SlideShare a Scribd company logo
1 of 69
วิกฤตซับไพร์มในสหรัฐ
(Subprime Crisis / Hamberger Crisis)
MB 614 : Applied Macroeconomics
By : Group 2 (MBE 19)
Thammasart University
1
 ความหมายของสินเชื่อซับไพร์ม
วิกฤตซับไพร์มในสหรัฐ
(Subprime Crisis / Hamberger Crisis)
 สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
 การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
 บทบาทของธนาคารกลางในการบรรเทาผลกระทบ
 ผลกระทบของวิกฤตการณ์ซับไพร์มที่มีต่อประเทศไทย
2
 แนวทางการรับมือของประเทศไทย
 วิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยโดยใช้ Mundell-Fleming Model และ AD-AS
ความหมายของสินเชื่อซับไพร์ม
สินเชื่อซับไพร์ม (Subprime Mortgage Loan) หมายถึง สินเชื่อเพื่ออสังหาริมทรัพย์ สาหรับผู้
กู้ที่มีความน่าเชื่อถือต่า
• สถาบันการเงินปล่อยกู้แก่คนที่มีความสามารถในการชาระเงินต่ากว่าวงเงินกู้ หรืออาจเคยมี
ประวัติผิดชาระหนี้
• สินเชื่อมีความเสี่ยงสูง ตามคุณสมบัติของกลุ่มลูกค้า ที่มักไม่ได้รับอนุมัติเงินกู้จากสถาบันการเงิน
ทั่วไป
• มีอัตราดอกเบี้ยที่สูงกว่าปกติ (ประมาณร้อยละ 10) เพื่อชดเชยความเสี่ยงที่สูง
ความหมายของสินเชื่อซับไพร์ม
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
1. นโยบายอัตราดอกเบี้ยต่าของธนาคารกลางสหรัฐฯเพื่อใช้กระตุ้นเศรษฐกิจ – ลดลงเหลือ
เพียง 1% ในช่วงปี 2002-2005
5
1. นโยบายอัตราดอกเบี้ยต่าของธนาคารกลางสหรัฐฯเพื่อใช้กระตุ้นเศรษฐกิจ – ลดลงเหลือ
เพียง 1% ในช่วงปี 2002-2005
- มีการกู้และปล่อยกู้อสังหาฯจานวนมาก
- เกิดการเก็งกาไรราคาตลาดบ้านใหม่และบ้านมือสอง รวมถึงการลงทุนซื้อบ้านเพื่อนาไปขายต่อ
ทาให้ราคาบ้านสูงขึ้นกว่า 2 เท่าภายในระยะเวลา 5 ปี
- เมื่อเก็งกาไรในอสังหาฯ จากการกู้ยืมมากขึ้น ทาให้เกิดภาวะฟองสบู่ในสหรัฐฯ ช่วงปี 2006
ประกอบกับราคาน้ามันในตลาดโลกที่สูงขึ้น ส่งผลให้เกิดปัญหาเงินเฟ้ อตามมา
- หลังปี 2005 ธนาคารกลางสหรัฐ แก้ไขปัญหาเงินเฟ้ อโดยขึ้นอัตราดอกเบี้ยอ้างอิงมาที่ 5.25%
ทาให้การซื้ออสังหาฯ ลดลงอย่างรวดเร็ว
6
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
2. ผลจากหนี้เสียของสินเชื่อซับไพร์ม
- ลูกหนี้ของสินเชื่อซับไพร์มเพิ่มขึ้นจากมาตรการดอกเบี้ยต่าข้างต้น ทาให้สถาบันการเงินต่าง
แข่งขันกันปล่อยสินเชื่อ เนื่องจากมีสภาพคล่องสูง จึงทาให้มีการปล่อยสินเชื่ออย่างหละหลวม
มาตรการตรวจสอบประวัติลดลง
- สามารถกู้เงินเพิ่มจากส่วนต่างของราคาบ้านกับภาระหนี้ปัจจุบัน เนื่องจากผู้ปล่อยกู้มองว่า
ราคาหลักประกัน(บ้าน)ที่สูงขึ้น คุ้มกับการปล่อยเงินกู้เพิ่ม
- มูลค่าสินเชื่อซับไพร์มเพิ่มขึ้นจาก 35 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 1994 สูงขึ้นเป็น 665
พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2005 และกาลังเผชิญกับปัญหาเงินเฟ้ อ
7
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
2. ผลจากหนี้เสียของสินเชื่อซับไพร์ม
8
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
2. ผลจากหนี้เสียของสินเชื่อซับไพร์ม
9
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
2. ผลจากหนี้เสียของสินเชื่อซับไพร์ม
- เมื่อธนาคารกลางสหรัฐฯ ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยอ้างอิง ผู้ที่กู้เงินมาซื้ออสังหาฯ ต้องจ่ายชาระ
หนี้เงินกู้เพิ่มขึ้น ส่วนผู้มีหลักทรัพย์ค้าประกัน ถูกปรับลดมูลค่าหรือถูกยกเลิก ลูกหนี้จึงต้องขาย
หลักทรัพย์ดังกล่าวเพื่อชาระหนี้ประกอบกับ ตลาดอสังหาฯ อิ่มตัวจากจานวนบ้านที่มีการสร้าง
เพิ่มขึ้นอย่างมากในปี 2002-2006 ยิ่งเป็นการกดดันราคาหลักทรัพย์ให้ต่าลง
- ราคาบ้านที่เริ่มชะลอตัวลงพร้อมกับอัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นนี้ทาให้เงินต้นคงเหลือที่ต้องชาระสูง
กว่ามูลค่าสินทรัพย์ จึงต้องจายอมปล่อยให้บ้านถูกยึดไป โดยไม่ได้คานึงถึงการเสียประวัติชาระ
หนี้ก่อให้เกิดหนี้เสีย (NPL) พอกพูนขึ้นเรื่อยๆ ส่งผลกระทบต่อระบบการปล่อยสินเชื่อ
ของสหรัฐฯ
10
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
2. ผลจากหนี้เสียของสินเชื่อซับไพร์ม
- มีการยึดทรัพย์สินในสหรัฐฯ เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วงปี 2007-2009 และทาให้ปัญหาทางการ
เงินนั้นแพร่กระจายไปอย่างรวดเร็ว
11
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
3. การเก็งกาไรของบริษัทเงินทุนยักษ์ใหญ่ในสหรัฐฯ
12
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
3. การเก็งกาไรของบริษัทเงินทุนยักษ์ใหญ่ในสหรัฐฯ
- มีการใช้กลยุทธ์การแปลงสินทรัพย์เป็นทุน (Securitization) คือการนาลูกหนี้ที่ด้อยคุณภาพ
มาแปลงให้เป็นหลักทรัพย์ และนาไปขายต่อ โดยจะให้ผลตอบแทนที่สูงตามระดับความเสี่ยง
- ต่อมาได้นาสินเชื่อที่ปล่อยกู้มารวมกัน และรวมกับพันธบัตรประเภทต่างๆ แล้วสร้างเป็น
ผลิตภัณฑ์ทางการเงินใหม่ขึ้นมา เรียกว่า Collateralized Debt Obligation (CDO)
Credit by : BBC News, 7 August 2009
13
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
3. การเก็งกาไรของบริษัทเงินทุนยักษ์ใหญ่ในสหรัฐฯ
- บริษัทเงินทุน รวมไปถึงผู้ซื้อตราสาร CDO หาทางลด / กระจายความเสี่ยงโดยแปลงความ
เสี่ยงของตนเองให้แก่บริษัทประกันต่างๆ ในรูปของตราสารอนุพันธ์ Credit Default Swaps :
CDS
14
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
3. การเก็งกาไรของบริษัทเงินทุนยักษ์ใหญ่ในสหรัฐฯ
- เมื่อเกิดปัญหาสินเชื่อซับไพร์ม ผู้ลงทุนในตราสาร CDO และ CDS จึงได้รับผลกระทบตามไป
ด้วย และประสบปัญหาขาดทุนจากการเรียกเก็บหนี้ไม่ได้
- ธนาคารและสถาบันทางการเงินที่สาคัญทั่วโลกรายงานยอดการขาดทุนที่สูงกว่า 4.35 แสนล้าน
ดอลลาร์สหรัฐฯ ในวันที่ 17 กรกฎาคม 2008
Credit by : BBC News, 7 August 2009
15
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
3. การเก็งกาไรของบริษัทเงินทุนยักษ์ใหญ่ในสหรัฐฯ
- จะเห็นได้ว่าการแปลงสินเชื่อเป็นสินทรัพย์ โดยเฉพาะการรวมเอาสินเชื่อซับไพร์มและสินเชื่อ
จานองอย่างอื่นเข้าด้วยกัน เพื่อใช้เป็นหลักประกันในการสร้างเครื่องมือทางการเงิน ถือเป็น
ชนวนสาคัญที่ก่อให้เกิดวิกฤตการณ์รุนแรงขึ้น
16
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
โดย นายปณิธัศร์ ปทุมวัฒน์ 17
สาเหตุของการเกิดวิกฤตสินเชื่อซับไพร์ม
มีการแพร่กระจายโดยผ่านช่องทาง ดังนี้
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
1. ตราสารหนี้ Collateralized Debt Obligation (CDO)
- วิกฤตซับไพร์มทาให้มูลค่าของตราสาร CDO ลดลงอย่างมาก นักลงทุนที่ถือตราสาร CDO จึงแห่
กันเทขาย (Panic sell) ทาให้ราคาลดลงอย่างรวดเร็ว
18
1. ตราสารหนี้ Collateralized Debt Obligation (CDO)
19
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
2. ราคาหลักทรัพย์ในสหรัฐฯ ที่เกี่ยวข้องกับสินเชื่อซับไพร์ม
- เช่น ราคาหุ้นของสถาบันการเงินที่ปล่อยสินเชื่อซับไพร์ม หรือ hedge fund ที่มีการลงทุนในตรา
สารหนี้ธุรกิจซับไพร์ม รวมไปถึงสถาบันการเงินอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- หลักทรัพย์เหล่านี้ถูกถือโดยนักลงทุนทั้งในสหรัฐฯ และต่างประเทศ
3. ตลาดหุ้นของสหรัฐฯ ที่ตกต่าลงอย่างมาก
- ตลาดหุ้นสหรัฐฯ ที่ลดลงจากวิกฤติสินเชื่อซับไพร์ม ก่อให้เกิดผลทางจิตวิทยาต่อตลาดหุ้นทั่วโลก
20
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
21
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
ที่มา : GoogleFinance
ความเสียหายจากวิกฤตซับไพร์มได้แพร่กระจายไปยังประเทศอื่นๆ เนื่องจากมีความเชื่อมโยง
ทางเศรษฐกิจ โดยผ่านช่องทางการค้า การเงิน และวัฏจักรเศรษฐกิจ
22
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
• ความเชื่อมโยงทางการเงิน (International Financial Linkages)
วิกฤตสถาบันการเงินข้างต้นได้ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงและกว้างขวางต่อภาคการเงินใน
ภูมิภาคอื่นๆ ทั้งด้านตลาดเงินและตลาดทุน และจากเหตุการณ์ดังกล่าว ได้ส่งผลประทบไปยังแต่ละ
ภูมิภาคด้วยระดับความรุนแรงที่แตกต่างกัน ทั้งนี้วิกฤตการเงินครั้งนี้ได้สร้างผลกระทบผ่าน
ช่องทางทางการเงิน 4 ด้านสาคัญ ดังนี้
1) ด้านสภาพคล่อง
2) ด้านเครดิต
3) ด้านตลาดหุ้น
4) ด้านอัตราแลกเปลี่ยน
23
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
• ความเชื่อมโยงทางการเงิน (International Financial Linkages)
1) ด้านสภาพคล่อง
การประสบปัญหาทางการเงินของ Bear Stearns และ BNP ในช่วงปี 2007 ถึงต้นปี 2008 ทาให้
การปล่อยกู้ระหว่างสถาบันการเงินชะลอตัวลง และต้นทุนการกู้ยืมปรับตัวสูงขึ้นอย่างมาก เนื่องจาก
สถาบันการเงินเริ่มกังวลต่อสภาพคล่องและความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ปัญหา
สภาพคล่องได้ทวีความรุนแรงและเด่นชัดมากยิ่งขึ้น เมื่อ Lehman Brothers ล้มละลาย เหตุการณ์ใน
ครั้งนี้ได้สร้างความวิตกกังวลเกี่ยวกับสถานะทางการเงิน ทาให้สภาพคล่องในตลาดการเงินหลาย
ภูมิภาคตึงตัวรุนแรงมากขึ้น
24
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
• ความเชื่อมโยงทางการเงิน (International Financial Linkages)
1) ด้านสภาพคล่อง
25
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
• ความเชื่อมโยงทางการเงิน (International Financial Linkages)
2) ด้านเครดิต
ความเสี่ยงด้านสินเชื่อเพิ่มมากขึ้น สะท้อนจาก credit spread ในกลุ่มประเทศยูโรที่
เพิ่มสูงขึ้นมากเมื่อ Bear Stearns ประสบปัญหาทางการเงิน เนื่องจากกลุ่มประเทศยูโร มีการ
ถือครองและลงทุนในทรัพย์สินที่เป็นสกุลดอลลาร์สหรัฐฯ มากเมื่อเทียบกับภูมิภาคอื่นๆ
โดยเฉพาะการลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยง เช่น ตราสารทางการเงินประเภท CDO และ CDS
นอกจากนี้การล้มละลายของ Lehman Brothers ทาให้ credit spread ทั้งในสหรัฐฯ และกลุ่ม
ประเทศยูโรสูงขึ้นอย่างมาก เนื่องมาจากขนาดและความเชื่อมโยงระหว่าง Lehman Brothers
กับสถาบันการเงินอื่นๆนั่นเอง
26
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
• ความเชื่อมโยงทางการเงิน (International Financial Linkages)
2) ด้านเครดิต
27
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
• ความเชื่อมโยงทางการเงิน (International Financial Linkages)
3) ด้านตลาดหุ้น
28
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
• ความเชื่อมโยงทางการเงิน (International Financial Linkages)
4) ด้านอัตราแลกเปลี่ยน
ก่อนการล้มละลายของ Lehman Brothers อัตราแลกเปลี่ยนในทุกภูมิภาคแข็งค่าขึ้น
เมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ เพราะวิกฤตการเงินในสหรัฐฯ ยังไม่ส่งผลต่อภาคเศรษฐกิจจริงใน
ภูมิภาคอื่น อย่างไรก็ดีหลังจากการล้มละลายของ Lehman Brothers ความเสี่ยงด้านการเงิน
และความไม่แน่นอนทางด้านเศรษฐกิจในภูมิภาคอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น ทาให้อัตราแลกเปลี่ยนทุก
ภูมิภาคอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งเป็นผลมาจากการเร่งขายสินทรัพย์
(Deleveraging) ในรูปแบบต่างๆ ของนักลงทุนทั่วโลก
29
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
• ความเชื่อมโยงทางการเงิน (International Financial Linkages)
4) ด้านอัตราแลกเปลี่ยน
30
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
ที่มา : EfinanceThai
• ความเชื่อมโยงทางการเงิน (International Financial Linkages)
4) ด้านอัตราแลกเปลี่ยน
31
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
• ความเชื่อมโยงทางการค้า (Intertrade Linkage)
วิกฤตทางการเงินในสหรัฐฯ ที่เริ่มชัดเจนจากการเข้าไปช่วยเหลือ Bear Stearns จนถึงการ
ล้มละลายของ Lehman Brothers ได้สร้างผลกระทบอย่างรุนแรงและขยายขอบเขตเข้าสู่ภาค
เศรษฐกิจจริงในเวลาต่อมา โดยบั่นทอนความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและภาคธุรกิจ ส่งผลให้การบริโภค
และการลงทุนชะลอตัวลง ภูมิภาคอื่นๆที่พึ่งพาการส่งออกและมีสหรัฐฯ เป็นคู่ค้าที่สาคัญ จึงได้รับ
ผลกระทบเป็นอย่างมาก นอกจากนี้เศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวลง ทาให้ราคาน้ามันและสินค้าโภค
ภัณฑ์ลดลงอย่างรวดเร็ว
32
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
• ความเชื่อมโยงทางการค้า (Intertrade Linkage)
33
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
34
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
• การแพร่กระจายของวิกฤติการเงินไปยังภูมิภาคต่างๆ
 กลุ่มประเทศ G3
วิกฤตมูลค่าทรัพย์สินของกลุ่มประเทศยูโรที่ สหรัฐฯ ถือ
ครอง มีมากถึง ร้อยละ 44.6 ของทรัพย์สินในกลุ่มประเทศยู
โรทั้งหมด ขณะที่กลุ่มประเทศยูโรถือครองทรัพย์สินใน
สหรัฐฯ มากถึงร้อยละ 34 ของทรัพย์สินในสหรัฐฯ ประกอบ
กับ โครงสร้างการกู้ยืมทางการเงินของสถาบันในกลุ่ม
ประเทศยูโรและ สหรัฐฯ มีความเชื่อมโยงกันมาก ทั้งจาก
การลงทุนในสินทรัพย์เสี่ยงประเภท MBS (Mortgage
Backed Securities) ในสหรัฐฯ และการกู้ยืมเงินระหว่าง
กันในระดับสูง ทาให้สภาพคล่องในกลุ่มประเทศยูโรตึง
ตัวอย่างรวดเร็วเมื่อวิกฤตการเงินเกิดขึ้นในสหรัฐฯ
35
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
 กลุ่มประเทศ G3
สาหรับภาคการค้า ยุโรปและญี่ปุ่น ได้รับผลกระทบ
ด้านการส่งออกอย่างมาก โดยเฉพาะญี่ปุ่นเนื่องจาก
ระบบเศรษฐกิจถูกขับเคลื่อนด้วยการ ส่งออกมากกว่า
ร้อยละ 80 โดยการส่งออกส่วนใหญ่ เป็นยานพาหนะ
อิเล็กทรอนิกส์ และเครื่องจักร ประกอบกับเงินเยนที่แข็ง
ค่ามากขึ้นกว่าร้อยละ 40 ในช่วงไตรมาส 4 ของปี 2008
ทาให้การส่งออกของญี่ปุ่นหดตัวมากเป็นประวัติการณ์
และส่งผลให้เศรษฐกิจหดตัวรุนแรงมากที่สุดในกลุ่ม
ประเทศ G3
36
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
 กลุ่มประเทศยุโรปตะวันออก
- การไหลเข้าของเงินทุนจานวนมาก เกิดขึ้นก่อนช่วง
เกิดวิกฤต โดยส่วนใหญ่มาจากเงินทุนของธนาคาร
แม่ในยุโรปตะวันตก
- สินเชื่อขยายตัวสูง ดุลบัญชีเดินสะพัดเริ่มขาดดุล
และเงินเฟ้ อเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
- แต่การค้าหดตัวจากการลดลงของราคาน้ามัน
- เมื่อธนาคารของประเทศกลุ่มยูโรประสบปัญหาทาง
การเงิน เงินทุนที่เคยไหลเข้าอย่างต่อเนื่อง จึง
หยุดชะงักลง และประสบปัญหาด้านสภาพคล่อง
อย่างรุนแรง
การกู้ยืมของกลุ่มยุโรปตะวันออกในปี 2007
37
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
 กลุ่มประเทศเอเชีย
- ทางด้านการเงิน ภูมิภาคเอเชียได้รับผลกระทบทางอ้อมจากการขายทรัพย์สินจานวนมากของนัก
ลงทุนต่างประเทศ นาไปสู่ปัญหาสภาพคล่องที่ตึงตัวของภาคธุรกิจและต้นทุนการกู้ยืมที่สูงขึ้น
38
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
- ทางการค้า ได้รับผลกระทบอย่างรุนแรงมากกว่า
ภูมิภาคอื่นๆ เห็นได้จากอัตราการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจที่หดตัวรุนแรงมากกว่าภูมิภาคอื่นๆ
เนื่องจากมีความเชื่อมโยงทางการค้ากับตลาด
โลกสูง ระบบเศรษฐกิจที่พึ่งพาการส่งออก
โดยเฉพาะประเทศที่มีสัดส่วนการผลิตสินค้าขั้นสูง
(Advanced manufacturing) ต่อ GDP มาก เช่น
สิงคโปร์ ไต้หวัน เกาหลี และไทย
 กลุ่มประเทศภูมิภาคอื่นๆ
- กลุ่มประเทศอื่นๆ อาทิลาติน ตะวันออกกลาง (GCC)
ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ได้รับผลกระทบทาง
การเงินไม่มากนัก เนื่องจากธนาคารส่วนใหญ่มี
ความเชื่อมโยงทางการเงินกับประเทศสหรัฐฯ และ
ยุโรปไม่มากนัก ประกอบกับสถาบันการเงินส่วนใหญ่
ถือครองทรัพย์สินเสี่ยงประเภท subprime และ
CDO ในสัดส่วนที่ต่า
- ได้รับผลกระทบโดยตรงจากราคาน้ามันและสินค้า
โภคภัณฑ์ที่ลดลง เนื่องจากอุปสงค์ในตลาดโลกที่
ลดลง โดยเฉพาะกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง
39
การแพร่ของวิกฤติซับไพร์มในสหรัฐฯ ไปสู่ตลาดทุนโลก
1.การใช้นโยบายการเงิน
มาตรการ รูปแบบ วิธีการ วัตถุประสงค์
Forward guidance
(เป็นระยะตั้งแต่ ม.ค. 2552 )
การประกาศตรึงอัตราดอกเบี้ย
นโยบายให้อยู่ในระดับต่าในระยะ
ยาว
ในปี 2552 FED ตรึงอัตราดอกเบี้ย
จนกว่าจะมั่นใจว่าเศรษฐกิจสหรัฐฯ
จะปรับตัวดีขึ้นและจะดาเนิน
มาตรการจนกว่าอัตราการว่างงาน
จะต่ากว่า ร้อยละ 6.5
เพื่อส่งสัญญาณว่า นโยบายการเงิน
จะผ่อนคลายต่อไปเป็นเวลานาน
เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
QE1
(ธ.ค. 2551 -มี.ค.2553)
การเพิ่มขนาดงบดุลของธนาคาร
กลาง
เข้าซื้อ MBS จานวน 1.25 ล้าน
ล้านดอลลาร์สรอ.
ช่วยให้ภาคการเงินและตลาด
อสังหาริมทรัพย์กลับสู่ภาวะปกติ
QE2
(พ.ค. 2553-มิ.ย.2554)
การเพิ่มขนาดงบดุลของธนาคาร
กลาง
เข้าซื้อ Tereasury Bonds
ระยะยาวจานวน 6 แสนล้าน
ดอลลาร์ สรอ. (จากัดปริมาณ)
ลดอัตราดอกเบี้ยตลาดในระยะยาว
เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของ
ตลาดแรงงานและการลงทุน
บทบาทของธนาคารกลางในการบรรเทาผลกระทบ
Quantitative Easing (QE)
มาตรการ รูปแบบ วิธีการ วัตถุประสงค์
Maturity Extension
Program
(ก.ย. 2554-ธ.ค.2555)
การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนสินทรัพย์
ในงบดุลของธนาคารกลาง
ซื้อ Treasury Bond อายุตั้งแต่
6-30 ปี และ ขายTreasury
Bond อายุต่ากว่า 3 ปี
กดอัตราดอกเบี้ยระยะกลางและ
ยาวให้ต่าลงเพื่อกระตุ้นการลงทุน
และการบริโภค
QE3
(ก.ย. 2555-ธ.ค.2556)
การเพิ่มขนาดงบดุลของธนาคาร
กลาง
อัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบรวม 85,000
ล้านดอลลาร์ สรอ.ต่อเดือน
เพื่อตรึงอัตราดอกเบี้ยในระดับต่า
ต่อไป
QE Tapering
(ธ.ค. 2556-มิ.ย. 2557)
การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนสินทรัพย์
ในงบดุลของธนาคารกลาง
FED ลดปริมาณเงิน ครั้งละ
10,000 ล้านดอลลาร์สรอ. และ
เดือนสุดท้ายที่15,000 ล้าน
ดอลลาร์สรอ.
การจ้างงานของสหรัฐฯ เริ่ม
ขยายตัวมากขึ้น และอัตราการ
ว่างงานอยู่ในระดับที่ต่าลง สหรัฐฯ
สามารถควบคุมอัตราเงินเฟ้ อให้อยู่
ในระดับที่ต่ากว่า2 % ส่งผลดีต่อ
การเติบโตทางเศรษฐกิจของUS
บทบาทของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา (FED)
ปล่อยกู้สินเชื่อระยะสั้นให้แก่ธนาคารและสถาบันการเงิน
• ปล่อยกู้ด้วยอัตราดอกเบี้ยต่า
• ยืดระยะเวลากู้เงินได้นานถึง 3 เดือน
• สนับสนุนให้ธนาคารและสถานบันการเงินเต็มใจปล่อยกู้แก่
ภาคเอกชนมากขึ้น
• ใช้กระบวนการประมูลสินเชื่อกับสถาบันการเงินเพื่อให้อัตรา
ดอกเบี้ยเป็นไปตามวัตถุประสงค์ในตลาด
วัตถุประสงค์
ผ่อนคลายความตึงตัวใน
ตลาดการเงิน
บทบาทของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกา (FED)
วัตถุประสงค์
ผ่อนคลายความตึงตัวใน
ตลาดการเงิน
อัดฉีดสภาพคล่องนอกระบบธนาคาร
• เช่น ตลาดตราสารพาณิชย์ โดยเฉพาะ กองทุนรวมที่ได้รับผลกระทบจากการสูญเสียความเชื่อมั่นของนักลงทุน
• สนับสนุนทางการเงินผ่านทางสินเชื่อเงินกู้ให้แก่กองทุนที่ประสบปัญหา
จัดทาโครงการเพื่อการกู้ยืม (Lending Program)
• ส่งเสริมสภาพคล่องทางการเงินให้กับครัวเรือนและธุรกิจขนาดเล็ก
• สินเชื่อรถยนต์ สินเชื่อบัตรเครดิต สินเชื่อเพื่อการศึกษา
รับซื้อคืนตราสารหนี้ที่หนุนโดยสินเชื่อที่อยู่อาศัย
• ที่ได้รับการค้าประกันจากบริษัท Fannie Maeหรือบริษัท Freddie Mac
• ใช้งบประมาณกว่า ๑ ล้านล้านดอลล่าร์สหรัฐฯ
• ช่วยให้อัตราดอกเบี้ยของสินเชื่ออสังหาริมทรัพย์ปรับลดลง และส่งเสริมให้ผู้บริโภคมีกาลังซื้ออสังหาริมทรัพย์เพื่อ
การอยู่อาศัยเพิ่มขึ้น
สาเหตุที่เข้าอุ้ม เนื่องจาก
เกี่ยวข้องกับผู้ถือกรมธรรม์หลายสิบล้านคน หาก
ปล่อยให้ล้มไปจะกระทบกับเงินบานาญของอเมริกัน
นับล้านคน ก่อให้เกิดปัญหาลูกโซ่
รัฐบาลใช้เงินช่วยเหลือ
85,000 ล้านเหรียญ
โดยไม่ปล่อยให้ล้มละลาย
การเข้าช่วยเหลือสถาบันการเงิน
การเข้าช่วยเหลืออุตสาหกรรมรถยนต์ขนาดใหญ่
สาเหตุที่เข้าอุ้ม เนื่องจาก
1.)เป็นเสมือนสัญลักษณ์อุตสาหกรรม
ในอเมริกา
2.) มีการจ้างงานโดยตรงประมาณ 5
ล้านคน ยังไม่นับการจ้างงานจาก
ดีลเลอร์ Supplier และบริษัท
ให้บริการหลังการขาย
นโยบายการคลัง
รัฐบัญญัติการฟื้นฟูและกระตุ้นเศรษฐกิจ ค.ศ. ๒๐๐๙
(American Recovery and Reinvestment Act of 2009 – ARRA 2009)
วัตถุประสงค์
แก้ไขเยียวยาสภาวะทาง
เศรษฐกิจอันเลวร้ายที่
พลเมืองอเมริกันกาลังเผชิญ
ด้านการลดหย่อนภาษี 2.88 แสนล้านดอลล่าร์
ด้านการสาธารณะสุข 1.47 แสนล้านดอลล่าร์
ด้านการศึกษา 9.09 หมื่นล้าน
ด้านการอนุรักษ์สิ้งแวดล้อม 7.2 พันล้านดอลล่าร์
การช่วยเหลือพลเมืองผู้มีรายได้น้อย ว่างงาน 8.25 หมื่นล้านดอลล่าร์
สนับสนุนโครงสร้างพื้นฐานของสหพันธรัฐ 8.09 หมื่นล้านดอลล่าร์
การพัฒนากิจการพลังงาน 6.13 หมื่นล้านดอลล่าร์
ด้านการเคหะ 1.27 หมื่นล้านดอลล่าร์
การพัฒนาและส่วงเสริมการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 8.9 พันล้านดอลล่าร์
ด้านอื่นๆ 1.81 หมื่นล้านดอลลาร์
7.87 แสน
ล้านดอลล่าร์
ผลกระทบของวิกฤตการณ์ซับไพร์มที่มีต่อประเทศไทย
ผลกระทบผ่านภาคการเงิน
ผลกระทบผ่านตลาดทุน
ผลกระทบผ่านการค้าระหว่างประเทศ (การส่งออก)
47
ผลกระทบผ่านภาคการเงิน
ตลาดการเงินของไทย ขาดสภาพคล่อง ภาคเอกชนได้รับผลกระทบ
สถาบันการเงินไทยมีส่วนเกี่ยวข้องกับสินเชื่อ Subprime น้อย
ผู้ที่ฝากเงินในสถาบันการเงินภายในประเทศขาดความเชื่อมั่นต่อระบบการเงินของ
ประเทศไทย จึงไปถอนเงินฝากของตนเอง ทาให้เกิดการขาดสภาพคล่อง
48
ผลกระทบของวิกฤตการณ์ซับไพร์มที่มีต่อประเทศไทย
ผลกระทบผ่านภาคการเงิน สัดส่วนหนี้สงสัยจะสูญต่อสินเชื่อรวม
ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย 49
ผลกระทบของวิกฤตการณ์ซับไพร์มที่มีต่อประเทศไทย
สาเหตุที่ตลาดหุ้นไทยได้ผลกระทบมี 3 สาเหตุหลักด้วยกัน คือ
ตลาดทุนสะท้อนปัจจัยพื้นฐาน/สามารถคาดการณ์อนาคตได้
นักลงทุนต่างชาติต้องขายสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูง เพื่อนาเงินไปชดเชยส่วนที่ขาดทุน
จากภาวะ Subprime
สาเหตุจากความอ่อนไหวของนักลงทุนในตลาดทุนต่อเหตุการณ์ต่างๆ (Panic)
ดัชนีตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ( SET Index )
เกิดการปรับตัวลดลงต่าที่สุดในรอบ 5 ปี และปรับตัวลดลงถึงประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์
ผลกระทบผ่านตลาดทุน
50
ผลกระทบของวิกฤตการณ์ซับไพร์มที่มีต่อประเทศไทย
ที่มา : AspenThai
ช่วงกลางเดือนกันยายน
ถึง ธันวาคม 2008
ดัชนีตลาดหุ้นไทยปรับตัว
ลดลงประมาณ 50%
51
ผลกระทบผ่านตลาดทุน
ผลกระทบของวิกฤตการณ์ซับไพร์มที่มีต่อประเทศไทย
ผลกระทบผ่านการค้าระหว่างประเทศ (การส่งออก)
0
2
4
6
8
2544 2545 2546 2547 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 2556 2557
ล้านบาท
11%
52
ผลกระทบของวิกฤตการณ์ซับไพร์มที่มีต่อประเทศไทย
วิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยโดยใช้ Mundell-Fleming Model และ AD-AS
IS0
LM0
BP0
E0
Y0 Y
r
r0
• ดุลยภาพอยู่ที่จุด E0
• รายได้ประชาชาติดุลยภาพเท่ากับ Y0
• อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพเท่ากับ r0
• ระดับราคาดุลยภาพเท่ากับ P0
ก่อนเกิดวิกฤติ Subprime
AD0
AS0
Y Y
P
P0
E0
53
วิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยโดยใช้ Mundell-Fleming Model และ AD-AS
ผลกระทบต่อประเทศไทยผ่าน 2 ปัจจัยหลัก
1. ผลต่อการส่งออก
2. ต่างชาติเทขายหุ้น ทาให้เกิดเงินทุนไหลออก
เมื่อเกิดวิกฤติ Subprime
IS0
LM0
BP0
E0
Y0 Y
r
r0
AD0
AS0
Y Y
P
P0
E0
54
วิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยโดยใช้ Mundell-Fleming Model และ AD-AS
IS0
LM0
BP0
E0
Y0 Y
r
r0
AD0
AS0
Y Y
P
P0
E0
1. ผลต่อการส่งออก
เศรษฐกิจสหรัฐฯแย่ลง
ไทยส่งออกได้น้อยลง
(X – M) 
DAE 
Y 
IS Shift ซ้าย
ดุลบัญชีเดินสะพัด
แย่ลง
ดุลการชาระเงิน
ขาดดุล
BP Shift ซ้าย
55
วิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยโดยใช้ Mundell-Fleming Model และ AD-AS
2. ต่างชาติเทขายหุ้น ทาให้เกิดเงินทุนไหลออก
เส้น IS0 เคลื่อนไปทางซ้ายเป็นเส้น IS1
เส้น BP0 เคลื่อนไปทางซ้ายเป็นเส้น BP1
IS0
LM0
BP0
E0
IS1
BP1
E1
Y1 Y0 Y
r
r0
r1
เงินทุนไหลออก
ดุลบัญชีทุนการเงินแย่ลง
ดุลการชาระเงินขาดดุล
BP Shift ซ้าย
56
วิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยโดยใช้ Mundell-Fleming Model และ AD-AS
2. ต่างชาติเทขายหุ้น ทาให้เกิดเงินทุนไหลออก
เส้น IS0 เคลื่อนไปทางซ้ายเป็นเส้น IS1
เส้น BP0 เคลื่อนไปทางซ้ายเป็นเส้น BP1
• ดุลยภาพเปลี่ยนจากจุด E0 เป็นจุด E1
• ได้ดุลภายในแต่ไม่ได้ดุลภายนอก
• BP ขาดดุลที่จุด E1
• r0 เป็น r1
• Y0 เป็น Y1
IS0
LM0
BP0
E0
IS1
BP1
E1
Y1 Y0 Y
r
r0
r1
57
วิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยโดยใช้ Mundell-Fleming Model และ AD-AS
S$
E0
D$
0
E1
ปริมาณเงินตราต่างประเทศ
฿/$
e0
e1
D$
1
Excess Demand
BP ขาดดุล
D$
0 Shift ขวาเป็น D$
1
ที่ e0 เกิด Excess
Demand for Dollar
อัตราแลกเปลี่ยนสูงขึ้น
(ค่าเงินบาทอ่อนค่าลง)
จาก e0 เป็น e1
58
วิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยโดยใช้ Mundell-Fleming Model และ AD-AS
IS0
LM0
BP0
E0
IS1
BP1
E1
Y1 Y0 Y
r
r0
r1
DAE 
Y 
IS1 Shift ขวาเป็น
IS0
ดุลบัญชีเดินสะพัด
ดีขึ้น
ดุลการชาระเงิน
เกินดุล
BP1 Shift ขวาเป็น
BP0
บาทอ่อนค่า
X , M 
(X – M) 
59
วิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยโดยใช้ Mundell-Fleming Model และ AD-AS
IS0
BP0
E0
IS1
BP1
E1
Y1 Y0 Y
r
r0
r1
อัตราแลกเปลี่ยนเป็นเครื่องมือที่ช่วย
ปรับให้เศรษฐกิจเข้าสู่เสถียรภาพ
• ดุลยภาพกลับมาอยู่ที่จุด E0 เดิม
• ได้ทั้งดุลภายในและดุลภายนอก
• อัตราดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นจาก r1 เป็น r0
• รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้นจาก Y1 เป็น Y0
• เส้น AD ไม่ Shift
AD0
AS0
Y Y
P
P0
E0
60
วิเคราะห์ผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทยโดยใช้ Mundell-Fleming Model และ AD-AS
IS0
LM0
BP0
E0
Y0
Y
r
r0
เมื่อสหรัฐอเมริกาใช้มาตรการ QE
61
เกิดเงินทุนไหลเข้า
BP1
IS1
BP2
E1
r1
Y1
r  , Y
GDP ไทย
-8
-3
2
7
12
2537
2538
2539
2540
2541
2542
2543
2544
2545
2546
2547
2548
2549
2550
2551
2552
2553
2554
2555
2556
2557
%
เกิดเหตุการณ์
ความไม่สงบทางการเมือง
ปิ ดสนามบิน
ค่าเงินบาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
25
30
35
40
45
ม.ค.2545
ก.ค.2545
ม.ค.2546
ก.ค.2546
ม.ค.2547
ก.ค.2547
ม.ค.2548
ก.ค.2548
ม.ค.2549
ก.ค.2549
ม.ค.2550
ก.ค.2550
ม.ค.2551
ก.ค.2551
ม.ค.2552
ก.ค.2552
ม.ค.2553
ก.ค.2553
ม.ค.2554
ก.ค.2554
ม.ค.2555
ก.ค.2555
ม.ค.2556
ก.ค.2556
ม.ค.2557
ก.ค.2557
฿ / $
ที่มา : ธนาคารแห่งประเทศไทย 62
แนวทางการรับมือของไทย
นโยบายการคลัง
มาตรการด้านตลาดทุน
มาตรการดูแลสภาพคล่อง
มาตรการเร่งรัดรายได้ส่งออก
และการท่องเที่ยว
เร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
เร่งรัดโครงการลงทุนขนาด
ใหญ่
นโยบายการเงิน
(กนง.) ปรับลดอัตราดอกเบี้ยลง
หลายครั้งตั้งแต่ช่วงแรกที่เกิด
วิกฤติการณ์จนถึงระดับต่าสุดที่ร้อย
ละ 1.25
นโยบายการคลัง
มาตรการด้านตลาดทุน
มาตรการดูแลสภาพคล่อง
มาตรการเร่งรัดรายได้ส่งออกและการท่องเที่ยว
เร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
เร่งรัดโครงการลงทุนขนาดใหญ่
ตั้งงบประมาณขาดดุลจานวน 347.1 พันล้านบาทหรือขาดดุลร้อยละ 3.9 ของ GDP
กาหนดวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2552 ที่ 1,835 พันล้านบาท
จัดทางบประมาณเพิ่มเติมอีก 116.7 พันล้านบาท
วัตถุประสงค์
เพื่อช่วยพยุงและกระตุ้นเศรษฐกิจ
ในช่วงที่ภาคเอกชนได้รับผลกระทบ
จากวิกฤตเศรษฐกิจโลก
• กระทรวงพาณิชย์จะขยายตลาดในเอเชียและเพื่อนบ้าน ตะวันออก
กลาง ออสเตรเลีย แอฟริกา ลาตินอเมริกา ซึ่งยังพอมีกาลังซื้อ
• เพื่อให้การส่งออกและท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
นโยบายการคลัง
3. แนวทางการรับมือของไทยมาตรการด้านตลาดทุน
• รับมือการขายหุ้นของต่างชาติที่มีในไทย
• ขยายวงเงินการซื้อกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) และกองทุนรวมหุ้นระยะยาว
(LTF) จากไม่เกิน 500,000 บาท เป็นไม่เกิน 700,000 บาท
มาตรการดูแลสภาพคล่อง
• ธนาคารแห่งประเทศไทย เข้ามาดูแลให้มีการหมุนเวียนในระบบอย่างทั่วถึงและเพียงพอต่อ
การขยายตัวทางเศรษฐกิจ
• สนับสนุนการขยายสินเชื่อทั้งจากธนาคารพาณิชย์และธนาคารพาณิชย์เฉพาะกิจของรัฐ
มาตรการเร่งรัดรายได้ส่งออกและการท่องเที่ยว
เร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
• กระทรวงการคลังจะเร่งรัดเบิกจ่ายงบประมาณเพิ่มขึ้นจากปีก่อน 180,000 ล้านบาท
• การส่งเสริมกองทุนหมู่บ้าน และการดูแลสินค้าOTOP
เร่งรัดโครงการลงทุนขนาดใหญ่
• เร่งรัดลงทุนระบบรถไฟฟ้ า การพัฒนาระบบขนส่งทั่วประเทศ และการลงทุนด้านพลังงาน
นโยบายการคลัง
แนวทางการรับมือของไทย
นโยบายการคลัง
แนวทางการรับมือของไทย
นโยบายการเงิน
(กนง.) ปรับลดอัตรา
ดอกเบี้ยนโยบายจนถึง
ระดับต่าสุดที่ร้อยละ
1.25 ในปี 2552
ณ สิ้นปี 2552
- อัตราดอกเบี้ยเงินกู้
MLR ของธนาคารพาณิชย์
ขนาดใหญ่ 4 แห่งเฉลี่ยอยู่ที่ร้อย 5.86 ต่อ
ปี เทียบกับ
ณ สิ้นปีก่อนหน้าอยู่ที่ร้อยละ 6.75 ต่อปี
- อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก
ของธนาคารพาณิชย์ปรับลดลง
เช่นกัน อัตราดอกเบี้ยเฉลี่ยของธนาคาร
พาณิชย์รายใหญ่ 4 แห่งประเภทเงินฝาก
ประจาระยะเวลา3 6 และ 12 เดือน ณ
สิ้นปี 2552 อยู่ในอัตราเท่ากันที่ร้อยละ
0.70 ต่อปี เทียบกับค่าเฉลี่ยของ
ปีก่อนหน้าที่ร้อยละ 2.28 2.34 และ 2.54
ต่อปี ตามลาดับ
สินเชื่อขยายตัว
ได้ดี โดยเฉพาะ
สินเชื่อที่อยู่อาศัย
Question ???
Answer…
Thanks for attention 
69

More Related Content

Viewers also liked

Egypt knowledge society ks essay
Egypt knowledge society ks essayEgypt knowledge society ks essay
Egypt knowledge society ks essayNatasha Langdown
 
Evaluation question 4
Evaluation question 4Evaluation question 4
Evaluation question 4an6914
 
Building project management capability
Building project management capability Building project management capability
Building project management capability PM-Partners group
 
Solving Network Throughput Problems at the Diamond Light Source
Solving Network Throughput Problems at the Diamond Light SourceSolving Network Throughput Problems at the Diamond Light Source
Solving Network Throughput Problems at the Diamond Light SourceJisc
 
Webinar: Strategia vincenti per vendere Online
Webinar: Strategia vincenti per vendere OnlineWebinar: Strategia vincenti per vendere Online
Webinar: Strategia vincenti per vendere OnlineBuzzoole LTD
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศtumetr1
 
Dalla Brand Reputation all’Influencer Marketing: l’impatto delle conversazion...
Dalla Brand Reputation all’Influencer Marketing: l’impatto delle conversazion...Dalla Brand Reputation all’Influencer Marketing: l’impatto delle conversazion...
Dalla Brand Reputation all’Influencer Marketing: l’impatto delle conversazion...Buzzoole LTD
 
Training Webinar: Enterprise application performance with server push technol...
Training Webinar: Enterprise application performance with server push technol...Training Webinar: Enterprise application performance with server push technol...
Training Webinar: Enterprise application performance with server push technol...OutSystems
 
Cómo diseñar una innovación
Cómo diseñar una innovaciónCómo diseñar una innovación
Cómo diseñar una innovaciónOmar Vite
 
OutSystems - Go Fast or Go Home
OutSystems - Go Fast or Go Home OutSystems - Go Fast or Go Home
OutSystems - Go Fast or Go Home OutSystems
 
The Quest to become New Zealand's Most Commercially Resilient Town
The Quest to become New Zealand's Most Commercially Resilient TownThe Quest to become New Zealand's Most Commercially Resilient Town
The Quest to become New Zealand's Most Commercially Resilient TownFirst Retail Group Ltd
 

Viewers also liked (12)

Egypt knowledge society ks essay
Egypt knowledge society ks essayEgypt knowledge society ks essay
Egypt knowledge society ks essay
 
Evaluation question 4
Evaluation question 4Evaluation question 4
Evaluation question 4
 
Building project management capability
Building project management capability Building project management capability
Building project management capability
 
Solving Network Throughput Problems at the Diamond Light Source
Solving Network Throughput Problems at the Diamond Light SourceSolving Network Throughput Problems at the Diamond Light Source
Solving Network Throughput Problems at the Diamond Light Source
 
Webinar: Strategia vincenti per vendere Online
Webinar: Strategia vincenti per vendere OnlineWebinar: Strategia vincenti per vendere Online
Webinar: Strategia vincenti per vendere Online
 
Reasons For E Government
Reasons For E GovernmentReasons For E Government
Reasons For E Government
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
Dalla Brand Reputation all’Influencer Marketing: l’impatto delle conversazion...
Dalla Brand Reputation all’Influencer Marketing: l’impatto delle conversazion...Dalla Brand Reputation all’Influencer Marketing: l’impatto delle conversazion...
Dalla Brand Reputation all’Influencer Marketing: l’impatto delle conversazion...
 
Training Webinar: Enterprise application performance with server push technol...
Training Webinar: Enterprise application performance with server push technol...Training Webinar: Enterprise application performance with server push technol...
Training Webinar: Enterprise application performance with server push technol...
 
Cómo diseñar una innovación
Cómo diseñar una innovaciónCómo diseñar una innovación
Cómo diseñar una innovación
 
OutSystems - Go Fast or Go Home
OutSystems - Go Fast or Go Home OutSystems - Go Fast or Go Home
OutSystems - Go Fast or Go Home
 
The Quest to become New Zealand's Most Commercially Resilient Town
The Quest to become New Zealand's Most Commercially Resilient TownThe Quest to become New Zealand's Most Commercially Resilient Town
The Quest to become New Zealand's Most Commercially Resilient Town
 

More from Siraphan Passprasert (6)

SIA presented by MBE19@TU
SIA presented by MBE19@TUSIA presented by MBE19@TU
SIA presented by MBE19@TU
 
RCEP news _Presented MBE19
RCEP news _Presented MBE19 RCEP news _Presented MBE19
RCEP news _Presented MBE19
 
Mbe19 Macro G.6
Mbe19 Macro G.6Mbe19 Macro G.6
Mbe19 Macro G.6
 
Mbe19 Macro G.5
Mbe19 Macro G.5Mbe19 Macro G.5
Mbe19 Macro G.5
 
Mbe19 Macro G.4
Mbe19 Macro G.4Mbe19 Macro G.4
Mbe19 Macro G.4
 
Mbe19 Macro #G1
Mbe19 Macro #G1Mbe19 Macro #G1
Mbe19 Macro #G1
 

Mbe19 Macro G.2