SlideShare a Scribd company logo
โครงการธนาคารข้า ว
  " ... โครงการที่ได้ปฏิบติมาจนถึงเดียวนี้ก็ได้ใช้ขาวเป็น
                             ั             ๋       ้
   จำานวนมาก สำาหรับส่งไปสงเคราะห์ในบริเวณชายแดน
   โดยอาศัยการส่งไปให้แก่เจ้าหน้าที่เพือที่จะได้แจกจ่าย
                                             ่
    แก่ผที่ขาดแคลน นอกจากนี้ก็ได้ปฏิบัติอีกวิธีหนึ่ง คือ
         ู้
  นอกจากจะไปแจกแก่ผที่ขาดแคลนคือ ได้ไปตั้งเป็นคลัง
                          ู้
   เป็นฉางข้าวในบางแห่ง คือ บางแห่งมีความขาดแคลน
  ข้าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งปีที่แล้วก็มความเดือดร้อน เพราะ
                                         ี
   ว่ามีการขาดนำ้า ทำาให้ข้าไม่ได้ผลเพียงพอจึงได้ให้ขาว้
   จำานวนหนึ่งแก่หมูบานและตั้งเป็นฉางข้าว กล่าวคือ ให้
                      ่ ้
  ข้าวไว้และก็ถ้าต่อมาเขามีรายได้เพิ่มขึ้นหรือปลูกข้าวได้
  ก็เอามาคืน โดยมีดอกเบียเพิมเติมเข้ามา ข้าวทีให้ไปจึง
                               ้      ่          ่
    เป็นข้าวที่หมุนเวียนและทำาให้ประชาชนสามารถที่จะ
   เข้าใจถึงการประหยัดถึงวิธที่จะร่วมมือกัน มีชีวิตเป็นก
                                    ี
                               ลุ่ม ..."
ทีม าของโครงการธนาคารข้า ว
  ่
     ปัจจุบน ประเทศไทยมีผลผลิตข้าวปีละประมาณ ๑๙ ล้านตัน เป็นประเทศส่ง
              ั
 ออกข้าวรายใหญ่รายหนึ่งของโลก นับเป็นประเทศที่มีธญพืชและทรัพยากร
                                                       ั
 อุดมสมบูรณ์ยิ่งแห่งหนึง แต่ก็ยังมีผคนในชนบทจำานวนมาก ภายหลังจาก
                        ่           ู้
 ที่ได้เก็บเกี่ยวข้าวในนาของตนไปแล้ว กลับขาดแคลนข้าวที่จะบริโภค หรือใช้
 ทำาพันธุ์ในฤดูเพาะปลูกครั้งต่อไป
        การขาดแคลนข้าวของชาวนาในชนบทเป็นความเดือดร้อนอย่างยิ่ง ครัว
 เรือนที่ยากจนมักแก้ไขปัญหา โดยวิธีกู้ยืมจากพ่อค้าคนกลาง ซึ่งอาจจะกู้ยืม
 เป็นข้าว หรือเป็นเงิน โดยต้องเสียดอกเบียในอัตราที่สูงมาก เฉลี่ยแล้วราวร้อย
                                           ้
 ละ ๓๐-๑๒๐ บาทต่อปี ในบางกรณีกต้องกู้ยืมโดยวิธีการขายข้าวเขียว ซึ่งเป็น
                                         ็
 ผลให้ผกู้เสียเปรียบอย่างมาก ทำาให้ผลผลิตข้าวที่ได้ไม่เพียงพอสำาหรับการ
           ู้
 บริโภค และการชำาระหนี้ ในที่สุดก็กลายเป็นผูที่มหนี้สินพอกพูน ตกอยู่ใน
                                             ้ ี
 สภาพที่ยากจน ล้าหลัง ไม่สามารถพึงตนเองได้ และเป็นที่มาของปัญหาการ
                                       ่
 พัฒนาด้านอื่น ๆ ต่อไปอีก
ทีม าของโครงการธนาคารข้า ว (ต่อ )
  ่
  การที่ประเทศเรามีธัญพืชมากพอทีจะเลี้ยงดูคนทั้งประเทศ แต่ก็ยังมีผที่ไม่มี
                                    ่                             ู้
 ข้าวพอกินเป็นสองภาพที่ขดแย้งกันของชนบทไทย ปรากฏการณ์เช่นนี้เกิดขึ้น
                          ั
 ด้วยปัจจัยหลายประการประกอบกัน นับแต่ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน
 และนำ้า ประสิทธิภาพของการผลิต การควบคุมระบบตลาด กลไกราคา และ
 ภาวะการค้าต่างประเทศ แม้ว่า รัฐบาลจะกำาหนดนโยบายและวางแผนที่จะ
 แก้ไขปัญหาแหล่านี้ดวยมาตรการต่าง ๆ จำานวนมาก แต่การเปลียนแปลง
                      ้                                     ่
 แก้ไขก็เป็นเรื่องระยะยาวที่มองไม่เห็นผลในทันที
วัต ถุป ระสงค์ข องการจัด ตั้ง  
  1.เพือให้เป็นไปตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ 
        ่
  2.เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของราษฎรที่ประสบทุพภิกขภัยในถินทุรกันดาร 
                                                                 ่
  3.เพื่อให้ราษฎรผูประสบภัยมีข้าวพอเพียงต่อการบริโภคตลอดปี 
                     ้
  4.เพื่อป้องกันผูฉวยโอกาสที่จะเข้าแสวงหาผลประโยชน์อันไม่เป็นธรรมแก่
                   ้
  ราษฎรผูประสบภัยซึ่งยากจน
            ้
  และขาดแคลนข้าวเพื่อบริโภค 
  5.เพื่อเป็นพืนฐานให้ราษฎรได้เข้าใจหลักการเบืองต้นของระบบสหกรณ์ซึ่งจะ
               ้                               ้
  ได้ดำาเนินการที่สมควรต่อไป 
  6.เพื่อสร้างเสริมอุปนิสัยของราษฎรผูประสบภัยให้รู้จักอยู่ร่วมกันในระบอบ
                                      ้
  ประชาธิปไตย โดยการเอื้อเฟื้อเผือแผ่
                                  ่
  มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและผูอื่น อีกทั้งยังเป็นการกระตุ้น
                                                 ้
  ให้ราษฎรมีความขยันขันแข็ง
  ในการประกอบอาชีพ 
  7.เพื่อเป็นพืนฐานในการสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่าง
                 ้
  ราษฎรกับเจ้าหน้าที่ 
  8.เพื่อเป็นการช่วยเหลือราษฎรให้รู้จักประหยัดทรัพย์
หลัก การตั้ง โครงการธนาคารข้า ว  
 1.จัดตั้งในหมูบานที่มประชาชนร้องขอหรือทราบว่าราษฎรขาดแคลนเพื่อ
                   ่ ้       ี
 บริโภคและไม่
 สามารถดำาเนินการจัดหาข้าว เพือบริโภคในหมูบ้านได้เพียงพอ 
                                     ่            ่
 2.ไม่จัดตั้งซำ้าซ้อนหรือใกล้เคียงกับหมู่บานที่มการจัดตั้งโครงการธนาคารข้าว
                                          ้     ี
 ของหน่วยงานอื่นทีได้ดำาเนินการอยู่
                         ่
 3.พิจารณาพื้นทีที่จัดตั้งโดยคำานึงถึงประโยชน์ที่จะได้รับต่อหมู่บานบริวาร 
                       ่                                         ้
 4.ดำาเนินการจัดตั้งในหมูบานที่มความปลอดภัยในการควบคุมและติดตามผล 
                               ่ ้ ี
 5.ไม่เป็นหมู่บานที่มแนวโน้มที่จะมีการโยกย้าย 
                 ้         ี
แนวพระราชดำา ริ เกี่ย วกับ โครงการธนาคารข้า ว
  พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จฯ สู่ภมภาคต่าง ๆ ในท้องถิ่นชนบทของ
                                           ู ิ
  ประเทศอย่างสมำ่าเสมอมานับสิบปี ด้วยเหตุนี้ พระองค์จึงทรงเห็นสภาพความ
  ยากจน เดือดร้อนและเข้าพระราชหฤทัยอย่างลึกซึ้งแจ่มชัดถึงสาเหตุแห่ง
  ปัญหา พระองค์ทรงริเริ่มและพระราชทานแนวพระราชดำาริในการแก้ไขปัญหา
  ในระดับต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ทรงตั้งพระราชหฤทัยที่จะให้ประชาชนพึ่ง
  ตนเอง ให้พึ่งพาอาศัยปัจจัยภายนอกให้นอยที่สุด ในบางเรื่องทรงเห็นว่าการ
                                        ้
  จัดสรรทรัพยากรและโครงสร้างพืนฐานที่สำาคัญ ๆ จะช่วยแก้ไขปัญหาได้ใน
                                 ้
  ระยะยาวและในบางกรณีก็ทรงเห็นว่า จำาเป็นต้องมีมาตรการแก้ไขความเดือน
  ร้อนเฉพาะหน้าของราษฎร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเรื่องข้าว ทรงพยายามทำา
  ทุกวิถีทางในเกษตรกรมีข้าวพอกินอาจกล่าวได้ว่า
แนวพระราชดำา ริ เกี่ย วกับ โครงการธนาคารข้า ว (ต่อ )
        "ธนาคารข้า ว" เป็นผลมาจากพระปรีชาดังกล่าว เป็นความพยายามด้าน
  หนึ่งที่จะแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และเป็นพะราชประสงค์โดยตรงที่จะให้ทาง
  ราชการไปช่วยเหลือในการจัดตั้งธนาคารข้าว เพือประโยชน์แก่เกษตรกรที่
                                                 ่
  ยากจนโดยทั่วไป อาจกล่าวได้ว่าพระองค์ทรงมีบทบาทสำาคัญยิ่งในการก่อรูป
  "ธนาคารข้าว" ขึ้น และทำาให้ธนาคารข้าวกลายเป็นแนวคิดที่แพร่หลาย เป็น
  นโยบายของรัฐและเป็นแผนงานสำาคัญแผนหนึ่งของการพัฒนาชนบทยากจน
  ที่ผานมา
      ่
   พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนับสนุนให้มการจัดตั้งธนาคารข้าว ขึ้น
                                               ี
  ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ เมือครั้งทรงเสด็จพระราชดำาเนินไปเยี่ยมราษฎรชาวเขา
                         ่
  เผากะเหรี่ยง ในเขตอำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้พระราชทานข้าว
  เปลือกจำานวนหนึ่งให้แก่ผใหญ่บานหลายหมู่บาน เพื่อให้เป็นทุนเริ่มดำาเนิน
                           ู้     ้          ้
  กิจการธนาคารข้าว ได้พระราชทานแนวทางดำาเนินงานไว้อย่างละเอียด
  ชัดเจน ดังบันทึกดังต่อไปนี้
แนวพระราชดำา ริ เกี่ย วกับ โครงการธนาคารข้า ว (ต่อ )
  "ให้มคณะกรรมการควบคุม ทีคัดเลือกจากราษฎรในหมูบาน เป็นผูเก็บรักษา
        ี                     ่                         ่ ้        ้
  พิจารณาจำานวนข้าวที่จะให้ยืมและรับข้าวคืน ตลอดจนจัดทำาบัญชีทำาการของ
  ธนาคารข้าว ราษฎรที่ต้องการข้าวไปใช้บริโภคในยามจำาเป็น ให้ลงบัญชียืม
  ข้าวไปใช้จำานวนหนึ่ง เมือสามารถเก็บเกียวข้าวได้แล้ว ก็นำามาคืนธนาคาร
                          ่              ่
  พร้อมด้วยดอกเบี้ยจำานวนเล็กน้อยตามแต่ตกลงกัน ซึ่งข้าวที่เป็นดอกเบียดัง
                                                                       ้
  กล่าวก็จะเก็บรวมไว้ในธนาคาร และถือเป็นสมบัติของส่วนรวม สำาหรับ
  กรรมการควบคุมข้าวนั้น มีสิทธิในการขอยืมข้าวเท่ากับราษฎรทุกประการ
  ต้องอธิบายให้กรรมการและราษฎรเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง ถึงหลักการของ
  ธนาคารข้าว โดยพยายามชี้แจงอย่างง่าย ๆ แต่ต้องให้แน่ใจว่า ทุกคนเข้าใจดี
  กรรมการและราษฎรก็ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อหลักการ เมือยืมข้าวจากธนาคาร
                                                         ่
  ข้าว ซึ่งเป็นของส่วนรวมไปใช้ และถึงกำาหนดเวลาที่สัญญาไว้ ก็ต้องนำาข้าวมา
  คืนพร้อมด้วยดอกเบีย นอกจากว่ามีเหตุสุดวิสัย ซึ่งต้องชี้แจ้งให้กรรมการ
                      ้
  พิจารณาข้อเท็จจริง ราษฎรต้องร่วมมือกันสร้างยุ้งที่แข็งแรง ทังนีหากปฏิบติ
                                                               ้ ้       ั
  ตามหลักการที่วางไว้ จำานวนข้าวที่หมุนเวียนในธนาคารจะไม่มวันหมด แต่จะ
                                                                ี
  ค่อยๆ เพิ่มจำานวนขึ้น และจะมีข้าวสำาหรับบริโภคตลอดไปจนถึงลูกหลาน ใน
  ที่สดธนาคารข้าวก็จะเป็นแหล่งที่รักษา ผลประโยชน์ของราษฎรในหมูบาน
      ุ                                                              ่ ้
  และเป็นแหล่งอาหารสำารองของหมูบานด้วย“
                                    ่ ้


การดำา เนิน การได้ต ิด ตามผล
สรุป
    ธนาคารข้าว เป็นโครงการในเชิงการให้สวัสดิการสังคม สิ่งที่เกิดขึนเท่ากับ
                                                                     ้
 เป็นการโอนรายได้ (Transfer income) จากคนรวยไปยังคนจนและเป็นการ
 กระจายรายได้ททุกฝ่ายได้รับประโยชน์ ราษฎรมีแหล่งข้าวกลางของหมู่บานที่
                    ี่                                                    ้
 สามารถกูยืมไปบริโภคหรือทำาพันธุ์ โดยเสียดอกเบียในอัตราตำ่ากว่าอัตราซึ่ง
             ้                                      ้
 ต้องเสียให้แก่พอค้าคนกลางเป็นอันมาก ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนจากการ
                  ่
 อดอยากขาดแคลน ช่วยยกระดับฐานะความเป็นอยู่ และระดับรายได้ของ
 เกษตรกรทียากจน เป็นการแก้ปญหาที่ได้ผลและตรงจุดประการหนึ่ง
               ่                   ั
  สิ่งที่ได้มานอกจากนัน เป็นเรื่องที่มองไม่เห็นผลโดยตรง แต่เป็นเรื่องทีสำาคัญ
                          ้                                             ่
 ยิ่ง เพราะเป็นการสร้างพืนฐานสำาคัญของการพัฒนาสร้างความสมัครสมาน
                            ้
 สามัคคีของชุมชนในการ ที่จะเรียนรู้และดำาเนินการแก้ไขปัญหาของตนซึ่งเป็น
 สิ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงยำ้าอยู่เสมอ ในเรื่องความเข้าใจของ
 ราษฎร ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ และความรู้สึกมีส่วนร่วม พระองค์ทรง
 เห็นว่า สิ่งเหล่านี้ปลูกฝังได้ ธนาคารข้าวอาจทำาหน้าทีเป็นโรงเรียนที่ดี ในขณะ
                                                        ่
 เดียวกัน ก็เป็นตัวชี้ถงประสิทธิภาพ และความเข้มแข็งของชุมชน นั้น ๆ
                        ึ
 ธนาคารข้าวที่ประสบความสำาเร็จมิได้บรรลุเพียงจุดมุงหมายพืนฐานในการ
                                                      ่       ้
 บรรเทาการขาดแคลนข้าวเท่านั้น แต่ยังได้สร้างกิจกรรมต่อเนื่องอืน ๆ ที่ส่งผล
                                                                   ่
 ต่อการพัฒนาคุณภาพ สร้างการมีสวนร่วมภาวะผูนำา และความร่วมมือในระดับ
                                      ่           ้
 ชุมชนอีกด้วย
สรุป (ต่อ )
    กิจกรรมธนาคารข้าวในท้องที่หลายแห่งเป็นที่มาของความคิดสร้างสรรค์ต่าง
 ๆ ของชาวบ้านที่ร่วมใจกันหาวิธีการนำาข้าวมาเข้ากองทุน และในอีกหลายท้อง
 ที่ ผลประโยชน์ที่เพิมพูนขึ้นจากการดำาเนินกิจกรรมธนาคารข้าว ถูกนำามาใช้
                      ่
 ในการพัฒนาท้องถิ่นของตนเป็นการสร้างความเชื่อมั่นต่อความสำาเร็จที่เกิดขึ้น
 จากการร่วมมือกันใน จุดเล็ก ๆ ทีพร้อมจะเติบโตต่อไป
                                 ่
  รัฐบาลโดยหน่วยงานต่าง ๆ โดยเฉพาะกรมการพัฒนาชุมชน ได้รับสนอง
 พระบรมราโชบาย ขยายขอบเขตการดำาเนินงานธนาคารข้าวออกไปอย่าง
 กว้างขวาง จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๒๘ มีธนาคารข้าวทีจัดตั้งขึ้นในท้องถิ่นต่างๆ ทัว
                                               ่                         ่
 ประเทศ มากกว่า ๔,๓๐๐ แห่ง ครอบคลุมพืนที่ ๕๗ จังหวัด จำานวนข้าว
                                          ้
 หมุนเวียนในธนาคารข้าวมากกว่า ๑๔.๕ ล้านกิโลกรัม หลักการดำาเนินงาน
 ของธนาคารข้าว ปัจจุบนสามารถปรับใช้ได้กับสภาพปัญหาและความจำาเป็นที่
                           ั
 แตกต่างกันของแต่ละพืนที่ เช่น ลักษณะการให้บริการ ซึ่งมีทั้งให้เปล่า ให้โดย
                         ้
 แลกแรงงาน ให้ยืมหรือให้กู้สำาหรับทุนดำาเนินงานนั้น อาจหาทุนได้หลายวิธี
 เช่น การรับบริจาค การเรียกหุ้น ฯลฯ และในกรณีที่ไม่สามารถจัดตั้งกองทุน
 เริ่มต้นขี้นมาได้เอง ก็อาจเสนอแผนงานเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐ
 ได้

More Related Content

Similar to โครงการธนาคารข้าว

แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
Vitsanu Nittayathammakul
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
โครงการธนาคารโค กระบือ
โครงการธนาคารโค กระบือโครงการธนาคารโค กระบือ
โครงการธนาคารโค กระบือtugtig_nrcp
 
Book sam
Book samBook sam
Book sam
nid_pimsiri
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูpoo_28088
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านthnaporn999
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่Babymook Juku
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2Thitapa1996
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่Thitapa1996
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์Moddang Tampoem
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
pop Jaturong
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
pop Jaturong
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่Chung Bowji
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำBabymook Juku
 

Similar to โครงการธนาคารข้าว (20)

แผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for lifeแผนการตลาด Rice for life
แผนการตลาด Rice for life
 
Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
โครงการธนาคารโค กระบือ
โครงการธนาคารโค กระบือโครงการธนาคารโค กระบือ
โครงการธนาคารโค กระบือ
 
Korat model
Korat modelKorat model
Korat model
 
Book sam
Book samBook sam
Book sam
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ ใหม่
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่เกษตรทฤษฏีใหม่
เกษตรทฤษฏีใหม่
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ
 

โครงการธนาคารข้าว

  • 1. โครงการธนาคารข้า ว " ... โครงการที่ได้ปฏิบติมาจนถึงเดียวนี้ก็ได้ใช้ขาวเป็น ั ๋ ้ จำานวนมาก สำาหรับส่งไปสงเคราะห์ในบริเวณชายแดน โดยอาศัยการส่งไปให้แก่เจ้าหน้าที่เพือที่จะได้แจกจ่าย ่ แก่ผที่ขาดแคลน นอกจากนี้ก็ได้ปฏิบัติอีกวิธีหนึ่ง คือ ู้ นอกจากจะไปแจกแก่ผที่ขาดแคลนคือ ได้ไปตั้งเป็นคลัง ู้ เป็นฉางข้าวในบางแห่ง คือ บางแห่งมีความขาดแคลน ข้าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งปีที่แล้วก็มความเดือดร้อน เพราะ ี ว่ามีการขาดนำ้า ทำาให้ข้าไม่ได้ผลเพียงพอจึงได้ให้ขาว้ จำานวนหนึ่งแก่หมูบานและตั้งเป็นฉางข้าว กล่าวคือ ให้ ่ ้ ข้าวไว้และก็ถ้าต่อมาเขามีรายได้เพิ่มขึ้นหรือปลูกข้าวได้ ก็เอามาคืน โดยมีดอกเบียเพิมเติมเข้ามา ข้าวทีให้ไปจึง ้ ่ ่ เป็นข้าวที่หมุนเวียนและทำาให้ประชาชนสามารถที่จะ เข้าใจถึงการประหยัดถึงวิธที่จะร่วมมือกัน มีชีวิตเป็นก ี ลุ่ม ..."
  • 2. ทีม าของโครงการธนาคารข้า ว ่ ปัจจุบน ประเทศไทยมีผลผลิตข้าวปีละประมาณ ๑๙ ล้านตัน เป็นประเทศส่ง ั ออกข้าวรายใหญ่รายหนึ่งของโลก นับเป็นประเทศที่มีธญพืชและทรัพยากร ั อุดมสมบูรณ์ยิ่งแห่งหนึง แต่ก็ยังมีผคนในชนบทจำานวนมาก ภายหลังจาก ่ ู้ ที่ได้เก็บเกี่ยวข้าวในนาของตนไปแล้ว กลับขาดแคลนข้าวที่จะบริโภค หรือใช้ ทำาพันธุ์ในฤดูเพาะปลูกครั้งต่อไป การขาดแคลนข้าวของชาวนาในชนบทเป็นความเดือดร้อนอย่างยิ่ง ครัว เรือนที่ยากจนมักแก้ไขปัญหา โดยวิธีกู้ยืมจากพ่อค้าคนกลาง ซึ่งอาจจะกู้ยืม เป็นข้าว หรือเป็นเงิน โดยต้องเสียดอกเบียในอัตราที่สูงมาก เฉลี่ยแล้วราวร้อย ้ ละ ๓๐-๑๒๐ บาทต่อปี ในบางกรณีกต้องกู้ยืมโดยวิธีการขายข้าวเขียว ซึ่งเป็น ็ ผลให้ผกู้เสียเปรียบอย่างมาก ทำาให้ผลผลิตข้าวที่ได้ไม่เพียงพอสำาหรับการ ู้ บริโภค และการชำาระหนี้ ในที่สุดก็กลายเป็นผูที่มหนี้สินพอกพูน ตกอยู่ใน ้ ี สภาพที่ยากจน ล้าหลัง ไม่สามารถพึงตนเองได้ และเป็นที่มาของปัญหาการ ่ พัฒนาด้านอื่น ๆ ต่อไปอีก
  • 3. ทีม าของโครงการธนาคารข้า ว (ต่อ ) ่ การที่ประเทศเรามีธัญพืชมากพอทีจะเลี้ยงดูคนทั้งประเทศ แต่ก็ยังมีผที่ไม่มี ่ ู้ ข้าวพอกินเป็นสองภาพที่ขดแย้งกันของชนบทไทย ปรากฏการณ์เช่นนี้เกิดขึ้น ั ด้วยปัจจัยหลายประการประกอบกัน นับแต่ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน และนำ้า ประสิทธิภาพของการผลิต การควบคุมระบบตลาด กลไกราคา และ ภาวะการค้าต่างประเทศ แม้ว่า รัฐบาลจะกำาหนดนโยบายและวางแผนที่จะ แก้ไขปัญหาแหล่านี้ดวยมาตรการต่าง ๆ จำานวนมาก แต่การเปลียนแปลง ้ ่ แก้ไขก็เป็นเรื่องระยะยาวที่มองไม่เห็นผลในทันที
  • 4. วัต ถุป ระสงค์ข องการจัด ตั้ง   1.เพือให้เป็นไปตามพระราชประสงค์ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ  ่ 2.เพื่อบรรเทาความเดือดร้อนของราษฎรที่ประสบทุพภิกขภัยในถินทุรกันดาร  ่ 3.เพื่อให้ราษฎรผูประสบภัยมีข้าวพอเพียงต่อการบริโภคตลอดปี  ้ 4.เพื่อป้องกันผูฉวยโอกาสที่จะเข้าแสวงหาผลประโยชน์อันไม่เป็นธรรมแก่ ้ ราษฎรผูประสบภัยซึ่งยากจน ้ และขาดแคลนข้าวเพื่อบริโภค  5.เพื่อเป็นพืนฐานให้ราษฎรได้เข้าใจหลักการเบืองต้นของระบบสหกรณ์ซึ่งจะ ้ ้ ได้ดำาเนินการที่สมควรต่อไป  6.เพื่อสร้างเสริมอุปนิสัยของราษฎรผูประสบภัยให้รู้จักอยู่ร่วมกันในระบอบ ้ ประชาธิปไตย โดยการเอื้อเฟื้อเผือแผ่ ่ มีความรับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและผูอื่น อีกทั้งยังเป็นการกระตุ้น ้ ให้ราษฎรมีความขยันขันแข็ง ในการประกอบอาชีพ  7.เพื่อเป็นพืนฐานในการสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่าง ้ ราษฎรกับเจ้าหน้าที่  8.เพื่อเป็นการช่วยเหลือราษฎรให้รู้จักประหยัดทรัพย์
  • 5. หลัก การตั้ง โครงการธนาคารข้า ว   1.จัดตั้งในหมูบานที่มประชาชนร้องขอหรือทราบว่าราษฎรขาดแคลนเพื่อ ่ ้ ี บริโภคและไม่ สามารถดำาเนินการจัดหาข้าว เพือบริโภคในหมูบ้านได้เพียงพอ  ่ ่ 2.ไม่จัดตั้งซำ้าซ้อนหรือใกล้เคียงกับหมู่บานที่มการจัดตั้งโครงการธนาคารข้าว ้ ี ของหน่วยงานอื่นทีได้ดำาเนินการอยู่ ่ 3.พิจารณาพื้นทีที่จัดตั้งโดยคำานึงถึงประโยชน์ที่จะได้รับต่อหมู่บานบริวาร  ่ ้ 4.ดำาเนินการจัดตั้งในหมูบานที่มความปลอดภัยในการควบคุมและติดตามผล  ่ ้ ี 5.ไม่เป็นหมู่บานที่มแนวโน้มที่จะมีการโยกย้าย  ้ ี
  • 6. แนวพระราชดำา ริ เกี่ย วกับ โครงการธนาคารข้า ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จฯ สู่ภมภาคต่าง ๆ ในท้องถิ่นชนบทของ ู ิ ประเทศอย่างสมำ่าเสมอมานับสิบปี ด้วยเหตุนี้ พระองค์จึงทรงเห็นสภาพความ ยากจน เดือดร้อนและเข้าพระราชหฤทัยอย่างลึกซึ้งแจ่มชัดถึงสาเหตุแห่ง ปัญหา พระองค์ทรงริเริ่มและพระราชทานแนวพระราชดำาริในการแก้ไขปัญหา ในระดับต่าง ๆ อย่างเหมาะสม ทรงตั้งพระราชหฤทัยที่จะให้ประชาชนพึ่ง ตนเอง ให้พึ่งพาอาศัยปัจจัยภายนอกให้นอยที่สุด ในบางเรื่องทรงเห็นว่าการ ้ จัดสรรทรัพยากรและโครงสร้างพืนฐานที่สำาคัญ ๆ จะช่วยแก้ไขปัญหาได้ใน ้ ระยะยาวและในบางกรณีก็ทรงเห็นว่า จำาเป็นต้องมีมาตรการแก้ไขความเดือน ร้อนเฉพาะหน้าของราษฎร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในเรื่องข้าว ทรงพยายามทำา ทุกวิถีทางในเกษตรกรมีข้าวพอกินอาจกล่าวได้ว่า
  • 7. แนวพระราชดำา ริ เกี่ย วกับ โครงการธนาคารข้า ว (ต่อ ) "ธนาคารข้า ว" เป็นผลมาจากพระปรีชาดังกล่าว เป็นความพยายามด้าน หนึ่งที่จะแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และเป็นพะราชประสงค์โดยตรงที่จะให้ทาง ราชการไปช่วยเหลือในการจัดตั้งธนาคารข้าว เพือประโยชน์แก่เกษตรกรที่ ่ ยากจนโดยทั่วไป อาจกล่าวได้ว่าพระองค์ทรงมีบทบาทสำาคัญยิ่งในการก่อรูป "ธนาคารข้าว" ขึ้น และทำาให้ธนาคารข้าวกลายเป็นแนวคิดที่แพร่หลาย เป็น นโยบายของรัฐและเป็นแผนงานสำาคัญแผนหนึ่งของการพัฒนาชนบทยากจน ที่ผานมา ่ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงสนับสนุนให้มการจัดตั้งธนาคารข้าว ขึ้น ี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๑๙ เมือครั้งทรงเสด็จพระราชดำาเนินไปเยี่ยมราษฎรชาวเขา ่ เผากะเหรี่ยง ในเขตอำาเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม่ ได้พระราชทานข้าว เปลือกจำานวนหนึ่งให้แก่ผใหญ่บานหลายหมู่บาน เพื่อให้เป็นทุนเริ่มดำาเนิน ู้ ้ ้ กิจการธนาคารข้าว ได้พระราชทานแนวทางดำาเนินงานไว้อย่างละเอียด ชัดเจน ดังบันทึกดังต่อไปนี้
  • 8. แนวพระราชดำา ริ เกี่ย วกับ โครงการธนาคารข้า ว (ต่อ ) "ให้มคณะกรรมการควบคุม ทีคัดเลือกจากราษฎรในหมูบาน เป็นผูเก็บรักษา ี ่ ่ ้ ้ พิจารณาจำานวนข้าวที่จะให้ยืมและรับข้าวคืน ตลอดจนจัดทำาบัญชีทำาการของ ธนาคารข้าว ราษฎรที่ต้องการข้าวไปใช้บริโภคในยามจำาเป็น ให้ลงบัญชียืม ข้าวไปใช้จำานวนหนึ่ง เมือสามารถเก็บเกียวข้าวได้แล้ว ก็นำามาคืนธนาคาร ่ ่ พร้อมด้วยดอกเบี้ยจำานวนเล็กน้อยตามแต่ตกลงกัน ซึ่งข้าวที่เป็นดอกเบียดัง ้ กล่าวก็จะเก็บรวมไว้ในธนาคาร และถือเป็นสมบัติของส่วนรวม สำาหรับ กรรมการควบคุมข้าวนั้น มีสิทธิในการขอยืมข้าวเท่ากับราษฎรทุกประการ ต้องอธิบายให้กรรมการและราษฎรเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง ถึงหลักการของ ธนาคารข้าว โดยพยายามชี้แจงอย่างง่าย ๆ แต่ต้องให้แน่ใจว่า ทุกคนเข้าใจดี กรรมการและราษฎรก็ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อหลักการ เมือยืมข้าวจากธนาคาร ่ ข้าว ซึ่งเป็นของส่วนรวมไปใช้ และถึงกำาหนดเวลาที่สัญญาไว้ ก็ต้องนำาข้าวมา คืนพร้อมด้วยดอกเบีย นอกจากว่ามีเหตุสุดวิสัย ซึ่งต้องชี้แจ้งให้กรรมการ ้ พิจารณาข้อเท็จจริง ราษฎรต้องร่วมมือกันสร้างยุ้งที่แข็งแรง ทังนีหากปฏิบติ ้ ้ ั ตามหลักการที่วางไว้ จำานวนข้าวที่หมุนเวียนในธนาคารจะไม่มวันหมด แต่จะ ี ค่อยๆ เพิ่มจำานวนขึ้น และจะมีข้าวสำาหรับบริโภคตลอดไปจนถึงลูกหลาน ใน ที่สดธนาคารข้าวก็จะเป็นแหล่งที่รักษา ผลประโยชน์ของราษฎรในหมูบาน ุ ่ ้ และเป็นแหล่งอาหารสำารองของหมูบานด้วย“ ่ ้ การดำา เนิน การได้ต ิด ตามผล
  • 9. สรุป ธนาคารข้าว เป็นโครงการในเชิงการให้สวัสดิการสังคม สิ่งที่เกิดขึนเท่ากับ ้ เป็นการโอนรายได้ (Transfer income) จากคนรวยไปยังคนจนและเป็นการ กระจายรายได้ททุกฝ่ายได้รับประโยชน์ ราษฎรมีแหล่งข้าวกลางของหมู่บานที่ ี่ ้ สามารถกูยืมไปบริโภคหรือทำาพันธุ์ โดยเสียดอกเบียในอัตราตำ่ากว่าอัตราซึ่ง ้ ้ ต้องเสียให้แก่พอค้าคนกลางเป็นอันมาก ช่วยบรรเทาความเดือดร้อนจากการ ่ อดอยากขาดแคลน ช่วยยกระดับฐานะความเป็นอยู่ และระดับรายได้ของ เกษตรกรทียากจน เป็นการแก้ปญหาที่ได้ผลและตรงจุดประการหนึ่ง ่ ั สิ่งที่ได้มานอกจากนัน เป็นเรื่องที่มองไม่เห็นผลโดยตรง แต่เป็นเรื่องทีสำาคัญ ้ ่ ยิ่ง เพราะเป็นการสร้างพืนฐานสำาคัญของการพัฒนาสร้างความสมัครสมาน ้ สามัคคีของชุมชนในการ ที่จะเรียนรู้และดำาเนินการแก้ไขปัญหาของตนซึ่งเป็น สิ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงยำ้าอยู่เสมอ ในเรื่องความเข้าใจของ ราษฎร ความรับผิดชอบ ความซื่อสัตย์ และความรู้สึกมีส่วนร่วม พระองค์ทรง เห็นว่า สิ่งเหล่านี้ปลูกฝังได้ ธนาคารข้าวอาจทำาหน้าทีเป็นโรงเรียนที่ดี ในขณะ ่ เดียวกัน ก็เป็นตัวชี้ถงประสิทธิภาพ และความเข้มแข็งของชุมชน นั้น ๆ ึ ธนาคารข้าวที่ประสบความสำาเร็จมิได้บรรลุเพียงจุดมุงหมายพืนฐานในการ ่ ้ บรรเทาการขาดแคลนข้าวเท่านั้น แต่ยังได้สร้างกิจกรรมต่อเนื่องอืน ๆ ที่ส่งผล ่ ต่อการพัฒนาคุณภาพ สร้างการมีสวนร่วมภาวะผูนำา และความร่วมมือในระดับ ่ ้ ชุมชนอีกด้วย
  • 10. สรุป (ต่อ ) กิจกรรมธนาคารข้าวในท้องที่หลายแห่งเป็นที่มาของความคิดสร้างสรรค์ต่าง ๆ ของชาวบ้านที่ร่วมใจกันหาวิธีการนำาข้าวมาเข้ากองทุน และในอีกหลายท้อง ที่ ผลประโยชน์ที่เพิมพูนขึ้นจากการดำาเนินกิจกรรมธนาคารข้าว ถูกนำามาใช้ ่ ในการพัฒนาท้องถิ่นของตนเป็นการสร้างความเชื่อมั่นต่อความสำาเร็จที่เกิดขึ้น จากการร่วมมือกันใน จุดเล็ก ๆ ทีพร้อมจะเติบโตต่อไป ่ รัฐบาลโดยหน่วยงานต่าง ๆ โดยเฉพาะกรมการพัฒนาชุมชน ได้รับสนอง พระบรมราโชบาย ขยายขอบเขตการดำาเนินงานธนาคารข้าวออกไปอย่าง กว้างขวาง จนถึงปี พ.ศ. ๒๕๒๘ มีธนาคารข้าวทีจัดตั้งขึ้นในท้องถิ่นต่างๆ ทัว ่ ่ ประเทศ มากกว่า ๔,๓๐๐ แห่ง ครอบคลุมพืนที่ ๕๗ จังหวัด จำานวนข้าว ้ หมุนเวียนในธนาคารข้าวมากกว่า ๑๔.๕ ล้านกิโลกรัม หลักการดำาเนินงาน ของธนาคารข้าว ปัจจุบนสามารถปรับใช้ได้กับสภาพปัญหาและความจำาเป็นที่ ั แตกต่างกันของแต่ละพืนที่ เช่น ลักษณะการให้บริการ ซึ่งมีทั้งให้เปล่า ให้โดย ้ แลกแรงงาน ให้ยืมหรือให้กู้สำาหรับทุนดำาเนินงานนั้น อาจหาทุนได้หลายวิธี เช่น การรับบริจาค การเรียกหุ้น ฯลฯ และในกรณีที่ไม่สามารถจัดตั้งกองทุน เริ่มต้นขี้นมาได้เอง ก็อาจเสนอแผนงานเพื่อขอรับงบประมาณสนับสนุนจากรัฐ ได้