SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Singapore Airlines
Strategic Analysis
กำไรของธุรกิจสำยกำรบินขึ้นอยู่กับ
Load Factor อัตราร้อยละจานวนที่นั่งถูกจองในเที่ยวบินนั้น
Yield รายได้ที่มาจากผู้โดยสารแต่ละคนจากการบินแต่ละกิโลเมตร
Cost ต้นทุนต่อหน่วยคานวณบนพื้นฐานจานวนที่นั่งบนเครื่องบิน
และระยะทางการเดินทาง
สายการบินพยายามที่จะเพิ่ม Load Factor และ Yield ให้มากที่สุด
พร้อมทั้งพยายามลดต้นทุนให้ต่าที่สุด
ภำพรวมอุตสำหกรรมกำรบิน
ชั้นผู้โดยสารแบ่งตามความยินดีจ่ายและความสามารถในการจ่าย
นักธุรกิจ
First class
Business class
นักท่องเที่ยว
Economy class
(มีความอ่อนไหวต่อราคาสูง)
ภำพรวมอุตสำหกรรมกำรบิน
ราคาBusiness Class และ First Class มีความแตกต่างกันมาก
เนื่องจากมีการลดราคาค่าโดยสารใน Economy Class
แรงงำน
ค่าใช้จ่ายที่สาคัญที่สุดสาหรับสายการบินจากประเทศที่พัฒนาแล้ว
และสาหรับสายการบินจากประเทศกาลังพัฒนา
เชื้อเพลิง
กำรบำรุงรักษำ
กำรจัดซื้อเครื่องบิน
ราคาน้ามันถูกกาหนดด้วยเงินดอลลาร์ ดังนั้นอัตราแลกเปลี่ยนจึงมี
ผลต่อราคาน้ามันเป็นหลัก
สายการบินมักจะทาการบารุงรักษาด้วยตัวเอง แต่จะทาสัญญากับ
ผู้ผลิตเพื่อบารุงรักษาภายใน
เครื่องใหม่ เครื่องเก่า พิจารณาจากระยะทาง และผู้โดยสาร
ภำพรวมอุตสำหกรรมกำรบิน
ก่อตั้ง : 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2490 (ในชื่อมลายาแอร์เวย์) และ
1 ตุลาคม พ.ศ. 2515 (ในชื่อสิงคโปร์แอร์ไลน์)
ท่าอากาศยานหลัก : ท่าอากาศยานสิงคโปร์ชางงี (Changi Airport)
จุดหมายปลายทาง : 63 จุดหมาย
ข้อมูลเบื้องต้นของ Singapore Airlines (SIA)
แยกออกเป็นสิงคโปร์แอร์ไลน์ และมาเลเซียแอร์ไลน์
1947
ก่อตั้งสายการบินมลายาแอร์เวย์
รวมตัวกันเป็นสหพันธรัฐมาเลเซีย
เปลี่ยนชื่อเป็นมาเลเซียแอร์เวย์
1963
1966
เปลี่ยนชื่อเป็นการบินมาเลเซีย-สิงคโปร์แอร์ไลน์
1972
ประวัติควำมเป็ นมำ
 SIA เป็นหนึ่งในสายการบินที่สามารถทากาไร
ได้มากที่สุดในโลก
 สร้างความแตกต่างในการให้บริการด้วยการพัฒนา
เทคโนโลยี ควบคู่ไปกับการพยายามลดต้นทุน
กำรดำเนินงำน
กำรปรับตัวภำยใต้สถำนกำรณ์ต่ำงๆ
วิกฤติเศรษฐกิจในเอเชีย ในปี 1997
SQ006 เกิดอุบัติเหตุที่ประเทศไต้หวัน ปี 2000
กำรก่อกำรร้ำยปี 2001 ในสหรัฐอเมริกำ (911)
กำรปรับตัวภำยใต้สถำนกำรณ์ต่ำงๆ
สงครำมอิรัคเเละกำรระบำดโรค SARS ปี 2003
กำรก่อกำรร้ำยที่บำหลี ปี 2002
Hamburger Crisis ปี 2007
SCP โครงสร้ำงตลำด (Structure : S)
มีการแข่งขันกันค่อนข้างสูง
ด้านราคา
ด้านบริการ
แนวโน้มว่าการแข่งขันจะเพิ่มขึ้น
ลูกค้ามีหลายสายการบินให้เลือก
ต้องมีการปรับปรุงพัฒนาอยู่เสมอ
ราคาน้ามันที่สูง
จะเป็นปัญหาของอุตสาหกรรมการบิน
 มีการกาหนด Brand Position
-Full Service
-Low Cost
 การโฆษณา ประชาสัมพันธ์
 จัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิดความแตกต่าง
Pricing
Non-Pricing
 การแข่งขันทางด้านราคาสูง
 ตั้งราคาที่แตกต่างสาหรับผู้โดยสาร
เพื่อให้สามารถได้รับรายได้ที่มากที่สุด
 Promotion
SCP พฤติกรรม (Conduct : C)
ความสามารถ
ในการทากาไรลดลง
• ราคาน้ามัน
• โรคระบาด
• ภัยธรรมชาติ
• การก่อการร้าย
บริการที่ทันสมัย
สะดวกสบายยื่งขึ้น
การแข่งขันสูง การคิดค้นนวัตกรรม/เทคโนโลยีใหม่
Airlines
2003
Operating
Profit
2002
Operating
Profit
Thai Airways 416 432
Singapore Airlines 400 413
Qantas 376 357
Korean Airlines 258 382
All Nippon 211 (69)
Source : IATAonline
Top 5 Major Asian Airline, 2003
SCP ผลกำรดำเนินงำน (Performance : P)
มีฐานะทางการเงินมั่นคง
[ได้รับรางวัลจากหลายหน่วยงาน
SCP ผลกำรดำเนินงำน (Performance : P)
Structure
Conduct
Performance
Government
(Public Policy)
 เจ้าของสนามบินและสายการบินแห่งชาติ
 ออกกฎระเบียบต่างๆ เกี่ยวกับสายการบินและการท่องเที่ยว
 เข้มงวดต่อสายการบินต่างชาติที่เข้ามาดาเนินงานในประเทศ
 การสร้างสนามบินที่ดี มีความทันสมัยสะดวกสบาย
 สร้างสถานที่สาคัญต่างๆ ขึ้นมา เพื่อดึงดูดใจให้มีผู้มาใช้บริการ
SCP Government
SWOT Analysis
• เป็ นรัฐวิสาหกิจ และรัฐเป้ นเจ้าของสนามบิน
ทาให้ต้นทุนต่า
• เส้นทางบินหลากหลาย ฝูงบินอายุน้อย
• Singapore Girl
• ฐานะทางการเงินแข็งแกร่ง
• มีการขยายไลน์ธุรกิจ
• มีบริการตอบสนองลูกค้านักธุรกิจ
• รางวัลด้านมาตรฐานบริการ
• รัฐคอยช่วยเหลือ
• สายการบินแรกที่ใช้ A380
• นโยบายสนับสนุนให้ต่างประเทศเข้ามาลงทุน
• สามารถเพิ่มรายได้จากการเพิ่มเครื่องบินและ
เที่ยวบิน
• เศรษฐกิจสิงคโปร์ดี
• ราคาสูง
• ผู้โดยสารมีความคาดหวังกับการใช้บริการสูง
• Singapore Girl อาจเกิดข้อพิพาทเรื่องสิทธิสตรี
• ความขัดแย้งในองค์กร
• ค่าใช้จ่ายในการบริหารสูง
• การแข่งขันในอุตสาหกรรมสูง
• การแพร่ระบาดของโรค
• ค่าใช้จ่ายน้ามันมีสัดส่วนสูง
• พฤติกรรมผู้บริโภคซับซ้อน
1. กำรออกแบบและกำรพัฒนำบริกำร
กลยุทธ์ในกำรดำเนินงำน
1. กำรออกแบบและกำรพัฒนำบริกำร
2. นวัตกรรม
กลยุทธ์ในกำรดำเนินงำน
1. กำรออกแบบและกำรพัฒนำบริกำร
2. นวัตกรรม
3. กำไร
กลยุทธ์ในกำรดำเนินงำน
1. กำรออกแบบและกำรพัฒนำบริกำร
2. นวัตกรรม
3. กำไร
กลยุทธ์ในกำรดำเนินงำน
4. Value Chain
SIACARGO บริกำรขนส่งสินค้ำ
SIAEC บริกำรด้ำนวิศวกรรม กำรซ่อมบำรุงSATS บริกำรภำคพื้น
กลยุทธ์ในกำรดำเนินงำน
5. กำรพัฒนำบุคลำกร
1. กำรออกแบบและกำรพัฒนำบริกำร
2. นวัตกรรม
3. กำไร
4. Value Chain
 อบรมพนักงานต้อนรับบนเครื่องบินเข้าใหม่นาน
 เก่งงานและเก่งคน
 Singapore Girl สุภาพ อ่อนหวาน สง่างาม
 สร้างวัฒนธรรมองค์กร
 Incentive
 Job Rotation
กลยุทธ์ในกำรดำเนินงำน
Product
Differentiation
Cost
Reduction
RigorousService
Design
Innovation
Profit
Consciousness
Synergies
Staff
Development
Singapore Airlines Strategies
Production Differentiation
Cost Reduction
Q & A
SIA presented by MBE19@TU
SIA presented by MBE19@TU

More Related Content

What's hot

Singapore Airlines Company Analysis – Setiawan
Singapore Airlines Company Analysis – SetiawanSingapore Airlines Company Analysis – Setiawan
Singapore Airlines Company Analysis – SetiawanKaren Setiawan
 
GROUP_1_Marketing Management
GROUP_1_Marketing ManagementGROUP_1_Marketing Management
GROUP_1_Marketing ManagementAshutosh Phadke
 
EMIRATES AIRLINES: Controlling and harmonizing brand identity, image, and per...
EMIRATES AIRLINES: Controlling and harmonizing brand identity, image, and per...EMIRATES AIRLINES: Controlling and harmonizing brand identity, image, and per...
EMIRATES AIRLINES: Controlling and harmonizing brand identity, image, and per...Hoàng Thị Thanh Thủy
 
Optimization of flight schedule and fleet assignment of Sri lLankan airline
Optimization of flight schedule and fleet assignment of Sri lLankan airlineOptimization of flight schedule and fleet assignment of Sri lLankan airline
Optimization of flight schedule and fleet assignment of Sri lLankan airlinePradeep Indunil
 
MK312 Marketing Plan ThaiAirAsia X New Routing to Hokkaido
MK312 Marketing Plan ThaiAirAsia X New Routing to HokkaidoMK312 Marketing Plan ThaiAirAsia X New Routing to Hokkaido
MK312 Marketing Plan ThaiAirAsia X New Routing to HokkaidoNontawit Sungworn
 
IRCTC - E commerce
IRCTC - E commerceIRCTC - E commerce
IRCTC - E commerceAgarwal Ajit
 
Aviation sector---Jet Airways & Qatar Airways Market Analysis
Aviation sector---Jet Airways & Qatar Airways Market AnalysisAviation sector---Jet Airways & Qatar Airways Market Analysis
Aviation sector---Jet Airways & Qatar Airways Market AnalysisRajesh Kumar
 
Customer service at singapore airlines
Customer service at singapore airlinesCustomer service at singapore airlines
Customer service at singapore airlinesdilamo
 
Srilankan Airlines Presentation
Srilankan Airlines PresentationSrilankan Airlines Presentation
Srilankan Airlines PresentationSLIIT
 
Comprehensive Marketing Presentation on Emirates Airlines
Comprehensive Marketing Presentation on Emirates AirlinesComprehensive Marketing Presentation on Emirates Airlines
Comprehensive Marketing Presentation on Emirates AirlinesSheikh_Rehmat
 
Singapore airlines – an excellent, iconic asian
Singapore airlines – an excellent, iconic asianSingapore airlines – an excellent, iconic asian
Singapore airlines – an excellent, iconic asianTalla Srikanth
 

What's hot (20)

Singapore Airlines Company Analysis – Setiawan
Singapore Airlines Company Analysis – SetiawanSingapore Airlines Company Analysis – Setiawan
Singapore Airlines Company Analysis – Setiawan
 
GROUP_1_Marketing Management
GROUP_1_Marketing ManagementGROUP_1_Marketing Management
GROUP_1_Marketing Management
 
Marketing Mix of Emirates Airways
Marketing Mix of Emirates Airways Marketing Mix of Emirates Airways
Marketing Mix of Emirates Airways
 
EMIRATES AIRLINES: Controlling and harmonizing brand identity, image, and per...
EMIRATES AIRLINES: Controlling and harmonizing brand identity, image, and per...EMIRATES AIRLINES: Controlling and harmonizing brand identity, image, and per...
EMIRATES AIRLINES: Controlling and harmonizing brand identity, image, and per...
 
Optimization of flight schedule and fleet assignment of Sri lLankan airline
Optimization of flight schedule and fleet assignment of Sri lLankan airlineOptimization of flight schedule and fleet assignment of Sri lLankan airline
Optimization of flight schedule and fleet assignment of Sri lLankan airline
 
MK312 Marketing Plan ThaiAirAsia X New Routing to Hokkaido
MK312 Marketing Plan ThaiAirAsia X New Routing to HokkaidoMK312 Marketing Plan ThaiAirAsia X New Routing to Hokkaido
MK312 Marketing Plan ThaiAirAsia X New Routing to Hokkaido
 
Vistara
VistaraVistara
Vistara
 
Airlines industry
Airlines industryAirlines industry
Airlines industry
 
Indigo airlines
Indigo airlinesIndigo airlines
Indigo airlines
 
IRCTC - E commerce
IRCTC - E commerceIRCTC - E commerce
IRCTC - E commerce
 
Aviation sector---Jet Airways & Qatar Airways Market Analysis
Aviation sector---Jet Airways & Qatar Airways Market AnalysisAviation sector---Jet Airways & Qatar Airways Market Analysis
Aviation sector---Jet Airways & Qatar Airways Market Analysis
 
Customer service at singapore airlines
Customer service at singapore airlinesCustomer service at singapore airlines
Customer service at singapore airlines
 
Srilankan Airlines Presentation
Srilankan Airlines PresentationSrilankan Airlines Presentation
Srilankan Airlines Presentation
 
Comprehensive Marketing Presentation on Emirates Airlines
Comprehensive Marketing Presentation on Emirates AirlinesComprehensive Marketing Presentation on Emirates Airlines
Comprehensive Marketing Presentation on Emirates Airlines
 
Emirates
EmiratesEmirates
Emirates
 
Spicejet
SpicejetSpicejet
Spicejet
 
Singapore Airlines
Singapore AirlinesSingapore Airlines
Singapore Airlines
 
Airline industry 7 ps
Airline industry 7 psAirline industry 7 ps
Airline industry 7 ps
 
Singapore airlines – an excellent, iconic asian
Singapore airlines – an excellent, iconic asianSingapore airlines – an excellent, iconic asian
Singapore airlines – an excellent, iconic asian
 
Sri Lankan Air Line
Sri Lankan Air LineSri Lankan Air Line
Sri Lankan Air Line
 

More from Siraphan Passprasert (6)

RCEP news _Presented MBE19
RCEP news _Presented MBE19 RCEP news _Presented MBE19
RCEP news _Presented MBE19
 
Mbe19 Macro G.6
Mbe19 Macro G.6Mbe19 Macro G.6
Mbe19 Macro G.6
 
Mbe19 Macro G.5
Mbe19 Macro G.5Mbe19 Macro G.5
Mbe19 Macro G.5
 
Mbe19 Macro G.4
Mbe19 Macro G.4Mbe19 Macro G.4
Mbe19 Macro G.4
 
Mbe19 Macro G.2
Mbe19 Macro G.2Mbe19 Macro G.2
Mbe19 Macro G.2
 
Mbe19 Macro #G1
Mbe19 Macro #G1Mbe19 Macro #G1
Mbe19 Macro #G1
 

SIA presented by MBE19@TU

Editor's Notes

  1. คู่แข่งของ สิงคโปร์แอร์ไลน์ ในกลุ่มของการบริการแบบ Full Service / Premium นั้น หลักๆ จะมีอยู่ 2 โซนด้วยกัน คือ SINGAPORE :  ประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเข้มแข็งและเป็นเศรษฐกิจระบบเปิด โดยเฉพาะมีภาพลักษณ์ในความโปร่งใสต่อการบริหารประเทศ มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจสูงมากทั้งในภูมิภาคและเวทีการค้าโลก ตลอดจนรัฐมีส่วนแทรกแซงในการดำเนินงานของภาคเอกชนน้อยมาก และเป็นหนึ่งในประเทศที่มีผลผลิตมวลรวมภายในประเทศสูงที่สุดในโลก  แต่ผลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้รัฐบาลสิงคโปร์ได้วางแผนการปรับตัวของประเทศเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จากบทบาทของสิงคโปร์ในอดีตที่ฐานะประเทศคนกลางในการนำเข้าวัตถุดิบและมาสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการส่งออกต่อ อาทิ อุตสาหกรรมกลั่นน้ำมัน อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารต่างๆ อุตสาหกรรมท่าเรือและขนส่งสินค้า เป็นต้น โดยมีพื้นฐานความสำเร็จจากการให้ความสำคัญในการศึกษาที่มีคุณภาพ เพื่อให้ประชากรของตนมีขีดความสามารถในการแข่งขันและสามารถเป็นแรงงานสำคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างดียิ่ง เพื่อเข้าสู่สหัสวรรษใหม่โดยยกระดับการเป็นประเทศศูนย์กลางการเงินและอุตสาหกรรมไฮเทค พร้อมส่งเสริมการลงทุนในต่างประเทศที่มีศักยภาพสูงต่างๆ โดยผ่านทางกองทุนเทมาเซ็ก, DBS Holding, Keppel, NOL (Neptune Orient Lines), PSA (Port of Singapore Authority) Corporation, Singapore Airline, SingTel, Capitaland, และ SerCorp เป็นต้น     Top ASEAN Brand : Singapore Airline Corporate Background Analysis : ก่อตั้ง พ.ศ. 2490 ในชื่อ “มลายาแอร์เวย์ [Malaya Airway]”            พ.ศ. 2515 ในชื่อ “สิงค์โปร์แอร์ไลน์ [Singapore Airline]”   ท่าอากาศยานหลัก : ท่าอากาศยานสิงค์โปร์ชางงี   พันธมิตรสายการบิน : สตาร์อัลไลแอนซ์   บริษัทสาขา : ซิลค์แอร์   ขนาดฝูงบิน : 110 [ไม่รวมอากาศยานขนส่งสินค้า]   จุดหมายปลายทาง : 62   Company Slogan : A Great Way To Fly   บริษัทแม่ : เทมาเสกโฮลดิงส์   สำนักงานใหญ่ : Airline House 25 Airline Road Singapore 819829   เว็บไซด์ : http://www.singaporeair.com อาคารสำนักงานใหญ่ : Singapore Airline นอกจาก Profile คร่าวๆที่กล่าวถึงสายการบินยักษ์ใหญ่อย่าง Singapore Airline แล้ว สายการบินนี้ยังมีภูมิหลัง หรือ อาจเป็นพื้นฐานที่แข็งแกร่งเพื่อสร้างแบรนด์ให้ยั่งยืนต่อไป Singapore Airline จัดเป็นสายการบินที่มีความแข็งแกร่งในเอเชีย การทำการตลาดแบบ Pre-emptive โดยการเป็นสายการบินแรกที่สั่งซื้อเครื่องบินแอร์บ้ส เอ 380 และนอกจากธุรกิจสายการบินแล้วยังมีการขยายธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสายการบิน เช่น การจัดการและวิศวกรรมอากาศยาน มรสายการบิน Silk Air เป็นบริษัทสาขาที่สิงค์โปร์แอร์ไลน์เป็นเจ้าของทั้งหมด และยังมีสิงค์โปร์คาร์โกเป็นบริษัทสาขาที่ดำเนินการบิน ฝูงบินขนส่งสินค้าและจัดการขนส่งและจัดเก็บสัมภาระบนเครื่องบินโดยสาร  สิงคโปร์แอร์ไลน์ถือหุ้นในสายการบินเวอร์จินแอตแลนติกอยู่ 49% และลงทุนในสายการบินไทเกอร์แอร์ไลน์เป็นส่วนปันผล 49% เพื่อรับมือการแข่งขันจากสายการบินต้นทุนต่ำ สิงคโปร์แอร์ไลน์จัดว่าเป็นสายการบินที่มีจำนวนผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 11 ในเอเชีย และมีผู้โดยสารระหว่างประเทศมากเป็นอันดับ 6 ของโลก และที่สำคัญสิงคโปร์แอร์ไลน์ดีรับการจัดอันดับจากนิตยสารที่มีชื่อเสียงอย่าง“Fortune” ให้อยู่ในอันดับที่ 27 ในหมู่บริษัทที่เป็นที่น่ายกย่องชมเชยมากที่สุดในโลกประจำ พ.ศ. 2553 และได้มีการสร้างตราบริษัทที่แข็งแกร่ง ในฐานะผู้สร้างปรากฎการณ์ในอุตสาหกรรมการบิน โดยเฉพาะการเป็นเลิศทางด้านนวัตกรรม ความปลอดภัย บริการ ที่เชื่อมโยงเข้ากับความได้เปรียบทางธุรกิจอย่างมั่นคง นอกตากนี้ยังได้รับรางวัลมากมาย และเป็นผู้นำทางด้านอุตสาหกรรมในด้านการจัดซื้ออากาศยาน มรสำนักงานใหญ่อยู่ที่ Airport House ใกล้กับอากาศยานชางงีในสิงคโปร์ SINGAPORE :  ประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่มีการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเข้มแข็งและเป็นเศรษฐกิจระบบเปิด โดยเฉพาะมีภาพลักษณ์ในความโปร่งใสต่อการบริหารประเทศ มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจสูงมากทั้งในภูมิภาคและเวทีการค้าโลก ตลอดจนรัฐมีส่วนแทรกแซงในการดำเนินงานของภาคเอกชนน้อยมาก และเป็นหนึ่งในประเทศที่มีผลผลิตมวลรวมภายในประเทศสูงที่สุดในโลก  แต่ผลจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้รัฐบาลสิงคโปร์ได้วางแผนการปรับตัวของประเทศเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จากบทบาทของสิงคโปร์ในอดีตที่ฐานะประเทศคนกลางในการนำเข้าวัตถุดิบและมาสร้างมูลค่าเพิ่มเพื่อการส่งออกต่อ อาทิ อุตสาหกรรมกลั่นน้ำมัน อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารต่างๆ อุตสาหกรรมท่าเรือและขนส่งสินค้า เป็นต้น โดยมีพื้นฐานความสำเร็จจากการให้ความสำคัญในการศึกษาที่มีคุณภาพ เพื่อให้ประชากรของตนมีขีดความสามารถในการแข่งขันและสามารถเป็นแรงงานสำคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างดียิ่ง เพื่อเข้าสู่สหัสวรรษใหม่โดยยกระดับการเป็นประเทศศูนย์กลางการเงินและอุตสาหกรรมไฮเทค พร้อมส่งเสริมการลงทุนในต่างประเทศที่มีศักยภาพสูงต่างๆ โดยผ่านทางกองทุนเทมาเซ็ก, DBS Holding, Keppel, NOL (Neptune Orient Lines), PSA (Port of Singapore Authority) Corporation, Singapore Airline, SingTel, Capitaland, และ SerCorp เป็นต้น     Top ASEAN Brand : Singapore Airline Corporate Background Analysis : ก่อตั้ง พ.ศ. 2490 ในชื่อ “มลายาแอร์เวย์ [Malaya Airway]”            พ.ศ. 2515 ในชื่อ “สิงค์โปร์แอร์ไลน์ [Singapore Airline]”   ท่าอากาศยานหลัก : ท่าอากาศยานสิงค์โปร์ชางงี   พันธมิตรสายการบิน : สตาร์อัลไลแอนซ์   บริษัทสาขา : ซิลค์แอร์   ขนาดฝูงบิน : 110 [ไม่รวมอากาศยานขนส่งสินค้า]   จุดหมายปลายทาง : 62   Company Slogan : A Great Way To Fly   บริษัทแม่ : เทมาเสกโฮลดิงส์   สำนักงานใหญ่ : Airline House 25 Airline Road Singapore 819829   เว็บไซด์ : http://www.singaporeair.com อาคารสำนักงานใหญ่ : Singapore Airline นอกจาก Profile คร่าวๆที่กล่าวถึงสายการบินยักษ์ใหญ่อย่าง Singapore Airline แล้ว สายการบินนี้ยังมีภูมิหลัง หรือ อาจเป็นพื้นฐานที่แข็งแกร่งเพื่อสร้างแบรนด์ให้ยั่งยืนต่อไป Singapore Airline จัดเป็นสายการบินที่มีความแข็งแกร่งในเอเชีย การทำการตลาดแบบ Pre-emptive โดยการเป็นสายการบินแรกที่สั่งซื้อเครื่องบินแอร์บ้ส เอ 380 และนอกจากธุรกิจสายการบินแล้วยังมีการขยายธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับสายการบิน เช่น การจัดการและวิศวกรรมอากาศยาน มรสายการบิน Silk Air เป็นบริษัทสาขาที่สิงค์โปร์แอร์ไลน์เป็นเจ้าของทั้งหมด และยังมีสิงค์โปร์คาร์โกเป็นบริษัทสาขาที่ดำเนินการบิน ฝูงบินขนส่งสินค้าและจัดการขนส่งและจัดเก็บสัมภาระบนเครื่องบินโดยสาร  สิงคโปร์แอร์ไลน์ถือหุ้นในสายการบินเวอร์จินแอตแลนติกอยู่ 49% และลงทุนในสายการบินไทเกอร์แอร์ไลน์เป็นส่วนปันผล 49% เพื่อรับมือการแข่งขันจากสายการบินต้นทุนต่ำ สิงคโปร์แอร์ไลน์จัดว่าเป็นสายการบินที่มีจำนวนผู้โดยสารมากเป็นอันดับที่ 11 ในเอเชีย และมีผู้โดยสารระหว่างประเทศมากเป็นอันดับ 6 ของโลก           และที่สำคัญสิงคโปร์แอร์ไลน์ดีรับการจัดอันดับจากนิตยสารที่มีชื่อเสียงอย่าง“Fortune” ให้อยู่ในอันดับที่ 27 ในหมู่บริษัทที่เป็นที่น่ายกย่องชมเชยมากที่สุดในโลกประจำ พ.ศ. 2553 และได้มีการสร้างตราบริษัทที่แข็งแกร่ง ในฐานะผู้สร้างปรากฎการณ์ในอุตสาหกรรมการบิน โดยเฉพาะการเป็นเลิศทางด้านนวัตกรรม ความปลอดภัย บริการ ที่เชื่อมโยงเข้ากับความได้เปรียบทางธุรกิจอย่างมั่นคง นอกตากนี้ยังได้รับรางวัลมากมาย และเป็นผู้นำทางด้านอุตสาหกรรมในด้านการจัดซื้ออากาศยาน มรสำนักงานใหญ่อยู่ที่ Airport House ใกล้กับอากาศยานชางงีในสิงคโปร์ Singapore Airline Plane : เครื่องบิน Airspeed Consul (VR-SCD)  ซึ่งเป็นอากาศยานประเภทแรกที่สายการบินมลายาแอร์ไลน์ใช้บิน สายการบินดังกล่าวเป็นบริษัทผู้บุกเบิกของสิงคโปร์แอร์ไลน์ เครื่องบินโบอิ้ง 747-400 ชื่อเครื่องว่า Megatop ที่ท่ากาศยาน Auckland ,Newzealand เครื่องบินลำนี้จัดเป็นเรือธงของสายการบินมาตั้งแต่ พ.ศ.2532จนกระทั่งเริ่มใช้เครื่องบินแอร์บัส เอ 380 ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2550 เครื่องบินแอร์บัส เอ 380 เครื่องบินที่เปิดตัวใน Concept "First to Fly the A380 - Experience the Difference in 2006"  เครื่องบินโบอิง 747-412 บินออกจากท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ เครื่องบินโบอิง 747-400 เตรียมบินออก ที่ท่าอากาศยานลอนดอนฮีทโธรว์ อังกฤษ The Business of Singapore Airline :       โครงสร้างทางธุรกิจของสิงคโปร์แอร์ไลน์ แบ่งออกเป็นอุตสาหกรรมและภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกัน ซึ่งรวมถึง Aircraft Ground Handing [การเช่าอากาศยาน] Air Catering และ Tour operating และยังปรับโครงสร้างโดยแยกหน่วยปฎิบัติการออกเป็นบริษัทสาขาต่างที่สายการบินเป็นเจ้าของแต่เพียงผู้เดียว[Extend Brand] เพื่อรักษาความเป็นสายการบินสำหรับผู้โดยสารอันเป็นธุรกิจหลักไว้ ตามข้อมูลปีการเงินเมื่อสิ้นเดือนมีนาคม พ.ศ. 2550 กลุ่มบริษัทสิงคโปร์แอร์ไลน์ประกอบด้วยบริษัทสาขา 25 แห่ง บริษัทในเครือ 32 แห่ง และบริษัทร่วมทุน 2 แห่ง เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2549 สิงคโปร์แอร์ไลน์ได้ขายหุ้นทั้งหมดที่มีอยู่ในร้อยละ 35.5 ในบริษัทร่วมทุน Singapore Aircraft Leasing Enterprise ให้แก่ธนาคารแห่งประเทศจีนในราคา 980  ล้านเหรียญสหรัฐ บริษัทหลักในกลุ่มบริษัทสิงคโปร์แอร์ไลน์ : บริษัทหลักในกลุ่มบรรษัทสิงคโปร์แอร์ไลน์ได้แก่ บริษัท ประเภท กิจกรรมหลัก สถานที่ก่อตั้ง การถือหุ้นของกลุ่มบรรษัท (31มีนาคม พ.ศ.2550) International Engine Component Overhaul Private Limited ร่วมทุน Aircraft overhaul สิงคโปร์ 41% SIA Engineering Company Limited สาขา วิศวกรรม สิงคโปร์ 81.9% SilkAir (Singapore) Private Limited สาขา สายการบิน สิงคโปร์ 100% Singapore Aero Engine Services Private Limited ร่วมทุน Engine overhaul สิงคโปร์ 41% Singapore Airlines Cargo Private Limited สาขา สายการบินขนส่งสินค้า สิงคโปร์ 100% Singapore Airport Terminal Services Limited สาขา บริษัทถือหุ้นใหญ่ สิงคโปร์ 81.9% Singapore Flying College Private Limited สาขา สถาบันฝึกอบรมการบิน สิงคโปร์ 100% TajSATS Air Catering ร่วมทุน Catering อินเดีย 50% Tiger Airways Holdings Limited ในเครือ บริษัทถือหุ้นใหญ่ สิงคโปร์ 34.4% เวอร์จินแอตแลนติกแอร์เวย์จำกัด ในเครือ บริษัทถือหุ้นใหญ่ สหราชอาณาจักร 49% นอกจากนั้นสิงคโปร์แอร์ไลน์ยังมีการลงทุนเชิงปฎิบัติการโดยการลงทุนในสายการบินไม่ว่าจะเป็นเดลต้าแอร์ไลน์หรือสวิสแอร์เป็นพันธมิตรไตรภาคี เพื่อขยายตลาด ออกไปนอกสิงคโปร์ แม้ว่าผลทางการเงินมักจะเป็นไปในทางลบก็ตาม และมีการถือหุ้นในสายการบินอื่นๆอีกโดยหวังจะได้รับผลประโยชน์จากเส้นทางข้ามมหาสมุทรแอตแลนติกที่มีผลกำไรดีแต่ไม่นานก็ล้มเหลว ใน พ.ศ. 2547 สิงคโปร์แอร์ไลน์ได้เข้าสู่สายการบินต้นทุนต่ำโดยก่อตั้งสายการบินไทเกอร์แอร์เวย์ซึ่งสิงคโปร์แอร์ไลน์ถือหุ้น 49 % ต่อมาใน พ.ศ. 2553 ไทเกอร์แอร์เวย์ได้จดทะเบียนใน Singapore Exchange ทำให้หุ้นที่สิงคโปร์แอร์ไลน์ถืออยู่ลดลงเหลือร้อยละ 34.4 Singapore Airline Vision     จากข้อเท็จจริงที่ได้ศึกษามาจากนโยบายเศรษฐกิจของประเทศสิงค์โปร์ ในภาคบริการ ธุรกิจสายการบิน การท่องเที่ยว โลจิสติกส์ จัดได้เป็นอันดับต้นๆในการขยายตัวเพิ่มขึ้นทุกปี นอกจากนั้นทางรัฐบาลสิงคโปร์ได้มีการสนับสนุนเพื่อให้ประชากรของตนมีขีดความสามารถในการแข่งขันและสามารถเป็นแรงงานสำคัญต่อการพัฒนาประเทศอย่างดียิ่ง เพื่อเข้าสู่สหัสวรรษใหม่โดยยกระดับการเป็นประเทศศูนย์กลางการเงินและอุตสาหกรรมไฮเทค พร้อมส่งเสริมการลงทุนในต่างประเทศที่มีศักยภาพสูงต่างๆ โดยหนึ่งธุรกิจที่ได้รับเลือก นั่นก็คือ Singapore Airline และที่สำคัญทางสายการบิน Singapore Airline มีนโยบายที่ต้องการขยายไปสู่ตลาดโลก เป็นผู้นำทางด้านนวัตกรรมสายการบินและให้คำมั่นสัญญากับผู้โดยสารดั่งSlogan ที่ว่า “A Great Way To Fly” จะเลือกสรรทางที่ดี ปลอดภัย การเดินทางที่ดีที่สุดให้กับผู้โดยสาร Marketing Communication Strategy and Global Brand Communication   ทางสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ได้มีการใช้เครื่องมือการสื่อสารแบบต่อยอด ใช้ธุรกิจการบินที่มีอยู่ให้เป็นประโยค ผ่านเครื่องมือการสื่อสารต่างๆ โดยเน้นหลักๆ ที่การทำประชาสัมพันธ์ สร้างภาพลักษณ์ผ่าน touch point ต่างๆให้แก่แบรนด์ของตน ไม่ว่าจะเป็น การสร้างภาพลักษณ์ โดยใช้ พนักงานต้อนรับหญิงที่รู้จักในชื่อสิงคโปร์เกิร์ล[Singapore Girl] ได้รับการส่งเสริมให้เป็นสัญลักษณ์ของสายการบิน    การส่งเสริมภาพลักษณ์และโฆษณาของสิงคโปร์แอร์ไลน์ส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับลูกเรือเป็นหลัก ซึ่งแตกต่างจากสายการบินส่วนใหญ่ที่มุ่งเน้นอากาศยานและการบริการ โดยเฉพาะการเผยแพร่ภาพลักษณ์ของสิงคโปร เกริล์ ที่ประสบความสำเร็จอย่างกว้างขวางและกลายเป็นองค์ประกอบสำคัญในโฆษณาและสิ่งพิมพ์เผยแพร่ของสายการบิน กลยุทธ์ส่งเสริมภาพลักษณ์นี้มุ่งหมายเพื่อสร้างพลังให้แก่สิงคโปร์เกิร์ลให้เป็นตัวแทนของไมตรีจิตและความสง่างามแบบเอเชีย โดยมีรายการฝึกหัดลูกเรือทั้งส่วนห้องโดยสารและส่วนเทคนิคตอบสนองจุดมุ่งหมายนี้    แม้ว่าสิงคโปร์เกิร์ลเป็นแผนการตลาดและสร้างภาพลักษณ์ที่ประสบความสำเร็จสำหรับสายการบิน แต่ก็ถูกวิพากษวิจารณ์ว่าเป็นการสร้างภาพให้ผู้หญิงอยู่ในฐานะด้อยกว่าผู้ชาย กลุ่มสนับสนุนสิทธิสตรีกล่าวว่า การอ้างอิงทวัฒนธรรมสำหรับสิงคโปร์เกิร์ลนั้นล้าสมัยแล้ว และผู้หญิงชาวสิงคโปร์ส่วนใหญ่ในปัจจุบันก็ทันสมัยและมีเสรี    สิงคโปร์แอร์ไลน์ได้รีบรางวัลมากมายในด้านมาตรฐานบริการ และได้ประกาศว่าจะเป็น”สายการบินที่ได้รับรางวัลมากที่สุดในโลก” และในการสำรวจ Zagat ประจำปีครั้งที่ 29 โดย US Pollsters ปี 2550 สิงคโปร์แอร์ไลน์ได้อันดับที่ 1 ทั้งใน Economy Class และ First Class     นอกจากนี้ยังเป็นอันกับ 1 ในด้าน Website ความสะดวกสบาย บริการ และอาหารสำหรับผู้โดยสารทุกชั้น และนอกจากนั้นสิงคโปร์แอร์ไลน์ยังมอบการสื่อสาร บริการ ผ่านความบันเทิง โดยมี “KrisWorld”คริสเวิลด์ (KrisWorld) เป็นระบบความบันเทิงในระหว่างการบินของสิงคโปร์แอร์ไลน์ เริ่มนำมาให้บริการครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2540 บนเครื่องบินโบอิง747-400และโบอิง 777-200ER ทุกชั้นโดยสารจะใช้ระบบ ไวส์แมน3000 ที่มีภาพยนตร์ เพลง และเกมจากนินเทนโดให้เลือกได้ตามความต้องการ ผู้โดยสารในชั้น ห้องชุดสิงคโปร์แอร์ไลน์ ชั้นหนึ่ง และ ชั้นธุรกิจ จะได้รับหูฟัง Active noise-cancelling อีกด้วยFirst Class A choice of stay at a prestigious hotel awaits you when you travel on our First Class With Singapore Airlines First Class, you can also enjoy a complimentary one-night stay at one of Singapore's most prestigious hotels, inclusive of limousine transfers and gourmet breakfast. You can select your stay at: - Ritz-Carlton Millenia Singapore-     Fairmont Singapore Hotel - Shangri-La Hotel Singapore - Goodwood Park Hotel : อีกทางเลือกหนึ่งของผู้โดยสารระดับ First Class กับการพักโรงแรมที่หรูที่สุดอย่าง The Ritz-Carlton Millenia Singapore และเดินทางสะดวกสบายด้วยรถลิมูซีน ประกอบไปด้วยอาหารเช้าสด ใหม่ ดี เพียงคุณเลือกเดินทางไปกับสิงคโปร์แอร์ไลน์ นอกจากนี้ ผู้โดยสารยังสามารถลงทะเบียนทางอินเทอร์เน็ตหรือบริการข้อความสั้นได้ ผู้โดยสารที่ลงทะเบียนทางอินเทอร์เน็ตจะสามารถพิมพ์บัตรโดยสารออนไลน์ได้ และผู้โดยสารที่เดินทางระยะสั้นยังสามารถลงทะเบียนเที่ยวบินขากลับได้พร้อมกับเที่ยวบินขาไปอีกด้วย ยังมีเครื่องมือการสื่อสารทางการตลาดที่ Classic อีกอย่างที่สำคัญ คือ การทำSales Promotion เพื่อเพิ่มทางเลือกให้กับผู้โดยสาร ให้คุ้มค่า และสมราคา อาทิ เช่น Highlight Promotion Singapore Airlines A380 to Los Angeles Fly Singapore Airlines A380 to Los Angeles and stay a night free in Singapore. : บินจากสิงคโปร์สู่ลอสแองเจลลิส พักฟรีที่สิงคโปร์ 1 คืน Singapore Airlines and VISA Thailand Promotion Purchase Singapore Airlines online ticket for flights from Thailand and get an opportunity to win one of the 10 prizes of THB1,000 cash back every month through a lucky draw. : ซื้อตั๋วของสิงคโปร์แอร์ไลน์ผ่านทางอินเทอร์เนตจากประเทศไทยดีรับโอกาสลุ้นรางวัลมูลค่า 1000 บาท 10 รางวัล จับรางวัลผู้โชคดีทุกๆ 1 เดือน Summer Specials Promotion Wondering where to go for your holidays or planning a business trip? Let your journey begin with Singapore Airlines Thailand. From now until 31 August 2011, our Online Promotion offers you all-in fares at exceptional value for your desired journey to Singapore Bali, Jakarta, Cape Town and Johannesburg.  : ตั้งแต่วันนี้จนไปถึง 31 สิงหาคมมีโปรโมชันดีดีของทริป สิงคโปร์ บาหลี จากาตาร์ และเมืองคราพ ทาวน์ในโจฮานเบริกส์ Singapore Airlines Suites Experience the Singapore Airlines Suites and enjoy a complimentary one-night stay at the legendary Raffles Hotel. Fly our A380 Suites and indulge in a level of comfort and privacy that goes far beyond expectations. Then extend the experience with complimentary limousine service, gourmet breakfast and an overnight stay at Singapore's other icon - the historic Raffles Hotel.  : ต้อนรับผู้โดยสารระดับ High-end ด้วยแพคเกจพิเศษของทางสิงคโปร์แอร์ไลน์ในท่านได้ลิ้มรสความสุขกับที่พักฟรี 1 คืน ในโรงแรมระดับ 5 ดาว อย่างlegendary Raffles Hotel ให้ความสะดวกสบาย เป็นส่วนตัว มีบริการรถลิมูซีน อาหารเช้า และโปรแกรมพิเศษตลอดทั้งการพักผ่อนของท่านได้ที่ legendary Raffles Hotel ในการเดินทางของ สิงคโปร์แอร์ไลน์ First Class A choice of stay at a prestigious hotel awaits you when you travel on our First Class With Singapore Airlines First Class, you can also enjoy a complimentary one-night stay at one of Singapore's most prestigious hotels, inclusive of limousine transfers and gourmet breakfast. You can select your stay at: - Ritz-Carlton Millenia Singapore-     Fairmont Singapore Hotel - Shangri-La Hotel Singapore - Goodwood Park Hotel : อีกทางเลือกหนึ่งของผู้โดยสารระดับ First Class กับการพักโรงแรมที่หรูที่สุดอย่าง The Ritz-Carlton Millenia Singapore และเดินทางสะดวกสบายด้วยรถลิมูซีน ประกอบไปด้วยอาหารเช้าสด ใหม่ ดี เพียงคุณเลือกเดินทางไปกับสิงคโปร์แอร์ไลน์ Business Class Indulge yourself on our spacious Business Class cabin to our selected destinations of Singapore, Jakarta, Bali, Australia and South Africa with our exclusive Business Class promotion.  The promotional fares are available for booking and travel from now until 31 August 2011. : พิเศษสุดไปกับการเดินทางเพียงคุณเลือกปลายทางการเดินทางประเทศสิงคโปร์,จากาตาร์,ออสเตรเลีย,แอฟริกาใต้,ด้วยแพคเกจสุดพิเศษของBusiness Class ในเดือนสิงหาคม 2011 Economy Class Promotions For Individual Traveller Discover our exceptional value Economy Class airfares for flights from Bangkok. : รองรับความต้องการความเป็นส่วนตัวของนักเดินทางคนเดียว ด้วยการค้นหาและรับคุณภาพการบริการของสิงคโปร์แอร์ไลน์ตลอดการเดินทาง แล้วท่านจะไม่ผิดหวัง 2 to Travel Check out our great 2-to-travel Economy class airfares for flights from Bangkok. At least 2 passengers must travel together on both outbound and inbound journeys. : อีกทางเลือกของโปรโมชั้นสำหรับนักเดินทางแพคคู่ ใน Economy Class  Global Brand Communication ถือว่า “สิงคโปร์แอร์ไลน์” เป็นสายการบินที่ประสบความสำเร็จของการทำ Asian Branding นับว่าเป็นแบรนด์ที่มีกรณีศึกษาที่น่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของแบรนด์ที่แข็งแกร่ง มีฐานยืนหยัดมั่นคง[established brands]หรือเป็นแบรนด์ใหม่ที่ปรารถนาอนาคตอันก้าวไกล [aspiring brand] ให้พิจารณาถึงวิถีและปัจจัยต่างๆที่ผลักดันให้แบรนด์สายการบินแห่งนี้ กลายเป็น leading brand ของโลกได้ ด้วยการรวมพลังอย่างกลมกลืนเกี่ยวเนื่องและครบองค์ประกอบทั้งจากทีมบริหารหลักไปจนถึงการจัดการองค์กรทุกๆส่วน [Insight-out organize plan] ที่ต่างก็พร้อมอุทิศ ทุ่มเทเพื่อสาน brand strategy สู่ชีวิตจริงของแบรนด์   และแคมเปญสำคัญที่ทำให้สิงคโปร์แอร์ไลน์สามารถแจ้งเกิด และบุกตลาดโลกได้ คือ โฆษณา ประชาสัมพันธ์ “Singapore Girl” ที่วางกลยุทธ์การสื่อสารแบรนด์ที่เป็นสากล สำหรับการสื่อสารให้ตลาดต่างประเทศเข้าใจได้เป็นอย่างดี เดิมก่อนที่ประเทศสิงคโปร์จะแยกตัวจากประเทศ มาเลเซียนั้น ทั้งสองประเทศยังทำธุรกิจการบินร่วมกันในชื่อ Malaysia-Singapore Airline [MSA] สิ่งที่ สิงคโปร์แอร์ไลน์นำมาด้วยเมื่อแยกตัวออก จากมาเลเซีย คือ รูปแบบการให้บริการในเครื่องบินและเครืองแบบพนักงานซึ่งออกแบบโดยดีไซน์เนอร์ชื่อดัง ปิแอร์ บัลแมง เป็นความชาญฉลาดของผู้บริหารสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ในขณะนั้น และ เอียน เบตี้ เจ้าของบริษัทโฆษณาเล็กๆ Batey Ads ที่เพิ่งก่อตั้ง กล้าเสนอ มุมมองการสื่อสารแบรนด์ของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์แตกต่างกว่าสายการบินทั่วไป ในช่วงต้นทศวรรษ 1970 สายการบินส่วนใหญ่ให้ความสำคัญกับความชำนาญของนักบิน เครื่องบินรุ่นใหม่ เส้นทางบินที่ครอบคลุม แต่น้อยรายที่ให้ความสำคัญกับการให้บริการ เอียน เบตี้ เจ้าของบริษัทโฆษณาเล็กๆ Batey Ads ที่เพิ่งก่อตั้งกล้าเสนอมุมมองการสื่อสารแบรนด์ของสายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์แตกต่างกว่าสายการบินทั่วไป66 Productivity Worldตัวอย่างของความคิดนอกกรอบที่ยังไม่มีสายการบินใดทำ คือ การที่บริษัท Batey Ads สามารถนำหุ่นขี้ผึ้ง“สาวสิงคโปร์” ไปจัดแสดงที่มาดามทรูโซด์ที่ลอนดอน ในโอกาสฉลองครบ 21 ปีของแคมเปญ “Singapore Girl” สารของแบรนด์ที่ชาญฉลาดส่วนในเรื่องกลยุทธ์ด้าผลิตภัณฑ์ สายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์ไม่ ยอมให้ใครแซงหน้าในการนำเสนอนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง เช่นในปี 2004 สิงคโปร์แอร์ไลน์เริ่ มเที่ ยวบินไกลที่ สุดแบบไม่ หยุดพักที่ ไหนจากสิงคโปร์สู่นครนิวยอร์ก และนครลอส แอนเจลิส ของสหรัฐอเมริกา หรือในปี 2007 ได้จัดซื้อเครื่องบินโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลก Airbus A380 เข้าประจำการ เป็นรายแรกของโลกสิงคโปร์แอร์ไลน์ ยังคงมุ่ งมั่ นพัฒนาการบริการ ทั้งด้านอาหาร ความบันเทิงบนเครื่ องบิน และที่ นั่ งที่สะดวกสบารวมทั้ง เทคโนโลยีใหม่ ๆ และเส้นทางการบินใหม่อย่างต่อเนื่อง ทั้งหมดที่กล่าวมานี้เป็นการสื่  Global Brand Analysis Part : จากข้อมูลข้างต้นทั้งหมดที่กล่าวมา แบรนด์ Singapore Airline มีข้อได้เปรียบและเสียเปรียบทางการแข่งขัน ตามทฤษฎีดังต่อไปนี้ วิเคราะห์ตามหลัก Product/Service Life Cycle : ถือว่าเป็นแบรนด์ที่อยู่ในช่วง Maturity ที่ต้องการการสื่อสารทางการตลาดอย่างต่อเนื่องเพื่อย้ำเตือน [Remind] ผู้บริโภคให้ไม่ลืมเลือนแบรนด์ และให้ข้อมูล ตอกย้ำจุดยืนที่ชัดเจน [Positioning] ให้สามารถครองใจผู้บริโภคต่อไป [Top of Mind]                          Sales Volume                                   Introduction        Growth        Maturity       Decline วิเคราะห์ตามหลัก S W O T                                                                               Strength : Singapore Airline มีรากฐานแบรนด์ที่แข็งแกร่งมี                                                                                    การขยายไลน์ธุรกิจเพื่อรอง                                                                                    รับความต้องการของ Internal Factor                                                              ผู้บริโภคที่หลากหลาย                                                                                         Weakness : แคมเปญการสื่อสาร Singapore Girl เกิดข้อ                                                             พิพาททางด้านวัฒนธรรม เรื่องสิทธิสตรี                                                                                                                         Opportunities -อัตตาเศรษฐกิจของประเทศสิงคโปร์                                                               -มีการเติบโตและพัฒนาอย่างเข้มแข็ง External Factor                                            ผู้บริโภคมีทัศนคติที่ดีต่อภาพลักษณ์ของธุรกิจ -มาตรการส่งเสริมจากภาครัฐ                                         Threat         คู่แข่งขัน-การแตกไลน์ธุรกิจเพิ่มมากขึ้น                                                           พฤติกรรมของผู้บริโภคที่ซับซ้อนมากขึ้น ทาง Singapore Airline ควรใช้ กลยุทธ์ S O [รุกไปข้างหน้า] เป็นกลยุทธ์ที่กำหนดขึ้นโดยนำจุดแข็งขององค์กรมาเป็นองค์ประกอบสำคัญในการเข้าไปฉกฉวยโอกาสจากปัจจัยภายนอกที่เอื้ออำนวย วิเคราะห์ตามหลัก 4 Cs’ Consumer ทางสายการบินค่อนข้างครอบคลุมเรื่องผู้บริโภค เพราะมีความเกี่ยวข้องกับ     stakeholder หลายคน หลายกลุ่ม และได้ทำการสื่อสารกับผู้บริโภคหลายกลุ่มดังที่ได้แตกไลน์ธุรกิจเพื่อรองรับผู้บริโภคหลายกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็น Young Pragmatic,Young Aspirers หรือ High-end อย่าง Educated Progressive,etc. Cost สำหรับ SOV.[Share of voice] ของผู้บริโภคส่วนมากบอกได้เลยว่า สายการบินสิงคโปร์แอร์ไลน์แม้ว่าจะมีต้นทุนที่สูงกว่าสายการบินแบรนด์อื่นๆ อีกหลายๆแบรนด์ แต่ “คุณภาพของเขา สมราคาจริงๆ” Convenience มีความสะดวกในการจอง-ซื้อตั๋วด้วยหลายๆช่องทางไม่ว่าจะเป็นinternet,mobile phone,etc.หรือการเสนอ sale-promotion ที่รองรับและเป็นทางเลือกเพิ่มแก่ผู้บริโภค Communication  มีการสื่อสารกับผู้บริโภคหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นการทำโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือกระทั่งสื่อยอดนิยมขณะนี้ Social network นั่นเอง วิเคราะห์ตามหลัก Competitor Analysis : Brand+Industry Competitor **Five Force Analysis ต่างประเทศด้วย และยังเป็นโอกาสที่ดีที่ทางสายการบินมีการร่วมทุน-ร่วมหุ้นกับธุรกิจอื่นตามข้อมูลข้างต้นที่กล่าวมาแล้ว หากแต่ต้องมีการปรับกลยุทธ์การสื่อสารของแบรนด์ของบริการบางชนิดเพื่อให้เข้าไปทำความเข้าใจกับตลาดโลกได้ดี และต่อเนื่องมากกว่านี้ เนื่องจากปัจจุบันการสื่อสารของสิงคโปร์แอร์ไลน์ได้เลือนหายไปในวง Massอาจเป็นการสร้างโอกาสที่ดีหสกทำความรู้จัก [Brand Awareness] กับผู้บริโภคหลายกลุ่มมากขึ้น
  2. การออกแบบและพัฒนาบริการ : SIA มีการออกแบบและพัฒนาบริการอยู่เสมอ รวมไปถึงให้ความสำคัญกับความคิดเห็นของลูกค้า มีการทำการสำรวจความคิดเห็นของผู้โดยสาร ซึ่งผลวิเคราะห์การสำรวจดังกล่าว จะถูกรายงานไปยังบุคคลากรที่สำคัญในองค์กรและจะถูกนำมาพัฒนาเป็นบริการใหม่หรือปรับปรุงการให้บริการ ช่วยดึงดูดให้ลูกค้าสนใจมาใช้บริการ นวัตกรรม : SIA มีนโยบายที่จะนำนวัตกรรมใหม่มาใช้อยู่เสมอ เพื่อให้มีบริการที่ดีกว่าคู่แข่ง อีกทั้งยังมีการจัดซื้อเครื่องบินใหม่อยู่เสมอ จึงเป็นสายการบินที่มีอายุเครื่องบินน้อยที่สุดจากสายการบินหลักระหว่างประเทศทั้งหมด โดยมีอายุเครื่องบินเฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 6 ปี 5 เดือน เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ยอุตสาหกรรมสายการบินที่มีอายุเฉลี่ยมากกว่า 13 ปี และได้มีการจัดซื้อเครื่องบินโดยสารที่ใหญ่ที่สุดในโลกอย่าง Airbus A380 เป็นสายการบินแรกของโลก อย่างไรก็ตามด้วยต้นทุนที่สูงของ Airbus A380 SIA จึงได้มีการนำนวัตกรรมใหม่มาใช้ควบคู่กันไป เพื่อเจาะกลุ่มลูกค้า Business class ด้วยสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น KrisFlyer อำนวยความสะดวกสบายให้กับลูกค้าในระบบ Internet บนเครื่องบิน ความสบายของที่นั่ง การติดตั้งที่นั่งแบบ Space Bed การจัดห้องชุดที่ที่มีออฟฟิศส่วนตัวและสามารถกางเตียงนอนออกมาได้ ทั้งนี้เพื่อต้องการให้บริษัทเป็นผู้นำบริษัทอื่นๆ และเพื่อช่วยให้ลูกค้าได้ใช้เทคโนโลยีที่ดีที่สุด กำไร : แม้ว่า SIA จะให้ความสำคัญกับลูกค้าและการพัฒนาการบริการ แต่พนักงานในองค์กรจะต้องมีการตระหนักถึงกำไรและต้นทุนด้วย โดย SIA ไม่ได้มุ่งหวังที่จะเป็นบริษัทที่ทำให้มีขนาดใหญ่ที่สุดแต่ต้องการที่จะเป็นบริษัทที่มีความสามารถในการทำกำไรมากที่สุด ซึ่งความสามารถในการทำกำไรขึ้นนั้นไม่ได้เกิดจากแค่การลดต้นทุนแต่ยังต้องสามารถที่จะคิดราคาที่สูงกว่าได้ โดย SIA ได้พัฒนาความสะดวกสบายให้แก่ผู้โดยสาร ทำให้ผู้โดยสารเต็มใจที่จะจ่ายเพื่อที่จะได้รับการบริการที่ดีที่แตกต่างจากบริษัทอื่นๆ นอกจากนี้บริษัทยังมีกำไรอีกส่วนที่ได้มาจากการสนับสนุนจากบริษัทร่วม คือบริษัทที่ดูแลซ่อมบำรุง ทำให้สามารถประหยัด ต้นทุนค่าใช้จ่ายได้มาก เนื่องจากไม่ต้องทำการจ้างบริษัทอื่น รวมถึงยังสามารถสร้างรายได้จากการรับซ่อมบำรุงอีกด้วย