวา การจัดหาวัสดุอุปกรณการเลี้ยงมีความแตกตางกันมากระหวางกลุมที่เริ่มตนเลี้ยงใหม กับกลุมที่มีอุปกรณที่มีอยูเดิม เชนเดียวกับการทอผา (3) การเลี้ยงไหมอีรี่ การผลิตเสนดาย รวมถึงการทอผา อยูในรูปของกลุม โดยสมาชิกในกลุม จัดเปนคนที่มีความขยันขันแข็ง โดยเฉพาะในกลุมจังหวัดอุทัยธานี นครสวรรค พะเยา และเชียงใหม ถึงแม จะทําการประกอบการเกษตรหลัก (ปลูกมันสําปะหลัง ขาวโพด และออย) และมีแรงงานจํานวนนอยใน ครัวเรือน แตยังทําการเลี้ยงไหมและทอผาเพื่อเปนรายไดเสริมกันอยางตอเนื่อง ดวยใจรักและเต็มใจที่จะ ทํา (4) คาใชจายที่เห็นไดชัดเจน คือ คาน้ํามันที่ใชกับพาหนะเพื่อเดินทางไปเก็บใบละหุง และหรือใบ มันสําปะหลัง คาน้ํายาซักผา ผงซักฟอก หรือดางที่ใชในกระบวนการลอกกาว เทานั้น ดังนั้น ในการศึกษาครั้งนี้ จึงใชวิธีการประเมินในเชิงคุณภาพเปนหลัก โดยมีขอมูลในเชิงปริมาณ สนับสนุน ดังนี้ 5.1 จังหวัดกําแพงเพชร กลุมตาง ๆ ไดรับการคัดเลือกใหเขารวมอบรมการเลี้ยงไหมอีรี่และทําเสนไหม เพื่อนําไป พัฒนาการเลี้ยงและผลิตผาไหม โดยกลุมที่ไดรับการคัดเลือก มีพื้นฐานการทอผาฝายมากอน ผลการ ดําเนินการ เปนดังนี้ (1) กลุมสตรีทอผาบานโนนใหญ ตําบลหนองทอง อําเภอไทรงาม ประธานกลุมฯไปอบรม เพียงคนเดียวและไมไดดําเนินการขยายการเลี้ยงและผลิตเสนไหมตอ เพราะไมมีวัตถุดิบในการเลี้ยงไหม เนื่องจากพื้นที่เปนนาขาวและมีทัศนคติที่ไมดีตอตัวหนอนเนื่องจากมีขนาดใหญและลักษณะนากลัว วิธีการทําเสนไหมยุงยากและยังมีอาการแพตัวหนอนและรังไหมดวย อีกทั้งไมมั่นใจวาจะขายไดเพราะเดิม เลี้ยงไหมบานอยูแลว จึงหันกลับไปทําการเลี้ยงไหมหมอนแทน
  • 14. 4 (2) กลุมสตรีทอผาบานลานกระดี่ ตําบลหนองทอง อําเภอไทรงาม ประธานกลุมฯไป อบรมเพียงคนเดียวและไมไดดําเนินการขยายการเลี้ยงและผลิตเสนไหมตอ เหตุผลเชนเดียวกันกับกลุม สตรีทอผาบานโนนใหญ เพราะวาหมูบานอยูติดกัน (3) กลุมทอผาฝายสีธรรมชาติบานบอแกวพัฒนา ตําบลพานทอง อําเภอไทรงาม ประธานกลุมฯไปอบรมเพียงคนเดียวและไมไดดําเนินการเลี้ยงและผลิตเสนไหมตอ เพราะไมมีวัตถุดิบใน การเลี้ยงไหมเนื่องจากพื้นที่เปนนาขาวและไมมีการปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ แตประธานกลุมนั้นมี ความสามารถในการทําเสนและทอผาจึงไดมีการดําเนินการในสวนนี้เพียงผูเดียว โดยไดรับการสนับสนุน รังไหมและเครื่องปนดาย (MC) จากโครงการฯ เริ่มดําเนินการทําเสนและทอผาชวงตนป พ.ศ. 2551 สามารถทอผาสงไปใหทางโครงการฯจําหนายใหแลวจํานวน 12 เมตร ในราคาเมตรละ 500 บาท โดยทอผา มีขนาดความกวาง 1.2 เมตร ปจจุบันกลุมฯไมไดดําเนินการเกี่ยวกับไหมอีรี่แลว เนื่องจากมีความคิดเห็น วาตลาดที่จะรับซื้อนั้นยังไมแนนอนและไมชัดเจน อีกทั้งวิธีการทําเสนดายเพื่อนําไปทอเปนผานั้นยุงยาก หลายขั้นตอน เสนไหมที่ดึงเปนเสนดายมีขนาดใหญ เมื่อนํามาทําผลิตภัณฑจึงไมสวยงาม (4) กลุมทอผาบานสุขสําราญ ตําบลคลองน้ําไหล อําเภอคลองลาน มีตัวแทนกลุมฯไป รวมอบรม 2 คน เปนกลุมทอผาฝาย และไมมีประสบการณในเรื่องการเลี้ยงไหม แตในพื้นที่นั้นมีการปลูก มันสําปะหลังเปนพืชหลัก เมื่อนําโครงการฯไปเสนอจึงมีความสนใจเขารวมในการฝกอบรม หลังจากอบรม แลวไมไดดําเนินการขยายตอ เนื่องจากตัวแทนที่ไปอบรมนั้นไมยอมรับและมีทัศนคติที่ไมดีตอตัวหนอน เพราะมีลักษณะนากลัว วิธีการทําเสนดายยุงยากและยังมีอาการแพ รวมถึงไมมีความมั่นใจวาจะสามารถ ขายไดเพราะเปนของใหมที่ไมคอยมีคนรูจักมากนัก อีกทั้งยังมีราคาแพงดวย (5) บานคลองใหญใต ตําบลคลองน้ําไหล อําเภอคลองลาน ไปอบรมแตไมไดดําเนินการ ขยายโครงการฯ ตอ เนื่องจากในหมูบานมีการเลี้ยงไหมหมอนของบริษัทจุลไหมไทย จํากัด อยูแลว ซึ่งมี ระบบการเลี้ยงที่สรางความมั่นใจใหแกผูเลี้ยงวาสามารถจําหนายผลผลิตไดแนนอน กลาวคือ บริษัท จุล ไหมไทย จํากัดเปนผูจัดหาไขมาให แลวรับซื้อรังไหมกลับคืน ในราคาประกัน กิโลกรัมละ 130 บาท ในการ เลี้ยงแตละครั้ง ผูเลี้ยงจะมีรายไดประมาณ 2,000-2,500 บาท แตถาเปลี่ยนมาเลี้ยงไหมอีรี่นั้นตองหาตลาด เองและยังไมเปนที่รูจักมากนัก ตลาดก็ยังไมชัดเจน เกษตรกรจึงไมเลี้ยง 5.2 จังหวัดนครสวรรค กลุมวิสาหกิจทอผาบานพนาสวรรค ตําบลแมเปน อําเภอแมเปน เปนกลุมที่มีการเลี้ยง ไหมอีรี่แบบครบวงจรเพราะไดทุนสนับสนุนจาก สกว. การดําเนินการเลี้ยง ทําเสน และทอเปนผลิตภัณฑ ชาวบานในชุมชนยอมรับและพอใจในการเลี้ยงไหมอีรี่ ประสบการณการเลี้ยงไหมอีรี่ของกลุมฯ มีการผลิตไขไหม และเพาะขยายพันธุไดเอง ทํา การเลี้ยงไหมอีรี่ไดปละ 4-6 รอบ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับสภาพภูมิอากาศและปริมาณของใบมันสําปะหลัง สามารถ
  • 15. 5 ผลิตไขไหมไดครั้งละ 15-20 กรัม และจะไดจํานวนหนอนไหม 7,000-8,000 ตัว โดยในระยะหนอนไหมวัย 1 ถึงวัย 3 นั้นจะเลี้ยงดวยใบละหุง ทําใหหนอนแข็งแรงและโตเร็ว สวนในระยะวัย 4 และ 5 จะใชใบ มันสําปะหลังเลี้ยงเพราะในชวงนี้หนอนกินมาก ใบละหุงมีไมพอ อีกทั้งรสชาติของดักแดไหมอีรี่จะไมขม จะ ใชใบมันสําปะหลังในวัยนี้เฉลี่ยวันละ 50-80 กิโลกรัม โดยที่ตัวหนอนจะมีการพัฒนาในแตละวัย เฉลี่ยวัย ละ 4 วัน ใชระยะเวลาในการเลี้ยงตั้งแตฟกเปนตัวหนอนจนตัวหนอนเขารัง ใชเวลา 18-22 วัน หากครบทั้ง วงจรชีวิตจะใชเวลา 45 วัน ในการเลี้ยงแตละครั้ง รังไหมที่ยังไมไดตัดเอาดักแดออก เฉลี่ย 15 กิโลกรัมตอ รอบการเลี้ยง (อัตราสวนของรังไหมที่ยังไมไดเอาดักแดออก 1 กิโลกรัม จะไดรังไหมเปลา 0.2 กิโลกรัม และ เปนดักแด 0.8 กิโลกรัม) จะไดรังไหมเปลา 3 กิโลกรัม และดักแด 12 กิโลกรัม โดยเฉลี่ย กระบวนการและกิจกรรมการผลิต -การจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการเพาะเลี้ยง ปกติผูเลี้ยงจะทําการเลี้ยง ในบาน หรือมุมบาน (กรณีบานชั้นเดียว) และใตถุนบาน (กรณีบานสองชั้น) อุปกรณที่ใชประกอบดวย กระดงในวัย 1 ถึง 3 แลวตอดวยชั้นเลี้ยงที่ตอเปนโครงไม ประมาณ 3 ชั้น กวาง 1.20 เมตร ยาว 3 เมตร รายละ 2 ชุด ซึ่งอุปกรณที่ตองจายเงินซื้อคือมุงเขียว ราคามวนละ 250 บาท กวาง 1.20 เมตร ยาว 12 เมตร ใชจํานวน 2 มวน เลี้ยงไดรุนละประมาณ 12 กิโลกรัม -การเตรียมไขไหม ผูเลี้ยงทําการเพาะพันธุเอง หากเก็บพันธุไมได หรือไขไมฟก จะ ขอยืมจากเพื่อนบาน และหากตายหมด จะขอการสนับสนุนใหมจากโครงการ -การจัดการวัตถุดิบ ผูเลี้ยงทําการปลูกละหุงบริเวณรั้วบาน สวนใบมันสําปะหลัง เปนของตนเองที่ทําการปลูกในพื้นที่ไร -การเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต ผูเลี้ยงทําการเลี้ยงดวยใบละหุงใน วัย 1 2 และตนวัย 3 เนื่องจากตนละหุงมีนอย จากนั้น จึงเลี้ยงดวยใบมันสําปะหลัง ซึ่งจัดการเก็บจาก แปลงปลูกของตนเอง เมื่อไดผลผลิตรังไหมแลว จะทําการตัดรังแยกเอาดักแดออก ไปจําหนายใหคนใน หมูบาน สวนที่เปนรัง จะรวบรวมสงกลุมวิสาหกิจชุมชน -ตนทุนการผลิตรังไหม ประกอบดวย ตนทุนคงที่ประเมินไมได เนื่องจากผูเลี้ยงทําการเลี้ยงในบาน สวนมุงเขียว ใชจํานวน 2 มวน ๆ ละ 250 บาท ตนทุนผันแปร ประกอบดวยคาน้ํามันเชื้อเพลิงในการเดินทางไปเก็บในวัย 3 ถึง 5 การจัดการผลผลิตของกลุม (1) ดักแด ผูเลี้ยงสามารถจําหนายสดไดภายในชุมชน ในราคา 80-100 บาทตอ กิโลกรัม โดยปริมาณการผลิตไมเพียงพอตอความตองการ สวนการแปรรูปดักแดเพื่อบริโภคตองตมใหสุก กอนและนําไปคั่วกับเกลือ หรือทําอาหารประเภทยํา และลาบ
  • 16. 6 (2) รังไหม รังมีคุณภาพปานกลาง กลุมจะนํามาทําเสนเองบางสวน สวนที่เหลือก็ จะจําหนายรังไหมไปใหโครงการฯ เพื่อสงตอไปใหกลุมอื่นในเครือขายฟอกและทําเสนตอไป ราคาในการ จําหนายนั้นจะแบงออกเปน 2 แบบ ขึ้นอยูกับคุณภาพของรังไหม โดยรังไหมเกรด 1 ราคา 250-300 บาท ตอกิโลกรัม (รังสะอาด ไมแฟบ ขนาดใหญ) เกรด 2 ราคา 200-250 บาทตอกิโลกรัม (ลักษณะรังมีคุณภาพ ดอยกวาเกรด 1) (3) การทําเสน โดยการฟอกลอกกาว ขั้นตอนโดยสรุปมีดังนี้ นํารังไหมไปแชน้ํา 1 คืน แลวนําไปตมกับดางและสบูเหลว จากนั้นลางน้ําเปลา 3 ครั้ง ขั้นตอไปนํารังไหมไปปนกับน้ํายาปรับผา นุมดวยเครื่องซักผาจนรังไหมฟูดี แลวนําไปตากใหแหงจากนั้นจึงนําไปปนเสน เสนไหมที่ทําไดจะจําหนาย ในราคากิโลกรัมละ 1,000 บาท (4) การทอผา ผาที่ทอนั้นทอเปนผาคลุมไหล ผาเช็ดหนา และตามคําสั่งซื้อของ โครงการฯ ราคาผาเช็ดหนา ชิ้นละ 100 บาท ผาคลุมไหล ชิ้นละ 700 บาท สงจําหนายใหโครงการฯ และ กลุมฯไดเคยทําการพัฒนาตลาดดวยการนําสินคาและผลิตภัณฑมาออกรานในงานแสดงสินคาโอท็อปที่ เมืองทองธานีดวย ในระยะแรกของการรวมกลุมกันสามารถจําหนายผลิตภัณฑไดดี แตในปจจุบันการทํา เสนและทอผาดําเนินการอยูเพียงคนเดียวและจะสงผลิตภัณฑจําหนายใหกับโครงการฯ สวนสมาชิกคนอื่น จะขายเฉพาะรังไหมใหกับกลุมฯ ซึ่งกลุมฯจะดําเนินการผลิตผลิตภัณฑตามคําสั่งซื้อจากโครงการฯ (5) เมื่อเริ่มกอตั้งกลุมฯ มีจํานวนคนเลี้ยงเพิ่มถึง 28 คน แตป พ.ศ. 2551 เศรษฐกิจไมดี ราคาผลผลิตการเกษตรดีขึ้น คนเลี้ยงหนาใหมหยุดการเลี้ยงชั่วคราว ณ เวลาของการศึกษา ครั้งนี้ พบวามีผูเลี้ยงนอย การเลี้ยงวัย 1 ถึง 3 ใชใบละหุงทั้งหมด ตัวหนอนไหมจะอวน แข็งแรงดี วัย 4 และ 5 ใหกินใบ มันสําปะหลังเทานั้น เพราะหากใชใบละหุงจนกระทั่งเปนตัวดักแด เมื่อนําไปบริโภคจะมี รสชาติขม ในการเลี้ยงจะใชเฉพาะใบมันสําปะหลัง ระยอง 5 (ใบใหญ กานแดง ไดดักแดที่มีรสชาติอรอย และแข็งแรงที่สุด) ระยอง 9 และกําแพงแสน เทานั้น ผูเลี้ยงเคยประสบปญหาหนอนแหงตาย สังเกตพบวา มาจากยากันยุง สวนการเลี้ยง ผูเลี้ยงดําเนินการในลักษณะแยกกันเลี้ยงตามบานพักอาศัยของตนเอง อายุ ตั้งแตเริ่มฟกจากไขเปนหนอนจนสรางรัง 15-22 วัน วงจรชีวิตทั้งหมด 45 วัน เลี้ยงอยูบนชั้นที่ปูดวยมุง เขียว 5.3 จังหวัดอํานาจเจริญ (1) กลุมเลี้ยงไหมอีรี่บานปากอ ตําบลปากอ อําเภอชานุมาน สงสมาชิกไปอบรมการเลี้ยง ไหมอีรี่ 8 คน ตั้งป พ.ศ. 2548 แลวกลับมาทําการเลี้ยงไดประมาณ 1 ปครึ่ง ในรูปของกลุม ไดผลผลิตครั้ง ละ 40-50 กิโลกรัม ตอมาประสบปญหาตัวหนอนตายโดยไมทราบสาเหตุในระยะวัย 4 และ 5 แกไขไมได จึงหยุดทําการผลิตไป
  • 17. 7 กระบวนการและกิจกรรมการผลิต -การจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการเพาะเลี้ยง ปกติผูเลี้ยงทําการเลี้ยงใน บาน หรือมุมบาน (กรณีบานชั้นเดียว) และใตถุนบาน (กรณีบานสองชั้น) อุปกรณที่ใชประกอบดวยกระดง ในวัย 1 ถึง 3 แลวตอดวยชั้นเลี้ยงที่ตอเปนโครงไม ประมาณ 3 ชั้น กวาง 1.20 เมตร ยาว 3 เมตร รายละ 2 ชุด ซึ่งอุปกรณที่ตองจายเงินซื้อคือมุงเขียว ราคามวนละ 250 บาท กวาง 1.20 เมตร ยาว 12 เมตร ใช จํานวน 2 มวน เลี้ยงไดรุนละประมาณ 12 กิโลกรัม -การเตรียมไขไหม ในการเลี้ยงครั้งแรก ผูเลี้ยงทําการขอพันธุจากโครงการฯ สําหรับการเลี้ยงรุนตอมา ผูเลี้ยงทําการเพาะพันธุเอง หากเก็บพันธุไมได หรือไขไมฟก จะขอยืมจากเพื่อน บาน และหากตายหมด จะขอการสนับสนุนใหมจากโครงการ -การจัดการวัตถุดิบ ผูเลี้ยงเก็บใบมันสําปะหลังจากแปลงของตนเองมาทําการ เลี้ยง -การเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต ผูเลี้ยงทําการเลี้ยงหนอนไหมดวย ใบมันสําปะหลังตลอดวงจรชีวิต เมื่อไดผลผลิตรังไหมแลว จะทําการตัดรังแยกเอาดักแดออก ไปจําหนาย ใหคนในหมูบาน สวนที่เปนรัง จะรวบรวมมารวมกันจัดการฟอก สาวเสนดาย และทอผาในรูปของกลุม -ตนทุนการผลิตรังไหม ประกอบดวย ตนทุนคงที่ใชมุงเขียวใชจํานวน 2 มวน ๆ ละ 250 บาท กระดง 3 ใบ สวน รายการอื่นประเมินไมได เนื่องจากเปนการเลี้ยงในบาน ตนทุนผันแปร ประกอบดวยคาน้ํามันเชื้อเพลิงในการเดินทางไปเก็บใบ มันสําปะหลัง การจัดการผลผลิตของกลุม (1.1) ผลผลิตตัวดักแด ผูเลี้ยงสามารถจําหนายสดในชุมชน ภายหลังจากตัดรัง และแยกตัวดักแดออกมาจําหนาย ไดราคากิโลกรัมละ 100 บาท โดยปริมาณผลผลิตยังไมเพียงพอกับ ความตองการของตลาด (1.2) รังไหม คุณภาพรังและเสนใยดี ขาวสะอาด โดยกลุมนํามาทําเสนดายเอง อีกสวนหนึ่งนํามาทําดอกไมประดิษฐ (1.3) การทําเสนดาย กรรมวิธีการฟอกรังไหม โดยสรุป นํารังไหมแชน้ําดาง 1 คืน แลวนํามาตม ลางน้ําจํานวน 3 ครั้ง ในการลางครั้งที่ 4 จะใสน้ํายาปรับผานุม ปนดวยเครื่องซักผาจนฟู ดี แลวนํามาตากใหแหง กอนนําไปปนเปนดายอีกตอหนึ่ง (1.4) การทอผา ทางกลุมสามารถนําดายมาทอเปนผาเมตร เคยจําหนายได เมตรละ 300 บาท จําหนายใหโครงการฯ และชาวบานทั่วไป
  • 18. 8 (1.5) กลุมฯ หยุดทําการเลี้ยงไหมอีรี่ เนื่องจากปญหาดักแดตายในวัย 4-5 โดย หาสาเหตุไมได ทั้ง ๆ ที่ในระยะแรกนาจะไปไดดี สมาชิกจึงหันไปประกอบอาชีพอื่นแทน (รับจางนอกพื้นที่) ซึ่งมีรายไดดีกวาการเลี้ยงไหมอีรี่จากสวนที่เหลือจากการตาย (2) กลุมทอผาพื้นบานอําเภอพนา ขอรวมไปอบรมกับกลุมอําเภอชานุมาน เดิมเลี้ยงไหม จุลและจิมทอมสันป และเกิดปญหาในการเลี้ยง จึงขอไปดูงานแตยังไมตัดสินใจเลี้ยง เนื่องจากไมมีวัตถุดิบ ในหมูบาน เพราะเปนพื้นที่นา 5.4 จังหวัดรอยเอ็ด กลุมเลี้ยงไหมอีรี่บานใหมสามัคคี ตําบลหนองใหญ อําเภอโพนทอง เปนกลุมสงเสริมใหม ที่โครงการฯ ยายฐานมาจากอําเภอชานุมาน จังหวัดอํานาจเจริญ เลี้ยงได 1 ป 4 รุน ทําการเลี้ยงแบบ รวมกลุม จํานวนสมาชิก 9 คน ใชพื้นที่สาธารณะของหมูบานจํานวน 4 ไร ปลูกมันสําปะหลังเพื่อนําใบมา ใชในการเลี้ยงหนอนไหมอีรี่ อุปกรณที่ใชเลี้ยงอยูในโรงเรือนทอเสื่อเดิม ประกอบดวยกระดงและจอ สมาชิก คนใดตองการเลี้ยงใหมาดําเนินการ ณ สถานที่ตั้งกลุมฯ เลี้ยงไดรังไหมสดครั้งละ 50 กิโลกรัม กระบวนการและกิจกรรมการผลิต -การจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการเพาะเลี้ยง ผูเลี้ยงใชอาคาร เอนกประสงคของหมูบาน อุปกรณที่ใชประกอบดวยกระดง 100 ใบ และชั้นเลี้ยงที่ตอเปนโครงไม ประมาณ 6 ชั้น กวาง 1.20 เมตร ยาว 3 เมตร รายละ 6 ชุด และจอจํานวน 50 ใบ ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากโครงการ และการลงทุน 6,000 บาท ในรูปของกลุม -การเตรียมไขหนอนไหม ผูเลี้ยงทําการเพาะพันธุเองในตะกรา 5 ใบ ฝาชีครอบ 5 ใบ -การจัดการวัตถุดิบ ผูเลี้ยงดําเนินการปลูกมันสําปะหลังในรูปของกลุมฯ จํานวน 4 ไร หากวัตถุดิบไมเพียงพอ จะไปเก็บจากแปลงของสมาชิกในกลุมฯ -การเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต ผูเลี้ยงดําเนินการเลี้ยงดวยใบ มันสําปะหลังอยางเดียว สมาชิกจะจัดเวรกันในการเก็บใบมันฯ และดูแลการเลี้ยง เมื่อไดผลผลิตรังไหมแลว จะทําการตมแลวสาวเสนไหม เหมือนการทําเสนไหมหมอน -ตนทุนการผลิตรังไหม ประกอบดวย ตนทุนคงที่ประกอบดวยชั้นเลี้ยง 6,000 บาท กระดง 5,000 บาท จอ 7,500 บาท ตะกราฟกไข 500 บาท ฝาชี 100 บาท ตนทุนผันแปร ประกอบดวยคาน้ํามันเชื้อเพลิงในการเดินทางไปเก็บใบ มันสําปะหลังตอ1 รอบการเลี้ยง ประมาณ 300 บาท
  • 19. 9 ประสบการณการเลี้ยง (1) ผลผลิตตัวดักแด ดักแดที่ตมและสาวไหมแลว ผูเลี้ยงสามารถจําหนายใน ชุมชน กิโลกรัมละ 100 บาท โดยปริมาณผลผลิตไมเพียงพอกับความตองการของตลาด (2) รังไหม คุณภาพรังดี โดยกลุมฯ นํามาทําเสนดายเอง (3) การทําเสนดาย ผูเลี้ยงใชกรรมวิธีการตมรังไหม โดยนํารังไหมตมในน้ํารอนจัด มิฉะนั้น หากรังไหมจมจะสาวไหมไมได วิธีการสาวไหมนี้ใชวิธีการสาวไหมบานทั่วไป โดยตมทั้งรัง สาวได เพียงวันละ 2 กิโลกรัมรังไหม จะไดเสนไหมเพียง 2 ขีด หลังจากนั้น จะดึงใยออกเขาเครื่องปนดายอีกครั้ง หนึ่ง ซึ่งเครื่องปนดาย ไดรับการสนับสนุนใหยืมจากโครงการฯ วิธีการนี้ มีความยุงยากไมแตกตางจากการ ตัดรังฟอก โดยราคาเสนไหมที่ขายได กิโลกรัมละ 1,000 บาท (4) การทอผา ทางกลุมฯ สามารถนําดายมาทอเปนผาเมตร จําหนายไดเมตรละ 400 บาท จําหนายใหโครงการฯ โดยกลุมมีรายไดจากการขายผาแลวจํานวน 40 เมตร มูลคา 16,000 บาท (5) กลุมฯ ชะลอการเลี้ยงไหมอีรี่ เนื่องจากการเลี้ยงในรุนหลัง ๆ มีปญหาดักแด ตายในวัย 4 และ 5 โดยหาสาเหตุไมได แตสันนิษฐานวานาจะมาจากหลายปจจัย ไดแกอากาศรอน สถานที่ไมเหมาะสม และอาคารไมมีอากาศถายเท ทั้ง ๆ ที่ผลการเลี้ยงในระยะแรกไดผลดี ปจจุบันสมาชิก ที่เคยเลี้ยง ไดหันไปประกอบอาชีพอื่นแทน (ทอเสื่อขาย) ซึ่งมีรายไดดีกวาการเลี้ยงไหมอีรี่ จากผลผลิตที่ เหลือจากการตายพบวาใหรังไหมอยูในเกณฑคุณภาพดี แตมีปญหาใบมันสําปะหลังในแปลงปลูกไม สมบูรณ ตองเก็บเพิ่มจากแปลงขางนอก (6) สรุป กลุมผูเลี้ยงยังมีองคความรูในดานนี้ไมมากนัก ใชระบบการทํางานแบบ กลุม โดยใครมาทํางาน จะมีสมุดบัญชีบันทึกการทํางาน ใชวิธีการเลี้ยงในกระดง เขาจอ ใชวิธีการสาวเสน เหมือนไหมบาน แบบตมทั้งรัง ไมตองแยกตัวดักแดออกจากรังกอน อยางไรก็ตาม เมื่อโครงการฯ นํา อุปกรณการสนับสนุนกลับ การเลี้ยงจึงชะลอไป 5.5 จังหวัดขอนแกน กลุมเลี้ยงไหมอีรี่โสกนกเต็งพัฒนา สมาชิกเริ่มตนจํานวน 15 คน ปจจุบันเหลือทําจริง 5 คน จากสมาชิก 40-50 คน แบงเปน 5 กลุมยอย เพื่อเปนจุดถายทอดเทคโนโลยีใหผูสนใจไดมาเยี่ยมชมการ ผลิตและกิจกรรมตาง ๆ ไดกระจายเต็มหมูบาน ปจจุบัน ทําเลี้ยงอยูที่เดียวกันคือบริเวณใตถุนบานประธาน กลุม มีประสบการณการเลี้ยงมาแลวเปนเวลา 4 ป ปละ 3 ครั้ง เลี้ยงแบบกลุม ใชพันธุมันสําปะหลังทั่วไป แตไมมีใบมันสําปะหลังตลอดป เนื่องจากมีการจัดทําแปลงปลูกมันสําปะหลังเฉพาะของกลุม จํานวน 10 ไร เลี้ยงรุนละ 15-20 กิโลกรัม เปนรังไหม 2-3 กิโลกรัม ดักแด 12 กิโลกรัม เพราะประสบปญหาไขฟกไม เปนตัวเมื่อทําการเพาะฟกเอง เชนเดียวกับที่รอยเอ็ด ผูประสานงานโครงการที่มหาวิทยาลัยขอนแกนจึงสง
  • 20. 10 ตัวออนมาใหเลี้ยง แลวรับซื้อรังไหมพรอมดักแดระยะ 5 ไปจัดการเอง นอกจากนี้ ยังมีปญหาไหมวัย 4 และ 5 ตายในลักษณะตัวยุบ แหง สันนิษฐานวานาจะมาจากควันอาหาร กระบวนการและกิจกรรมการผลิต -การจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการเพาะเลี้ยง ผูเลี้ยงทําการเลี้ยงบริเวณ ใตถุนบาน อุปกรณที่ใชในการเลี้ยง ประกอบดวยชั้นเลี้ยงที่ตอเปนโครงไม ประมาณ 3 ชั้น กวาง 1.20 เมตร ยาว 3 เมตร จํานวน 3 หลัง มุงเขียว จํานวน 2 มวน จอ 10 ใบ ตาขายปองกันสัตวเลี้ยง 2 กิโลกรัม -การเตรียมไขไหม กลุมผูเลี้ยงไดรับการสนับสนุนจากทีมวิจัย มหาวิทยาลัยขอนแกน -การจัดการวัตถุดิบ ผูเลี้ยงดําเนินการปลูกมันสําปะหลังในรูปของกลุมฯ จํานวน 10 ไร -การเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต ผูเลี้ยงดําเนินการเลี้ยงดวยใบมัน สําปะหลัง ซึ่งจัดการเก็บจากแปลงปลูกของกลุมฯ โดยกลุมฯ จะจัดเวรใหสมาชิกมาทําการเลี้ยง เมื่อได ผลผลิตรังไหมแลว จะทําการตัดรังแยกเอาดักแดออกนํามาบริโภคในกลุมเปนหลัก สวนที่เปนรัง นํามาสาว เสน และทอผา -ตนทุนการผลิตรังไหม ประกอบดวย ตนทุนคงที่ชั้นเลี้ยง 7,500 บาท มุงเขียว 500 บาท จอ 1,000 บาท อวน 220 บาท ตนทุนผันแปร ประกอบดวยคาน้ํามันเชื้อเพลิงในการเดินทางไปเก็บใบ มันสําปะหลัง ระยะทางประมาณ 2 กิโลเมตร รุนละประมาณ 300 บาท ประสบการณการเลี้ยง (1) ผลผลิตตัวดักแด กลุมผูเลี้ยงสามารถจําหนายสดในชุมชน ภายหลังจากตัดรัง และแยกตัวดักแดออกมา ไดกิโลกรัมละ 60 บาท และจําหนายตัวหนอนในวัย 5 กอนเขาจอ ในราคา กิโลกรัมละ 80 บาท ผูซื้อนําไปบรรจุกระปองจําหนาย โดยปริมาณผลผลิตไมเพียงพอกับความตองการของ ตลาด (2) รังไหม คุณภาพรังดี โดยกลุมฯ นํามาทําเสนดายเอง (3) การทําเสนดาย ผูเลี้ยงใชกรรมวิธีการตมลอกกาว เสนดายจําหนายให โครงการฯ ในราคากิโลกรัมละ 650 บาท (4) การทอผา ทางกลุมฯ สามารถนําดายมาทอเปนผาเมตร จําหนายไดเมตรละ 200 บาท และผาพันคอ กวาง 30 เซ็นติเมตร ยาว 1.8 เมตร ราคาผืนละ 120 บาท จําหนายใหโครงการฯ
  • 21. 11 (5) ปจจุบัน กลุมฯ ชะลอการเลี้ยงไหมอีรี่ เนื่องจากผลการเลี้ยงในรุนหลังมีปญหา ดักแดเริ่มตายตั้งแตในวัย 3 โดยไมทราบสาเหตุ แตสันนิษฐานวานาจะมาจากสถานที่ไมเหมาะสม (ใตถุน บาน) ที่มีสภาพการตั้งบานเรืองติดกันเปนกลุมใหญ 5.6 จังหวัดพะเยา (1) กลุมผูเลี้ยงไหมอีรี่บานโซ มีผูเลี้ยงในปจจุบันจํานวน 5 ราย และมีการขยายไปเลี้ยงที่ บานหนองบัว ตําบลตา อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย กลุมนี้ สามารถเลี้ยงไดประจํา และเลี้ยงติดตอกันโดย ทําการเพาะไขไหมเอง ใชใบละหุงที่ปลูกไวเปนหลักในการเลี้ยง ไมมีการปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ ผลผลิต แบงออกเปนสองสวน คือ ตัวดักแด และรังไหม การเลี้ยงแตละรุน ผูเลี้ยง 1 ราย จะไดผลผลิตประมาณ 20 กิโลกรัม จําแนกเปนดักแด 18 กิโลกรัม รังไหม 2 กิโลกรัม กระบวนการและกิจกรรมการผลิต -การจัดเตรียมโรงเรือนและอุปกรณในการเพาะเลี้ยง ทําการเลี้ยงที่มุมบาน (กรณี บานชั้นเดียว) และใตถุนบาน (กรณีบานสองชั้น) อุปกรณที่ใชประกอบดวยกระดง ชั้นเลี้ยงที่ตอเปนโครงไม และมุงเขียว -การเตรียมไขไหม ผูเลี้ยงไดรับไขไหมครั้งแรกจากโครงการฯ จากนั้นเก็บและ เพาะพันธุเอง ซึ่งทําไดอยางตอเนื่อง เลี้ยงไดปละ 10 ครั้ง ตามรุนกัน -การจัดการวัตถุดิบ ผูเลี้ยงปลูกละหุงบริเวณรั้วบานและในไร ไมมีการใชใบมัน สําปะหลัง เนื่องจากไมไดปลูก -การเลี้ยงและการดูแล และการจัดการผลผลิต ผูเลี้ยงดําเนินการเลี้ยงหนอนไหม ดวยใบละหุงตลอดชวงการเลี้ยง ซึ่งจัดการเก็บจากแปลงปลูกของตนเอง เมื่อไดผลผลิตรังไหมแลว จะทํา การตัดรังแยกเอาดักแดออกไปจําหนายใหคนในหมูบาน สวนที่เปนรัง จะรวบรวมเพื่อจําหนายใหโครงการฯ ตอไป โดยเคยนํามาสาวเสนดายดวยวิธีการฟอกรังดวยตนเอง -ตนทุนการผลิตรังไหม ประกอบดวย ตนทุนคงที่ประเมินไมได เนื่องจากผูเลี้ยงทําเอง สวนมุงเขียวใชจํานวน 2 มวน ๆ ละ 250 บาท ตนทุนผันแปร ประกอบดวยคาน้ํามันเชื้อเพลิงในการเดินทางไปเก็บใบละหุง รุนละ 400 บาท (ระยะทางประมาณ 5 กิโลเมตร) ประสบการณกลุม (1.1) ผลผลิตตัวดักแด ผูเลี้ยงสามารถจําหนายสด ภายหลังจากตัดรังและ แยกตัวดักแดออกมา ไดตั้งแตกิโลกรัมละ 100 บาท จนถึง 200 บาท ในรูปของการขายปลีก โดยปริมาณ ผลผลิตไมเพียงพอกับความตองการของตลาด