SlideShare a Scribd company logo
พระราชกรณียกิจที่เกี่ยวข้องกับฝนหลวง

     พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นผู้มีพระราชดาริให้ทาฝนหลวงขึ้นใน
ประเทศไทยเป็นครั้งแรก และทรงสนับสนุนงานด้านนี้มาตั้งแต่ต้น โดยทรงติดตาม
การปฏิบัติงานทดลองอย่างใกล้ชิดมาทุกระยะ เมื่อทรงทราบว่า คณะปฏิบัติการฝน
หลวงประสบปัญหาบางประการ ก็มีพระกรุณาพระราชทานข้อคิดเห็น ที่จะขจัดปัญหา
และอุปสรรคต่างๆ เช่น ทรงพระราชทานคาแนะนา ให้ไปทดลองที่หัวหิน เป็นประจา
ทุกเดือน เพื่อหาข้อมูล ในการทาฝนหลวงให้ได้ตลอดปี ทรงแนะนาฝึกฝนนักวิชาการ
ให้ สามารถวางแผนปฏิบัติการอย่างเหมาะสม กับสภาพภูมิอากาศของแต่ละท้องถิ่น
บางทีพระองค์ก็ทรงทดลองและควบคุมบัญชาการทาฝนหลวงด้วยพระองค์เอง ก่อน
จะทาฝนหลวงแต่ละครั้งจะทรงเตือนให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบสภาพอากาศล่วงหน้า เพื่อ
ป้องกันมิให้ก่อความเสียหาย แก่พืชผล และทรัพย์สินของราษฏร ทรงให้เร่งปฏิบัติการ
เมื่อสภาพอากาศอานวยเพื่อจะได้ปริมาณน้าฝนมากยิ่งขึ้น ทรงแนะนาให้ระวังสารฝน
หลวงบางอย่างซึ่งจะเกิดอันตรายแก่ผู้ใช้ พระราชกรณียกิจเกี่ยวกับฝนหลวงของ
พระองค์ มีเป็นอันมาก จะขอยกตัวอย่างให้ทราบดังนี้
เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2512ทรงพระกรุณาเสด็จฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรม
      โอรสาธิราชฯ ไปทอดพระเนตรการทดลองทาฝนหลวงของคณะเจ้าหน้าที่
         กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่สนามบินบ่อฝ้าย อาเภอหัวหิน จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งเป็นการปฏิบัติการครั้งที่ 5 พร้อมกับได้พระราชทานพระบรม
ราโชวาทให้คณะปฏิบัติการฯ พยายามอดทนต่อความยากลาบาก ช่วยให้ประชาชน
 คลายความเดือดร้อนจากการขาดแคลนน้า ทรงแนะนาให้ศึกษาข้อมูลและปัจจัยที่
เกี่ยวข้องทางภาคพื้นดินให้มากยิ่งขึ้น สัมพัทธ์โดยโปรดเกล้าฯ ให้รถดับเพลิงของ
 พระราชวังไกลกังวลมาพ่นละอองน้าให้เป็นฝอยขึ้นในอากาศ แล้วเสด็จฯ เข้าไป
 ในละอองน้าที่ฉีด เพื่อนาเครื่องมือเข้าไปวัดความชื้นโดยไม่หวั่นว่าพระวรกายจะ
  เปียกเปื้อนแต่ประการใด ปรากฏว่าสามารถสร้างความชื้นสัมพัทธ์ได้ตามที่ทรง
 รับสั่ง นอกจากนั้นยังทรงแนะนาว่าควร เพิ่มหน่วยสังเกตการณ์ภาคพื้นดินเพื่อจะ
         ได้ศึกษาปริมาณน้าฝนตามจุดต่างๆ และได้ข้อมูลอื่นๆ ละเอียดยิ่งขึ้น
บทบาทและหน้าที่
วิสัยทัศน์ พันธกิจ อานาจหน้าที่ ยุทธศาสตร์
วิสัยทัศน์ :
เป็นองค์กรที่สนองพระราชดาริ ในการใช้และพัฒนาเทคโนโลยีฝนหลวงและการดัดแปรสภาพ
อากาศ เพื่อป้องกัน แก้ไขปัญหาภัยแล้ง และร่วมจัดการทรัพยากรน้าของประเทศให้
เพียงพอ เกิดประโยชน์อย่างทั่วถึง
พันธกิจ :
ปฏิบัติการฝนหลวงเพื่อจัดการทรัพยากรน้าของประเทศ
วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการดัดแปรสภาพอากาศ
ให้บริการทางด้านการบินและการสื่อสาร ในภารกิจด้านการเกษตร
อานาจหน้าที่ :ปฏิบัติงานการปฏิบัติการฝนหลวง เพื่อให้บริการแก่เกษตรกรและผู้ใช้
น้าทั่วไป และเพื่อเพิ่มปริมาณน้าในพื้นที่การเกษตรและเขื่อน เก็บกักน้ารวมทั้งการ
ดาเนินการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการปฏิบัติการฝนหลวง
ปฏิบัติงานด้านการบินและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการเกษตร
ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับ
มอบหมาย
ยุทธศาสตร์ :กาหนดพื้นที่รับผิดชอบเป็นลุ่มน้า โดยจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการ จานวน 8 ศูนย์
รับผิดชอบพื้นที่
บริหาร จัดการ เครื่องบิน สารฝนหลวง ระบบสื่อสาร และเครื่องมืออุปกรณ์ให้สามารถ
ปฏิบัติการฝนหลวงได้รวดเร็ว สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการและงบประมาณ
เร่งรัดพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติการฝนหลวง
พัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
พัฒนาระบบสารสนเทศ และสร้างเครือข่าย
ประชาสัมพันธ์เผยแพร่แผนและผลปฏิบัติงาน เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนและ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
สารฝนหลวง
สารฝนหลวงสูตรร้อน
      สารฝนหลวงสูตรร้อนมีคุณสมบัติเมื่อดูดซับความชื้นในอากาศ หรือทาปฏิกิริยา
กับน้าะทาใหอุณหภูมิสูงขึ้น ใช้ในสภาพผงละเอียด สารฝนหลวงสูตรร้อนที่ ใช้ใน
ปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ
สูตร6 แคลเซียมคลอไรด์(Calcium Chloride)
สูตร8 แคลเซียมอ๊อกไซด์(Calcium Oxide)
สารฝนหลวงสูตรเย็น
       สารฝนหลวงสูตรเย็นมีคุณสมบัติเมื่อดูดซับความชื้นในอากาศ หรือทาปฏิกิริยา
กับน้า ทาให้อุณหภูมิลดลงหรือเย็นลง สารฝนหลวงสูตรเย็นที่ ใช้ในปัจจุบันมี 3 ชนิด
คือ
สูตร4 ยูเรีย (Urea)
สูตร19 แอมโมเนียมไนเตรท (Ammonium Nitrate)
สูตร 3 น้าแข็งแห้ง (Dry Ice)
การทาฝนจากเมฆอุ่น
     พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสรุปขั้นตอนกรรมวิธีการทาฝนจากเมฆอุ่น
จากการที่ทรงติดตามผลการทดลอง ควบคู่กับปฏิบัติการ และทรงวิเคราะห์วิจัย จาก
รายงานผลการปฏิบัติการประจาวัน และรายงานของคณะปฏิบัติการ ที่ทรง
บัญชาการด้วยพระองค์ ประกอบกับที่ทรงสังเกตสภาพกาลอากาศ และปรากฏการณ์
ต่าง ๆ ในท้องฟ้าทั้งในช่วงที่ มีปฏิบัติการทดลอง และไม่ปฏิบัติการอย่างใกล้ชิด
รวมทั้งสนพระทัยศึกษาจากเอกสารวิชาการ จึงทรงสามารถพัฒนากรรมวิธี การทา
ฝนจากเมฆอุ่น อย่างก้าวหน้ามาตามลาดับจนทรงมั่น.
จึงทรงสรุป ขั้นตอนกรรมวิธีในปี 2516 แล้วพระราชทานให้ใช้ เป็นหลักในการ
ปฏิบัติการสืบเนื่องมาจนถึง พ.ศ. 2542 ซึ่งมี 3 ขั้นตอน คือ
     ขั้นตอนที่ 1 ก่อกวน
เป็นการดัดแปรสภาพอากาศขณะนั้นเพื่อเร่งหรือเสริมการเกิดและก่อรวมตัวของเมฆ
ด้วยการก่อกวนสมดุล (Equilibrium) หรือเสถียรภาพ (Stability) ของมวลอากาศเป็น
แห่ง ๆ โดยการโปรยสารเคมีประเภทดูดความชื้นแล้วทาให้อุณหภูมิสูงขึ้น
(Exothermic chemicals) ในท้องฟ้าที่ระดับใกล้เคียงกับระดับกลั่นตัวเนื่องจากการไหล
พาความร้อนในแนวตั้ง (Convective condensation level) ซึ่งเป็นระดับฐานเมฆของแต่
ละวัน และโปรยสารเคมีประเภทที่เมื่อดูดซับความชื้นแล้วทาให้อุณหภูมิลดต่าลง
(Endothermic chemicals) ที่ระดับสูงกว่าระดับฐานเมฆ 2,000-3,000 ฟุต ทั้งนี้เพื่อช่วย
ให้เกิดเมฆเร็วขึ้นและปริมาณมากกว่าที่เกิดตามธรรมชาติ โดยเริ่มก่อกวนในช่วงเวลา
เช้าทางด้านเหนือลมของพื้นที่เป้าหมายหวังผลที่วางแผนกาหนดไว้ในแต่ละวัน
ขั้นตอนที่ 2 เลี้ยงให้อ้วน
เป็นการดัดแปรสภาพอากาศและเมฆขณะนั้น เพื่อเร่งหรือเสริมการเจริญก่อตัวของเมฆ
ให้ขนาดใหญ่และหนาแน่นยิ่งขึ้นด้วย การกระตุ้นหรือเร่งการเจริญเติบโตของก้อน
เมฆที่ก่อตัวแล้วให้มีขนาดใหญ่ขึ้นทั้งฐานเมฆและยอดเมฆขนาดหยดน้าใหญ่ขึ้นและ
ปริมาณน้าในก้อนเมฆมากขึ้น จนหนาแน่นเร็วกว่าที่จะปล่อยให้เจริญเองตาม
ธรรมชาติ ด้วยการโปรยสารเคมีประเภทที่เมื่อดูดซับความชื้นแล้วทาให้อุณหภูมิลด
ต่าลงที่ระดับฐานเมฆหรือทับยอดเมฆ หรือระหว่างฐานและยอดเมฆโดยบินโปรย
สารเคมีเข้าสู่ก้อนเมฆโดยตรง หรือโปรยรอบ ๆ และระหว่างช่องว่างของก้อนเมฆ
ทางด้านเหนือลมให้กระแสลมพัดพาสารเคมีเข้าสู่ก้อนเมฆ หรือโปรยสารเคมีสูตรร้อน
สลับสูตรเย็นในอัตราส่วน 1:4 ทับยอดเมฆทั่วบริเวณที่เกิดสภาพเมฆที่มีความหนา
2,000-3,000 ฟุต ปกคลุมพื้นที่เป็นบริเวณกว้าง หรือที่บริเวณพื้นที่ใต้ลมของบริเวณที่
เริ่มต้นก่อกวน ทั้งนี้สุดแล้วแต่สภาพของเครื่องบิน ภูมิอากาศ และอากาศขณะนั้นจะ
อานวยให้
ขั้นตอนที่ 3 โจมตี
เป็นการดัดแปรสภาพอากาศในก้อนเมฆที่รวมตัวหนาแน่นแล้วโดยตรง หรือบริเวณใต้
ฐานเมฆ หรือบริเวณที่ต้องการชักนาเมฆฝนที่ตกอยู่แล้วเคลื่อนเข้าสู่เป็นการบังคับหรือ
เหนี่ยวนาให้เมฆที่แก่ตัวจัดแล้วตกเป็นฝนลงสู่พื้นที่เป้าหมายหวังผลที่วางแผนกาหนด
ไว้ โดยบินโปรยสารเคมีประเภทที่ทาให้อุณหภูมิลดต่าลงเข้าไปในเมฆโดยตรงที่ฐาน
เมฆ หรือยอดเมฆ หรือที่ระดับระหว่างฐานเมฆและยอดเมฆชิดขอบเมฆทางด้านเหนือ
ลม หรือใช้เครื่องบิน 2 เครื่อง โปรยพร้อมกันแบบแซนวิตช์(Sandwich)
เครื่องบินวิจัยเมฆฟิสิกส์ (Beechcraft King air ; B-350)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
 สานักงานปฏิบัติการฝนหลวงมิได้หยุดยั้งในการค้นหาลู่ทางที่จะดัดแปรสภาพอากาศ
ให้เกิดฝนจากเมฆเย็น จนกระทั่งในปี 2531ได้เกิดโครงการวิจัยทรัพยากรบรรยากาศ
ประยุกต์ ซึ่งเป็นโครงการร่วมมือระหว่างรัฐบาลสหรัฐอเมริกา และรัฐบาลไทย
ทาการศึกษา วิจัย และทดลองโดยการยิงสารเคมีซิลเวอร์ไอโอไดด์ (Agl) จากเครื่องบิน
ปรับความดันอากาศ (King air B-350) สามารถบินขึ้นได้สูงถึง 35,000 ฟุตเข้าไป
กระตุ้นกลไกการเปลี่ยนสถานะของเหลว (เย็นจัด) ของหยดน้า (Cloud droplets) ให้
เป็นผลึกน้าแข็ง (ice crystals) ร่วงหล่นลงมาละลายสมทบกับหยดน้าในเมฆอุ่นเกิด
เป็นฝนตกปริมาณหนาแน่นยิ่งขึ้นในช่วงแรกตั้งแต่ 2531-2534 เป็นการเตรียมและ
พัฒนาโครงการ
จนพร้อมทาการปฏิบัติการทดลองในปี 2534-2537 จากการวิเคราะห์ ผลการปฏิบัติการ
ทดลองเบื้องต้น สามารถเพิ่มปริมาณ น้าฝนได้สูงกว่าธรรมชาติถึง 125% เพิ่มพื้นที่
รองรับฝนที่ตกได้ถึง 71% และทาให้ฝนตกยาวนานขึ้น 33%อย่างไรก็ดีการวิจัยและ
พัฒนายังคงดาเนินการต่อเนื่อง มาจนถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2542 เพื่อให้สามารถยืนยันผล
ในทางสถิติได้แน่นอนยิ่งขึ้น ก่อนที่จะนาเข้าสู่การปฏิบัติการหวังผลต่อไป อย่างไรก็ดี
พระราชดาริดังกล่าวได้บรรลุผลสมพระราชประสงค์ได้ในระดับหนึ่งแล้ว
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง

More Related Content

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
Marius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
Expeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Pixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
marketingartwork
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
Skeleton Technologies
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
SpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Lily Ray
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
Rajiv Jayarajah, MAppComm, ACC
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
Christy Abraham Joy
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
Vit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
MindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

โครงการฝนหลวง

  • 1.
  • 2. พระราชกรณียกิจที่เกี่ยวข้องกับฝนหลวง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงเป็นผู้มีพระราชดาริให้ทาฝนหลวงขึ้นใน ประเทศไทยเป็นครั้งแรก และทรงสนับสนุนงานด้านนี้มาตั้งแต่ต้น โดยทรงติดตาม การปฏิบัติงานทดลองอย่างใกล้ชิดมาทุกระยะ เมื่อทรงทราบว่า คณะปฏิบัติการฝน หลวงประสบปัญหาบางประการ ก็มีพระกรุณาพระราชทานข้อคิดเห็น ที่จะขจัดปัญหา และอุปสรรคต่างๆ เช่น ทรงพระราชทานคาแนะนา ให้ไปทดลองที่หัวหิน เป็นประจา ทุกเดือน เพื่อหาข้อมูล ในการทาฝนหลวงให้ได้ตลอดปี ทรงแนะนาฝึกฝนนักวิชาการ ให้ สามารถวางแผนปฏิบัติการอย่างเหมาะสม กับสภาพภูมิอากาศของแต่ละท้องถิ่น บางทีพระองค์ก็ทรงทดลองและควบคุมบัญชาการทาฝนหลวงด้วยพระองค์เอง ก่อน จะทาฝนหลวงแต่ละครั้งจะทรงเตือนให้เจ้าหน้าที่ตรวจสอบสภาพอากาศล่วงหน้า เพื่อ ป้องกันมิให้ก่อความเสียหาย แก่พืชผล และทรัพย์สินของราษฏร ทรงให้เร่งปฏิบัติการ เมื่อสภาพอากาศอานวยเพื่อจะได้ปริมาณน้าฝนมากยิ่งขึ้น ทรงแนะนาให้ระวังสารฝน หลวงบางอย่างซึ่งจะเกิดอันตรายแก่ผู้ใช้ พระราชกรณียกิจเกี่ยวกับฝนหลวงของ พระองค์ มีเป็นอันมาก จะขอยกตัวอย่างให้ทราบดังนี้
  • 3. เมื่อวันที่ 20 สิงหาคม 2512ทรงพระกรุณาเสด็จฯ พร้อมด้วยสมเด็จพระบรม โอรสาธิราชฯ ไปทอดพระเนตรการทดลองทาฝนหลวงของคณะเจ้าหน้าที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ที่สนามบินบ่อฝ้าย อาเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งเป็นการปฏิบัติการครั้งที่ 5 พร้อมกับได้พระราชทานพระบรม ราโชวาทให้คณะปฏิบัติการฯ พยายามอดทนต่อความยากลาบาก ช่วยให้ประชาชน คลายความเดือดร้อนจากการขาดแคลนน้า ทรงแนะนาให้ศึกษาข้อมูลและปัจจัยที่ เกี่ยวข้องทางภาคพื้นดินให้มากยิ่งขึ้น สัมพัทธ์โดยโปรดเกล้าฯ ให้รถดับเพลิงของ พระราชวังไกลกังวลมาพ่นละอองน้าให้เป็นฝอยขึ้นในอากาศ แล้วเสด็จฯ เข้าไป ในละอองน้าที่ฉีด เพื่อนาเครื่องมือเข้าไปวัดความชื้นโดยไม่หวั่นว่าพระวรกายจะ เปียกเปื้อนแต่ประการใด ปรากฏว่าสามารถสร้างความชื้นสัมพัทธ์ได้ตามที่ทรง รับสั่ง นอกจากนั้นยังทรงแนะนาว่าควร เพิ่มหน่วยสังเกตการณ์ภาคพื้นดินเพื่อจะ ได้ศึกษาปริมาณน้าฝนตามจุดต่างๆ และได้ข้อมูลอื่นๆ ละเอียดยิ่งขึ้น
  • 4.
  • 5. บทบาทและหน้าที่ วิสัยทัศน์ พันธกิจ อานาจหน้าที่ ยุทธศาสตร์ วิสัยทัศน์ : เป็นองค์กรที่สนองพระราชดาริ ในการใช้และพัฒนาเทคโนโลยีฝนหลวงและการดัดแปรสภาพ อากาศ เพื่อป้องกัน แก้ไขปัญหาภัยแล้ง และร่วมจัดการทรัพยากรน้าของประเทศให้ เพียงพอ เกิดประโยชน์อย่างทั่วถึง พันธกิจ : ปฏิบัติการฝนหลวงเพื่อจัดการทรัพยากรน้าของประเทศ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการดัดแปรสภาพอากาศ ให้บริการทางด้านการบินและการสื่อสาร ในภารกิจด้านการเกษตร
  • 6. อานาจหน้าที่ :ปฏิบัติงานการปฏิบัติการฝนหลวง เพื่อให้บริการแก่เกษตรกรและผู้ใช้ น้าทั่วไป และเพื่อเพิ่มปริมาณน้าในพื้นที่การเกษตรและเขื่อน เก็บกักน้ารวมทั้งการ ดาเนินการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีการปฏิบัติการฝนหลวง ปฏิบัติงานด้านการบินและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานด้านการเกษตร ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือได้รับ มอบหมาย ยุทธศาสตร์ :กาหนดพื้นที่รับผิดชอบเป็นลุ่มน้า โดยจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการ จานวน 8 ศูนย์ รับผิดชอบพื้นที่ บริหาร จัดการ เครื่องบิน สารฝนหลวง ระบบสื่อสาร และเครื่องมืออุปกรณ์ให้สามารถ ปฏิบัติการฝนหลวงได้รวดเร็ว สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการและงบประมาณ เร่งรัดพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติการฝนหลวง พัฒนาบุคลากรให้มีความพร้อมและสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบสารสนเทศ และสร้างเครือข่าย ประชาสัมพันธ์เผยแพร่แผนและผลปฏิบัติงาน เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับประชาชนและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
  • 7. สารฝนหลวง สารฝนหลวงสูตรร้อน สารฝนหลวงสูตรร้อนมีคุณสมบัติเมื่อดูดซับความชื้นในอากาศ หรือทาปฏิกิริยา กับน้าะทาใหอุณหภูมิสูงขึ้น ใช้ในสภาพผงละเอียด สารฝนหลวงสูตรร้อนที่ ใช้ใน ปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ สูตร6 แคลเซียมคลอไรด์(Calcium Chloride) สูตร8 แคลเซียมอ๊อกไซด์(Calcium Oxide) สารฝนหลวงสูตรเย็น สารฝนหลวงสูตรเย็นมีคุณสมบัติเมื่อดูดซับความชื้นในอากาศ หรือทาปฏิกิริยา กับน้า ทาให้อุณหภูมิลดลงหรือเย็นลง สารฝนหลวงสูตรเย็นที่ ใช้ในปัจจุบันมี 3 ชนิด คือ สูตร4 ยูเรีย (Urea) สูตร19 แอมโมเนียมไนเตรท (Ammonium Nitrate) สูตร 3 น้าแข็งแห้ง (Dry Ice)
  • 8. การทาฝนจากเมฆอุ่น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสรุปขั้นตอนกรรมวิธีการทาฝนจากเมฆอุ่น จากการที่ทรงติดตามผลการทดลอง ควบคู่กับปฏิบัติการ และทรงวิเคราะห์วิจัย จาก รายงานผลการปฏิบัติการประจาวัน และรายงานของคณะปฏิบัติการ ที่ทรง บัญชาการด้วยพระองค์ ประกอบกับที่ทรงสังเกตสภาพกาลอากาศ และปรากฏการณ์ ต่าง ๆ ในท้องฟ้าทั้งในช่วงที่ มีปฏิบัติการทดลอง และไม่ปฏิบัติการอย่างใกล้ชิด รวมทั้งสนพระทัยศึกษาจากเอกสารวิชาการ จึงทรงสามารถพัฒนากรรมวิธี การทา ฝนจากเมฆอุ่น อย่างก้าวหน้ามาตามลาดับจนทรงมั่น.
  • 9. จึงทรงสรุป ขั้นตอนกรรมวิธีในปี 2516 แล้วพระราชทานให้ใช้ เป็นหลักในการ ปฏิบัติการสืบเนื่องมาจนถึง พ.ศ. 2542 ซึ่งมี 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ก่อกวน เป็นการดัดแปรสภาพอากาศขณะนั้นเพื่อเร่งหรือเสริมการเกิดและก่อรวมตัวของเมฆ ด้วยการก่อกวนสมดุล (Equilibrium) หรือเสถียรภาพ (Stability) ของมวลอากาศเป็น แห่ง ๆ โดยการโปรยสารเคมีประเภทดูดความชื้นแล้วทาให้อุณหภูมิสูงขึ้น (Exothermic chemicals) ในท้องฟ้าที่ระดับใกล้เคียงกับระดับกลั่นตัวเนื่องจากการไหล พาความร้อนในแนวตั้ง (Convective condensation level) ซึ่งเป็นระดับฐานเมฆของแต่ ละวัน และโปรยสารเคมีประเภทที่เมื่อดูดซับความชื้นแล้วทาให้อุณหภูมิลดต่าลง (Endothermic chemicals) ที่ระดับสูงกว่าระดับฐานเมฆ 2,000-3,000 ฟุต ทั้งนี้เพื่อช่วย ให้เกิดเมฆเร็วขึ้นและปริมาณมากกว่าที่เกิดตามธรรมชาติ โดยเริ่มก่อกวนในช่วงเวลา เช้าทางด้านเหนือลมของพื้นที่เป้าหมายหวังผลที่วางแผนกาหนดไว้ในแต่ละวัน
  • 10. ขั้นตอนที่ 2 เลี้ยงให้อ้วน เป็นการดัดแปรสภาพอากาศและเมฆขณะนั้น เพื่อเร่งหรือเสริมการเจริญก่อตัวของเมฆ ให้ขนาดใหญ่และหนาแน่นยิ่งขึ้นด้วย การกระตุ้นหรือเร่งการเจริญเติบโตของก้อน เมฆที่ก่อตัวแล้วให้มีขนาดใหญ่ขึ้นทั้งฐานเมฆและยอดเมฆขนาดหยดน้าใหญ่ขึ้นและ ปริมาณน้าในก้อนเมฆมากขึ้น จนหนาแน่นเร็วกว่าที่จะปล่อยให้เจริญเองตาม ธรรมชาติ ด้วยการโปรยสารเคมีประเภทที่เมื่อดูดซับความชื้นแล้วทาให้อุณหภูมิลด ต่าลงที่ระดับฐานเมฆหรือทับยอดเมฆ หรือระหว่างฐานและยอดเมฆโดยบินโปรย สารเคมีเข้าสู่ก้อนเมฆโดยตรง หรือโปรยรอบ ๆ และระหว่างช่องว่างของก้อนเมฆ ทางด้านเหนือลมให้กระแสลมพัดพาสารเคมีเข้าสู่ก้อนเมฆ หรือโปรยสารเคมีสูตรร้อน สลับสูตรเย็นในอัตราส่วน 1:4 ทับยอดเมฆทั่วบริเวณที่เกิดสภาพเมฆที่มีความหนา 2,000-3,000 ฟุต ปกคลุมพื้นที่เป็นบริเวณกว้าง หรือที่บริเวณพื้นที่ใต้ลมของบริเวณที่ เริ่มต้นก่อกวน ทั้งนี้สุดแล้วแต่สภาพของเครื่องบิน ภูมิอากาศ และอากาศขณะนั้นจะ อานวยให้
  • 11. ขั้นตอนที่ 3 โจมตี เป็นการดัดแปรสภาพอากาศในก้อนเมฆที่รวมตัวหนาแน่นแล้วโดยตรง หรือบริเวณใต้ ฐานเมฆ หรือบริเวณที่ต้องการชักนาเมฆฝนที่ตกอยู่แล้วเคลื่อนเข้าสู่เป็นการบังคับหรือ เหนี่ยวนาให้เมฆที่แก่ตัวจัดแล้วตกเป็นฝนลงสู่พื้นที่เป้าหมายหวังผลที่วางแผนกาหนด ไว้ โดยบินโปรยสารเคมีประเภทที่ทาให้อุณหภูมิลดต่าลงเข้าไปในเมฆโดยตรงที่ฐาน เมฆ หรือยอดเมฆ หรือที่ระดับระหว่างฐานเมฆและยอดเมฆชิดขอบเมฆทางด้านเหนือ ลม หรือใช้เครื่องบิน 2 เครื่อง โปรยพร้อมกันแบบแซนวิตช์(Sandwich)
  • 12. เครื่องบินวิจัยเมฆฟิสิกส์ (Beechcraft King air ; B-350) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สานักงานปฏิบัติการฝนหลวงมิได้หยุดยั้งในการค้นหาลู่ทางที่จะดัดแปรสภาพอากาศ ให้เกิดฝนจากเมฆเย็น จนกระทั่งในปี 2531ได้เกิดโครงการวิจัยทรัพยากรบรรยากาศ ประยุกต์ ซึ่งเป็นโครงการร่วมมือระหว่างรัฐบาลสหรัฐอเมริกา และรัฐบาลไทย ทาการศึกษา วิจัย และทดลองโดยการยิงสารเคมีซิลเวอร์ไอโอไดด์ (Agl) จากเครื่องบิน ปรับความดันอากาศ (King air B-350) สามารถบินขึ้นได้สูงถึง 35,000 ฟุตเข้าไป กระตุ้นกลไกการเปลี่ยนสถานะของเหลว (เย็นจัด) ของหยดน้า (Cloud droplets) ให้ เป็นผลึกน้าแข็ง (ice crystals) ร่วงหล่นลงมาละลายสมทบกับหยดน้าในเมฆอุ่นเกิด เป็นฝนตกปริมาณหนาแน่นยิ่งขึ้นในช่วงแรกตั้งแต่ 2531-2534 เป็นการเตรียมและ พัฒนาโครงการ
  • 13. จนพร้อมทาการปฏิบัติการทดลองในปี 2534-2537 จากการวิเคราะห์ ผลการปฏิบัติการ ทดลองเบื้องต้น สามารถเพิ่มปริมาณ น้าฝนได้สูงกว่าธรรมชาติถึง 125% เพิ่มพื้นที่ รองรับฝนที่ตกได้ถึง 71% และทาให้ฝนตกยาวนานขึ้น 33%อย่างไรก็ดีการวิจัยและ พัฒนายังคงดาเนินการต่อเนื่อง มาจนถึงปัจจุบัน พ.ศ. 2542 เพื่อให้สามารถยืนยันผล ในทางสถิติได้แน่นอนยิ่งขึ้น ก่อนที่จะนาเข้าสู่การปฏิบัติการหวังผลต่อไป อย่างไรก็ดี พระราชดาริดังกล่าวได้บรรลุผลสมพระราชประสงค์ได้ในระดับหนึ่งแล้ว