SlideShare a Scribd company logo
ออกแบบผลิตภัณฑดวย
โปรแกรม Pro/Desktop
© 1995-2003 Parametric Technology Corporation.
All rights reserved.
โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ ปการศึกษา 2552
รวบรวมโดย นางสาวศิรินทิพย จันทรสุวรรณ
คํานํา
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 มุงพัฒนาผูเรียนใหสมบูรณ และสมดุลทั้งดาน
จิตใจ รางกาย สติปญญา อารมณและสังคมโดยมุงเนนในการพัฒนาใหเปนผูมีความรูความสามารถทั้ง
ดานวิชาการวิชางาน และวิชาชีวิต เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข พึ่งตนเองได
อยูรวมกับผูอื่นไดอยางสรางสรรค พัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม ความคิดริเริ่มสรางสรรคเปน
ความสามารถในการมองเห็นความสัมพันธของสิ่งตางๆ โดยมีสิ่งเราเปนตัวกระตุน ทําใหเกิดความคิด
ใหมตอเนื่องกัน ซึ่งความคิดสรางสรรคประกอบดวยความคลองในการคิด ความคิดยืดหยุน และความคิด
ที่เปนของตนเองโดยเฉพาะหรือเรียกวา ความคิดสรางสรรคนั้นเอง ทั้งนี้เทคโนโลยีเปนสิ่งหนึ่งที่ไดนํา
ความรู ทักษะ และทรัพยากรมาสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการ โดยผานกระบวนการเพื่อแกปญหา
สนองความตองการหรือเพิ่มความสามารถของการทํางานของมนุษย
โปรแกรม Pro/DESKTOP เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรทางการศึกษาที่ใชเปนสื่อสอนนักเรียนใน
เรื่องการออกแบบและสรางงานสามมิติ โดยสามารถนํามาใชในการสรางชิ้นงานที่เกิดจากความคิด
สรางสรรคของผูเรียนเปนสามมิติเสมือนจริง หากนักเรียนไดเรียนอยางมีความรูความเขาใจและมีทักษะ
ในการใชโปรแกรม Pro/ DESKTOP แลว สามารถที่จะใชเปนแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตซึ่ง
ไดแกการสรางชิ้นงานการออกแบบผลิตภัณฑในเชิงธุรกิจอีกทั้งยังชวยสนับสนุนโครงการหนึ่งตําบลหนึ่ง
ผลิตภัณฑ ( OTOP) และอาจกาวไกลพัฒนาตนเองเปนวิศวกรนักออกแบบผลิตภัณฑและนักเทคโนโลยี
ในอนาคตตอไปได
โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภพิจารณาเห็นวาโปรแกรม Pro/DESKTOP เหมาะสําหรับใชเปนสื่อสอน
นักเรียน ระดับมัธยมศึกษา วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย เชนเดี่ยวกับที่สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน จึงไดมีการปรับหลักสูตรการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในปการศึกษา 2552 ใหม
เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรคของนักเรียนเรียนใหมีศักยภาพมากขึ้น
บทนํา
โปรแกรม Pro/DESKTOP คืออะไร
คําอธิบายรายวิชา
Pro/DESKTOP เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรทางการศึกษาที่ใชสอนนักเรียนในเรื่องการออกแบบ
และสรางงาน 3 มิติ ซึ่งโปรแกรมคอมพิวเตอร Pro/DESKTOP นี้งายตอการใชงาน และมีความเหมาะสม
ตอการเรียนรูของนักเรียน โดยสามารถนําโปรแกรม Pro/DESKTOP มาเปนเครื่องมือในการออกแบบ
สรางชิ้นงานที่เกิดจากความคิดสรางสรรคของนักเรียนเอง ซึ่งการสรางชิ้นงานสามารถมองเห็นชิ้นงาน
เปน 3 มิติเสมือนจริง อีกทั้งนักเรียนสามารถเรียนรูและเขาใจการสรางสรรคชิ้นงาน และออกแบบ
ผลิตภัณฑในเชิงการตลาด หากนักเรียนมีความรู ความเขาใจและทักษะในการใช Pro/DESKTOP มาก
ขึ้นจะเปนแนวคิดและมองเห็นชองทางในการประกอบอาชีพในอนาคตเปนวิศวกร นักออกแบบผลิตภัณฑ
อุตสาหกรรมและนักเทคโนโลยีเปนตน โปรแกรม Pro/DESKTOP นี้เหมาะสําหรับใชสอนนักเรียนระดับ
มัธยมศึกษา วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย ซึ่งใชเวลาในการศึกษาเรียนรูเพียง 2-3 สัปดาหก็สามารถทํา
ความเขาใจไดเปนอยางดี สําหรับการเรียนการสอนเพื่อใชในการสรางชิ้นงาน/โครงงานของนักเรียน จะ
ใชเวลาเพียง 2-3 ชั่วโมง ก็จัดสรางชิ้นงานขั้นพื้นฐานไดเปนอยางดี อีกทั้งนักเรียนสามารถนําโปรแกรม
Pro/DESKTOP นี้ไปใชและฝกปฏิบัติงานที่บานไดดวยตนเอง ซึ่งจะทําใหนักเรียนเกิดความชํานาญใน
การใชโปรแกรมPro/DESKTOPเพิ่มขึ้น
โปรแกรม Pro/DESKTOP ทําอะไรไดบาง
โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถใชฝกทักษะและสรางสรรคผลงานตาง ๆ เชน
1. การออกแบบโครงรางชิ้นงาน
2. การทํารูปทรง 3 มิติ ตาง ๆ
3. การออกแบบทางดานวิศวกรรม สถาปตยกรรม
4. การออกแบบผลิตภัณฑตาง ๆ
5. การออกแบบชิ้นงาน Animation
6. การจัดทําภาพฉาย (Projection)
ฯลฯ
โปรแกรม Pro/DESKTOP เขามาสูวงการศึกษาประเทศไทยไดอยางไร
เมื่อปลายปงบประมาณ 2546 บริษัท PTC U.S.A. ไดติดตอมายังกระทรวงศึกษาธิการ
เพื่อมอบโปรแกรม Pro/DESKTOP พรอมลิขสิทธิ์ใชงานสําหรับนักเรียนไทยในระดับมัธยมศึกษา โดยมี
นายพงศศักดิ์ รักตพงษไพศาล (ผูชวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น) เปนผูรับฟงการ
นําเสนอศักยภาพของโปรแกรม จากนั้นคณะเขาพบ พณฯนายกรัฐมนตรี เพื่อมอบโปรแกรมดังกลาวไว
ใชประโยชน ทั้งมีวิทยากรชาวตางประเทศสาธิตการใชโปรแกรมภายใตการตรวจรับโดยผูเชี่ยวชาญดาน
ITจากหนวยงานตางๆ โปรแกรม Pro/DESKTOP มี 2 ระดับ คือ โปรแกรมที่ใชในระดับมัธยมศึกษา และ
ระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งประเทศไทยไดรับมอบโปรแกรม Pro/DESKTOP เพื่อการใชงานฟรี จํานวน 20
ชุด สําหรับระดับมัธยมศึกษา โดยอนุญาตใหนักเรียนไทยทุกคนใชได โดยไมมีขอจํากัด ยกเวนถา
นําไปใชในเชิงธุรกิจผูเชี่ยวชาญหลายทานไดใหขอคิดเห็นวา โปรแกรม Pro/DESKTOP มีรูปแบบการใช
งานที่งายตอการเรียนรู เหมาะกับการเรียนในระดับมัธยมศึกษา นาจะขยายผลการใชงานใหครอบคลุม
ทั้งประเทศ ผนวกกับขณะนี้ ทางโครงการโรงเรียนในฝนกําลังตองการเครื่องมือในการผลิตสื่อใชงาน จึง
เห็นพองกันวาโปรแกรม Pro/DESKTOP นี้ นาจะเปนทางเลือกหนึ่งของโครงการโรงเรียนในฝน จึงได
จัดการฝกอบรมนํารองใหกับคณะศึกษานิเทศก และครู จํานวน 38 คน เพื่อทดลองใชโปรแกรม
Pro/DESKTOP โดยมีวิทยากรชาวตางประเทศ ใหการฝกอบรม กอนที่จะขยายผลไปยังโรงเรียนอื่น ๆ
ทั่วประเทศ
ความตองการดาน Hardware ขั้นต่ําคูมือการใช โปรแกรม Pro/DESKTOP ไดกําหนดคุณสมบัติ
ของ Hardware ขั้นต่ําไวดังนี้
-เพนเทียมอินเทลขั้นต่ํา 166 MHz หรือสูงกวา
- หนวยความจําขั้นต่ํา 64 MB
- ที่วางของฮารดดิสก 80 MB (สําหรับโปรแกรม)
- มีที่วางอิสระในโฟลเดอร TEMP ระหวางการะบวนการติดตั้ง 110 MB
- ไมโครซอฟต Windows 98, Me, 2000, XP, NT 4.0
ขอเสนอแนะจากการทดลองใชโปรแกรม
1. Window 98 จากการทดลองใชงาน โปรแกรมนี้จะทํางานไดดี บน RAM ตั้งแต 128 MB และ
มีความจําการดจอ 16 MB ขึ้นไป หากตองการใชงานโปรแกรมอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ควร
ใช 32 MB ขึ้นไป
2. Windows XP ควรจะมี RAM ไมนอยกวา 256 MB
3. ในกรณีเครื่องมีขีดความสามารถต่ํา ใหปดหนาตางที่ไมใชงาน ใหคงเหลือหนาตางที่กําลัง
ทํางานปจจุบัน จะชวยแกปญหาไดบาง
จุดเดนของโปรแกรม Pro/DESKTOP
โปรแกรม Pro/DESKTOP งายตอการใชงานพอสมควร และสามารถฝกทักษะดานกระบวนการ
คิดสรางสรรคไดเปนอยางดี อีกทั้งผูใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP ไดศึกษาและฝกทักษะใหมีความ
ชํานาญและเชี่ยวชาญ ก็จะสามารถนําโปรแกรม Pro/DESKTOP ไปใชในการออกแบบตาง ๆ ใน
ชีวิตประจําวันและประกอบอาชีพได โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อออกแบบผลิตภัณฑหรือชิ้นงานเสร็จ
เรียบรอยแลว โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถแสดงภาพฉายของชิ้นงานใหดวย ซึ่งผูสรางชิ้นงานไม
ตองเขียนภาพฉายอีก นอกจากนี้ ยังสามารถออกแบบ Model ที่แสดงภาพการเคลื่อนไหว หรือลักษณะ
การใชงานของModel นั้น ๆ ไดดวย
ขอคิดจาก Ivan Chester ( MindustrailEd Newcastle, Director of Studies, Bachelor Of
Technology Education, Australia) วิทยากรผูฝกรมรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop
Ivan ไดเสนอขอคิดเห็นบางประการตอกระทรวงฯ และครูเกี่ยวกับการฝกอบรมโปรแกรม CAD ในฐานะ
ที่ Ivan เปนผูสนใจในงานวิจัยทางดานการเรียนรู (Cognitive research) เกี่ยวกับการสอน CAD และ
การแกปญหาผลการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู (การคิด) แสดงใหเห็นวาการแกปญหาที่ซับซอนเกิดขึ้นได
โดย การสรางภาพความคิด (การคิดในภาพที่สรางขึ้นมาในใจ) ในการแกปญหา ความสามารถในการ
สรางภาพความคิดของนักเรียนมีหลายแนวทาง และคาดหวังวาการใชโมเดล 3 มิติ เชน จากโปรแกรม
Pro/Desktop เปนตน จะสามารถแกปญหานี้ของนักเรียนได ซึ่งผลการวิจัยปจจุบันยังไมมีในเรื่องนี้
(Ivan ไดทํางานเกี่ยวกับเรื่องนี้มาพอสมควรและเชื่อวายังไมมีการวิจัยในเรื่องนี้ เพราะสวนมากศึกษากับ
กลุมเปาหมายที่มีอายุมากกวาวัยนักเรียน และ นักศึกษากับกลุมวิศวกรและสถาปนิกเปนสวนใหญ ซึ่ง
เปนกลุมที่ตองสรางภาพความคิด ขึ้นมาใชในการทํางานอยูแลว) คุณ Ivan ไดศึกษาเอกสารและ
งานวิจัยเกี่ยวกับภาพความคิดเพื่อที่จะหาแนวทางที่จะแกปญหานักเรียน โดยการใชการสรางภาพความ
คิดในการสอน Pro/Desktop และการแกปญหาที่ซับซอน ตลอดชวง 6 เดือนที่ผานมา และคุณ Ivan
พบวา มียุทธวิธี 5 อยาง ที่จะแกปญหาการสรางภาพความคิดไดดังนี้
1. การสรางรูปแบบกระบวนการคิด เปนสิ่งสําคัญในการสอนเริ่มตนและสําคัญมากขึ้นในการ
แกปญหา Ivan ดําเนินการโดยการเลาใหนักเรียนทั้งชั้นฟงถึงยุทธวิธีที่ใชแกปญหาจากนั้น save งาน
ตนแบบ แลวสาธิตวิธีการแกปญหาใหนักเรียนดู ซึ่งวิธีการนี้จะทําใหนักเรียนที่เพิ่งเริ่มตนเรียนรูเขาใจ
วิธีการแกปญหาที่ครูใชฝกฝน และกลายเปนผูที่สามารถแกปญหาดวยตนเองไดในที่สุด
2. การสเก็ตช (sketching) การสเก็ตชจะชวยใหนักเรียนสรางภาพจิตนาการขึ้นมาในความทรง
จําและใชภาพ sketch นี้คิดเกี่ยวกับความเปนไปไดที่จะทําตอไป รวมทั้งกอใหเกิดภาพ sketch อื่น ๆ
อีก และความสามารถในการจัดภาพ sketch ที่ซับซอน (มีภาพ sketch หลาย ๆ ภาพ) อีกดวย
Ivan ใชการ sketch โดยใหนักเรียน sketch รูปรางในทิศทางที่แตกตางจากที่ครูสอนในแตละ feature
เชน extrude, thin or taper เปนตน จากนั้นใหนักเรียนถายภาพวัตถุของจริง แลวถามนักเรียนใหบอก
วิธีการที่จะสราง model ตนแบบของวัตถุจริงนั้นขึ้นมา ซึ่งตรงนี้นักเรียนจะสามารถระบุไดวาสวนใดที่ตอง
extrude สวนใดตอง loft สวนใดตอง revolve เปนตน จากนั้นนักเรียนจะทําการ sketch ใน workplane
และวาดรูปรางของแตละ sketch ที่นักเรียนตองการสราง กระบวนการนี้เกิดขึ้นเร็วมากในการสราง
model ใน ProDesktop และ ทําใหเกิดการคิดและภาพความคิดขึ้นมาไดดี
3. การเรียนรูแบบรวมมือ ผูเรียนที่มีสวนรวมในการแกปญหาในกลุมสามารถเรียนรูกระบวนการ
คิดไดดีกวา โดยการเรียนรูวิธีการแกปญหาของนักเรียนคนอื่น และ เลือกวิธีการแกปญหาการเรียนรูที่
เหมาะสมกับตนเองมากที่สุด
4. การอธิบายวิธีการแกปญหาใหผูอื่นฟง การใหนักเรียนอธิบายใหเพื่อน ๆ ในกลุมฟง ถึง
วิธีการใช model ใหไดผลดีมากขึ้นในสถานการณตาง ๆ กระบวนการอธิบายนี้มีประสิทธิภาพโดยตัวของ
มันเอง อยูแลว การฟงยุทธวิธีของผูอื่นก็เชนเดียวกัน ทั้งการอธิบายและการฟงจะทําใหนักเรียน
จินตนาการจาก คําอธิบาย ซึ่งจะชวยแกปญหาความสามารถในการสรางภาพความคิด และ การอธิบาย
ยุทธวิธีจะชวยใหเกิดการปรับปรุงใหดีขึ้นในโอกาสตอไป
5. การใหขอมูลยอนกลับในทันที การใหขอมูลยอนกลับในทันทีจะชวยใหนักเรียนปรับความคิด
ใหถูกตอง เมื่อนักเรียนอธิบายยุทธวิธีในการสราง model ของรูปภาพอื่น ๆ ครูอาจจะถามนักเรียนคนอื่น
เพื่อที่จะชวยเหลือและครูก็คอยแนะนํา ทั้งตอนักเรียนแตละคน หรือตอนักเรียนทั้งชั้น นอกจากนี้ยังเปน
การใหโอกาสในการพัฒนาวิธีการที่ดีที่จะระบุความเปนไปไดในการทํา mirror, copy, scale
Ivan คิดวาเปนสิ่งสําคัญในการทําเทคนิคเหลานี้เขามาใชในการฝกอบรม Pro/Desktop ในประเทศไทย
ผลการวิจัย CAD ชี้ใหเห็นวาการใชคําสั่งของ CAD เชน นี่คือวิธีการ extrude เปนตน ไมใชวิธีการที่จะ
ใชซอฟตแวรอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด Ivan เชื่อวามันไมใชวิธีการที่จะสงเสริมความสามารถในการ
สรางภาพความคิด และการแกปญหาที่ซับซอนดวย ดังนั้นเพื่อให การแกปญหาความสามารถในการ
สรางภาพความคิดและการแกปญหาที่ซับซอน โดยการใช Pro/Desktop เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
ควรใชเทคนิควิธีการที่ Ivan นําเสนอนี้สอดแทรกเขามาใชดวย รวมทั้งวิจัยติดตาม ผลการใชเทคนิค
วิธีการนี้ในการฝกอบรม Pro/Desktop ที่มีตอความสามารถทั้ง 2 อยางของนักเรียนดวย
แนวทางในการนําโปรแกรม Pro/DESKTOP ใชในโรงเรียน
จากขีดความสามารถของโปรแกรม Pro/DESKTOP และลักษณะของโปรแกรมที่เหมาะกับการ
ฝกทักษะกระบวนการทางความคิดสรางสรรคของนักเรียน และสามารถใชเปนเครื่องมือของครูในการ
สรางสื่อการเรียนการสอนรายวิชาตาง ๆ ที่กลาวมาแลวนั้น หากมีการนําไปเผยแพรในโรงเรียน ควร
กําหนดจุดประสงคของการนําไปใช ดังนี้
1. เพื่อใชเปนเครื่องมือสําหรับฝกความคิดสรางสรรคสําหรับนักเรียนทุกระดับ
2. เพื่อใหนักเรียนมีทางเลือกในการเรียนวิชาประเภทกราฟกสําหรับการออกแบบ
ผลิตภัณฑ และนําไปใชในชีวิตประจําวันไดจริง สามารถพัฒนาไปสูทักษะชั้นสูง นําไปสูขั้น
อาชีพจริงได
3. เพื่อใหครูผูสอน ทุกกลุมสาระ นําไปเปนเครื่องมือในการจัดทําสื่อการเรียนการสอน เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรูในสาระวิชานั้น ๆ ไดดีขึ้น
โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถนําไปไปใชสอนในกลุมสาระการเรียนรูใดบาง
2โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถจะนําไปใชสอนในกลุมสาระพื้นฐาน สาระเพิ่มเติม และ กิจกรรมการ
เรียนรู ดังนี้2
1. เปนสวนหนึ่งของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีทุกชวงชั้น2
2. เปนสวนหนึ่งของกลุมสาระเพิ่มเติมโดยใหนักเรียนเลือกตามความสนใจ2
3. จัดเปนกิจกรรมสนใจของนักเรียน เชน ชมรม ชุมนุมตาง ๆ2
4. จัดการเรียนรูแบบบูรณาการเขากับกลุมสาระอื่น ๆ เชน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เขียนแบบ
2
2
การออกแบบผลิตภัณฑ ฯลฯ โดยระบุอยูในแผนการจัดการเรียนรู และใหใชโปรแกรมนี้เปนสื่อในการ
ออกแบบ รายงาน และนําเสนอ เปนตน
อยางไรก็ตามคณะทํางานขอเสนอเปนหลักการวา โปรแกรม Pro/DESKTOP นี้เปนโปรแกรม
กราฟกชนิดหนึ่ง เชนเดียวกับโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใชเปนเครื่องมือ หรือ สื่อการเรียนการสอนคอมพิวเตอร
เพื่อฝกทักษะความสามารถดานคอมพิวเตอรทั่วไปใหพิจารณาเลือกใชสวนที่ดีที่เหมาะสมโ ดยเฉพาะ
อยางยิ่งการฝกกระบวนการความคิดสรางสรรค สวนทักษะขั้นสูงที่สามารถจะออกแบบผลิตภัณฑไดจริง
ควรจะเปนทางเลือกใหนักเรียนไดเลือกเรียนในสาระเพิ่มเติม หรือกิจกรรม สนใจ2
2แนวทางการนําไปใชเปนสื่อสําหรับการสอนแบบบูรณาการ
เนื่องจากโปรแกรมมีความสามารถในการสรางงานไดหลายรูปแบบ เกือบทุกประเภท จึงสามารถ
ใชเปนสื่อกลางในการบูรณาการการเรียนการสอนวิชาตาง ๆ ไดดี ทําใหบทเรียนนาสนใจ
รูปแบบของการบูรณาการ อาจจะทําไดหลายรูปแบบ เชน
1. สรางชิ้นงานเปนสื่อ และระหวางปฏิบัติงาน ใหไปศึกษาเนื้อหาสาระความรูที่เกี่ยวของกับวิชา
ตาง ๆ เพื่อความเขาใจในสาระวิชาที่มาเกี่ยวของ ประกอบเปนชิ้นงานชิ้นนั้น ๆ เชน
วิชาเขียนแบบ
งานบาน/โภชนาการ
วิชาวิทยาศาสตร,
คณิตศาสตร
วิชาศิลปะ
- แสง , เงา
วิชาออกแบบผลิตภัณฑ
2. ใชเปนเครื่องมือสรางสรรคชิ้นงาน เพื่อการนําเสนอหรือสรางความเขาใจ ความคิด รวบยอดในเนื้อหาวิชานั้น ๆ
เชน รูปทรงเรขาคณิต การตัดขวาง เปนตน
การนําเสนอภาพฉายงานที่ออกแบบ เชน
ภาพ Projection
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
เรื่อง ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
ความรูเบื้องตนกับโปรแกรม Pro/DESKTOP 1. บอกความหมายของโปรแกรม Pro/DESKTOP
2. บอกวัตถุประสงคของการใชโปรแกรมPro/DESKTOP
3. บอกที่มาของโปรแกรมPro/DESKTOP
4. บอกคุณสมบัติของการใช Hardware กับโปรแกรม Pro/DESKTOP
5. รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Pro/DESKTOP
6. รูจักสวนประกอบของโปรแกรม Pro/DESKTOP
7. รูจักและใชแถบเครื่องมือ คําสั่งตาง ๆ ในโปรแกรม Pro/DESKTOP
8. สามารถเปดโปรแกรม และสรางงานจากโปรแกรม Pro/DESKTOP
9. รูและเขาใจพื้นที่การทํางานของโปรแกรม Pro/DESKTOP
10. รูและปฏิบัติตามคําสั่งตาง ๆ ในการทํางานกับโปรแกรม
Pro/DESKTOP
การสรางวัตถุทางตัน 11. สามารถบอกวิธีการสรางวัตถุทางตัน
12. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางวัตถุทางตัน
13. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
การตัดมุมชิ้นงานลักษณะตาง ๆ 14. สามารถบอกวิธีการตัดมุมชิ้นงาน
15. ปฏิบัติชิ้นงานการตัดมุมชิ้นงาน
16. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
การตัดมุมของรูปเหลี่ยม 17. สามารถบอกวิธีการตัดมุมของรูปสี่เหลี่ยม
18. ปฏิบัติชิ้นงานการตัดมุมของรูปสี่เหลี่ยม
19. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
การปรับเปลี่ยนและเจาะวัตถุทางตัน/การทํา
รูปโครงราง
20. สามารถบอกวิธีการปรับเปลี่ยนและเจาะวัตถุทางตัน และการทํารูป
โครงรางมีมิติ
21. ปฏิบัติชิ้นงานการปรับเปลี่ยนและเจาะวัตถุทางตัน และการทํารูป
โครงรางมีมิติ
22. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
การสรางภาชนะรูปแกว 23. สามารถบอกวิธีการสรางภาชนะรูปแกว
24. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางภาชนะรูปแกว
25. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
การสรางรูปทรงเกลียว (สปริง) /การสรางขอ 26. สามารถบอกวิธีการการสรางรูปทรงเกลียว (สปริง) /การสรางของอ
และเจาะรู
งอและเจาะรู 27. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางรูปทรงเกลียว (สปริง) /การสรางของอ และ
เจาะรู
28. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
การสรางชิ้นสวนของเครื่องจักร/การตัดมุม 29. สามารถบอกวิธีการสรางชิ้นสวนของเครื่องจักร/การตัดมุมวัตถุ
วัตถุ 30. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางชิ้นสวนของเครื่องจักร/การตัดมุมวัตถุ
31. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
การสรางชิ้นงานลักษณะบานพับ/การสรางอิฐ 32. สามารถบอกวิธีการสรางชิ้นงานลักษณะบานพับ/การสรางอิฐ
33. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางชิ้นงานลักษณะบานพับ/การสรางอิฐ
34. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
การออกแบบลูกกุญแจ/การสรางรูปเกียร 35. สามารถบอกวิธีการออกแบบลูกกุญแจ/การสรางรูปเกียรอยางงาย
อยางงาย 36. ปฏิบัติชิ้นงานการออกแบบลูกกุญแจ/การสรางรูปเกียรอยางงาย
37. รูจักคําสั่งและเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
การสรางแกลลอนพรอมที่จับแบบเจาะ 38. สามารถบอกวิธีการสรางแกลลอนพรอมที่จับแบบเจาะ
39. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางแกลลอนพรอมที่จับแบบเจาะ
40. รูจักคําสั่งและเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
การสรางกลองและฝาบานพับ 41. สามารถบอกวิธีการสรางกลองและฝาบานพับ
42. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางกลองและฝาบานพับ
43. รูจักคําสั่งและเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
การสรางโตะ 44. สามารถบอกวิธีการสรางโตะ
45. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางโตะ
46. รูจักคําสั่งและเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
การสรางรูปแบบการเคลื่อนไหว (Animation) 47. สามารถบอกวิธีการสรางรูปแบบการเคลื่อนไหว (Animation)
48. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางรูปแบบการเคลื่อนไหว (Animation)
49. รูจักคําสั่งและเครื่องมือในการทําชิ้นงาน
โครงงานการออกแบบและการสรางโมเดล
ขอบขายเนื้อหาสาระภาคเรียนที่ 1
หนวยที่ 1: ความหมายและความสําคัญการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP
• ความหมายและความสําคัญของการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP ในการจัดการเรียน
การสอนในกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ
หนวยที่ 2: การติดตั้งโปรแกรม Pro/DESKTOP /ศึกษาสวนประกอบเครื่องมือ และความรูเบื้องตน
• การติดตั้ง Pro/DESKTOP
• ศึกษาสวนประกอบเครื่องมือและ คําสั่งควบคุม
หนวยที่ 3: การฝกปฏิบัติการใชเมนู
• การใชเมนูพื้นฐาน
• ฝกปฏิบัติสรางงานและบันทึกชิ้นงาน
หนวยที่ 4: การฝกปฏิบัติการใชเครื่องมือของโปรแกรม Pro/DESKTOP
• วิธีการใชเครื่องมือ
• ฝกปฏิบัติการสรางชิ้นงาน
หนวยที่ เนื้อหาสาระ จํานวนคาบ
1 ความหมายและความสําคัญในการใชโปรแกรม
Pro/DESKTOP
2
2 การติดตั้งโปรแกรม Pro/DESKTOP และศึกษาสวนประกอบ
เครื่องมือ และความรูเบื้องตน
8
3 การฝกปฏิบัติการใชเมนู 6
4 การฝกปฏิบัติการใชเครื่องมือโปรแกรม Pro/DESKTOP 10
ขอบขายเนื้อหาสาระภาคเรียนที่ 2
หนวยที่ เนื้อหาสาระ จํานวนคาบ
1 ความรูเบื้องตนกับโปรแกรม Pro/DESKTOP 6
2 การสรางวัตถุทางตัน 2
3 การตัดมุมชิ้นงานลักษณะตาง ๆ 2
4 การตัดมุมของรูปเหลี่ยม 2
5 การปรับเปลี่ยนและเจาะวัตถุทางตัน/การทํารูปโครงราง 2
6 การสรางภาชนะรูปแกว 2
7 การสรางรูปทรงเกลียว (สปริง) /การสรางของอและเจาะรู 2
8 การสรางชิ้นสวนของเครื่องจักร/การตัดมุมวัตถุ 2
9 การสรางชิ้นงานลักษณะบานพับ/การสรางอิฐบล็อค 2
10 การออกแบบลูกกุญแจ/การสรางรูปเกียรอยางงาย 2
11 การสรางแกลลอนพรอมที่จับแบบเจาะ 2
12 การสรางกลองและฝาบานพับ 2
13 การสรางโตะ 2
14 การสรางรูปแบบการเคลื่อนไหว (Animation) 2
15 โครงงานการออกแบบและการสรางโมเดล 4 (พรอมกับการเรียนปกติ)
16 สอบระหวางภาค 2
17 สอบปลายภาค 2
รวม 40
โปรดติดตั้ง Flash Player กอน0การใชงาน
แถบเครื่องมือมุมมอง Views Toolbar
มุมมองตาง ๆ
Plan View มุมมองโครงราง
Front View มุมมองดานหนา
Right View มุมมองดาน
View Trimetric มุมมอง 3 มิติ
View Onto Face มุมมองพื้นหนา
View Isometric
View Onto Workplane มุมมองระดับงาน
แถบเครื่องมือสรางและปรับแตงรูปทรง (Features Toolbar)
แถบเครื่องมือออกแบบDesign Toolbar
แถบเครื่องมือควบคุม Constraints Toolbar
Browser Pane
Select Lines
Select
Constraints
Select
Workplanes
Select Edges
Select Faces
Select
Features
Select Parts
Straigh
Circle
Rectangle
Ellipse
Arc/Fillet
Spline
Delete Line
Segment Sketch
Dimension
Workplane
Active Sketch
Select Edges เลือกมุม หรือเลือกเสนขอบเพื่อทํางาน
Select Faces เลือกดานที่จะทํางาน
Round Edges ตัดหรือทําขอบใหมน
แบบ Constant Radius กําหนดรัศมีโคงคงที่เทากันทั้ง 2 ดาน
2แบบ Variable Radius กําหนดรัศมีโคงแบบผันแปร หรือไมเทากัน ปรับเปลี่ยนไดหลายสวน
2ลากแลวเลื่อนออกที่จุดสีเขียวเพื่อกําหนดความยาว และจุดเหลืองเพื่อปรับรัศมีโคงมน
Chamfer Edges ตัดหรือทําขอบใหเปนเหลี่ยม
แบบ Equal setback กําหนดพื้นยอนกลับไปดานละเทา ๆ กัน
2แบบ UnEqual setback กําหนดพื้นที่ยอนกลับไปแบบไมเทากันในแตละดาน
แบบ Angle setback กําหนดพื้นที่ยอนกลับไปโดยการกําหนดดาน และมุม
2ดังรูปดานลาง
แบบฝกหัด จงดัดแปลงลูกบาศกสี่เหลี่ยม ใหเปนทรงแปดเหลี่ยม
นําลูกบาศกสําเร็จรูปจาก Palette มาวางบน Workplane
1. คลิกที่ขอบของลูกบาศกดานที่ตองการตัดเหลี่ยม แลวกําหนดคา Setback ตามตองการ
2. ทําจนครบดานที่ตองการ จะไดลูกบาศกตามภาพดานลาง
Shell Solids เจาะวัตถุทําขอบสูง
แบบ Inside เจาะวัตถุจากพื้นที่ดานในออกสูดานนอกใหเปนพื้นที่กวง
ผลที่ไดดังรูปดานบน
2แบบ Outside เจาะวัตถุโดยวัดจากขอบดานนอกเขาหาดานใน (ขอบ)
ผลที่ไดดังรูปดานบน
Extrude Profile กําหนดความหนา สรางฐาน 2
2แบบ Above work plane สรางฐานเขาหาระดับงาน
2แบบ Below work plane สรางฐานผลักออกจากระดับงาน
Draft faces ปรับพื้นหนาโครงสราง
2เลือกดานที่ตองการปรับ
แถบเครื่องมือในหนาตาง Engineering Drawing
Drawing Commands
Select Annotations A
Features F
Views V
Add Connected Lines Ctrl + E
Synchronize Browser Shift + B
Center Line Common Plane
Common Axis
Mid-Plane
Pitch Circle
Center Points
Phantom Intersection
Dimension Linear
Angular
Diametric
Radial
Note
Geometric Tolerance
Datum Feature
Design Variables
Surface Finish
Part Reference Balloon
Insert Callout Note Insert
Move Callout L/R/Up/Down Arrows
Start New Line Enter
Shoulder Right Ctrl + Right Arrow
Shoulder Left Ctrl + Left Arrow
Drawing Update Views F5
New Sketch Ctrl + K
Hide Other Sketches Ctrl + H
Table Cycle Row Up Shift + Up Arrow
Cycle Row Down Shift + Down Arrow
Cycle Column Left Shift + Left Arrow
Cycle Column Right Shift + Right Arrow
คําสั่งปกติ General Commands
File New Ctrl + N
Open Ctrl + O
Save Ctrl + S
Print Ctrl + P
Edit Undo Ctrl + Z
Cut Ctrl + X
Copy Ctrl + C
Paste Ctrl + V
Delete Delete
Select All Ctrl + A
Duplicate Ctrl + D
Properties Alt + Enter
Pick Up Properties Ctrl + Shift + C
Apply Properties Ctrl + Shift + V
View Auto Scale Shift + A
Auto scale Selection Shift + S
Half Scale Shift + H
Zoom In Shift + Z
Manipulate Space
Wire Frame F9
Shaded F10
Transparent F11
Enhanced F12
View>Go To Isometric Shift + I, Home
Trimetric Shift + T, End
Plan Shift + P
Front Elevation Shift + N
Right Elevation Shift + R
Onto Face Shift + F
Onto Work plane Shift + W
Previous Alt + Left Arrow
Next Alt + Right Arrow
View>Rotate Spin Left/Right Left/Right Arrow
Tilt Up/Down Up/Down Arrow
Turn Counter Clockwise Page Up
Turn Clockwise Page Down
Tumble Shift + U
Tools Variables Alt + 1
Design Rules Alt + 2
Configurations Alt + 3
Tools>Macro Record New Marco
Stop Recording
Marcos Alt + F8
Resume Marco I> Alt + F9
Visual Basic Editor Alt + F11
Special Control Features
Keystroke + Selection = Action
Shift Modifying end point of a line Extend or trim a line
Shift Straight line being created Parallel to workplane axis
Double Click Object not on active plane Activities its sketch
Double Click Selected object Open properties dialog box
Ctrl + Double
Click
Object Select feature & sync browser
Esc New Object Open selection command
Shift Section or projected view View will align to its principal view
Shift Add note Note is placed without leader
Shift Radial dimension Diameter dimension is placed
Shift Angular dimension Major angle is dimensioned
Mouse Items
Manipulate
Scene Spacebar (On/Off)
- Hold down Left mouse button to
Rotate in 3 dimensions
- Shift + Hold down Left mouse button
to drag/adjust position on screen
- Shift + Ctrl + Hold down Left mouse
button to Rotate in one plane
Zoom in/out Scroll Wheel on mouse Rotate Scroll Wheel to enlarge or reduce
scale
เพิ่มเติมการใช เมาสรวมกับโปรแกรม
1. เมาส ปุมซายใชสําหรับคลิกเลือก
2. เมาส ปุมขวาใชเพื่อเลือกใช Pop – Up
3. เมาส ปุมกลางใชในการแทน Enter, และสิ้นสุดคําสั่ง
4. กดปุมกลางคางไวเปนการ Spin ภาพที่หนาจอ
5. กดปุม Ctrl + ปุมกลางที่ เมาสคางไวเทากับ zoom ภาพที่หนาจอ
6. กดปุม Shift + ปุมกลางที่เมาสคางไวเทากับจับภาพที่หนาจอ
7. กดเลื่อน scroll เมาส เปนการ Zoom Out ภาพ
เริ่มตนใชงาน
คําแนะนํา การใช เครื่องหมายสัญลักษณ
การใช เครื่องหมายสัญลักษณ จะเขียน สัญลักษณ (Icon) พรอม ชื่อสัญลักษณ กํากับไว เชน
Icon นี้ ชื่อ New Design เขียนกํากับไว ในกรณีบางรูปไมชัดเจน หรือรูปขาวดํามีลักษณะ
เดียวกัน จะไดใช Icon ไดถูกตอง
การเปดชิ้นงานใหม : New Design
1. คลิกเมาสที่ (New Design) เปนชื่อเรียก ของ Icon เขียนกํากับเพื่อวา รูปไมชัด หรือรูป
ขาวดํามีลักษณะเดียวกัน ) เพื่อเปดชิ้นงานใหม
2. ปรับหนาตางใหใหญที่สุด
3. ตรงสวนนี้สามารถเลือกการทํางานหรือแกไขในงาน
พื้นที่ทํางาน :Workplanes
4. นักเรียนจะตองมีความรูเบื้องตนในเรื่องของ สิ่งประดิษฐหรืองาน ที่อยูใน Workplanes และ
New Sketches
5. คลิก เพื่อแสดงใหเห็น Workplanes ทั้ง 3 ดานที่อยูใน Pro/DESKTOP.
6. ในทุก ๆ Base Workplane จะมี New Sketch อยู การเลือกทํางานใน Workplane อื่น ให
คลิกที่เสนกรอบของ Workplane โดยเสนกรอบจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองและสีแดง > คลิกขวา
ที่เมนูเลือก New Sketch หรือไปที่ Workplane > New Sketch
Base Workplane จะมีกรอบโครงราง
ที่เรียกวา Initial ซึ่งกําหนดใหเปนคา
เริ่มตนแสดงใหเห็นดานบนของงาน
Lateral Workplane จะแสดงใหเห็น
ดานขางของงาน
Frontal Workplane จะแสดงใหเห็น
ดานหนาของงาน
7. เปลี่ยนชื่อ New Sketch ใหมีความหมายสอดคลองการงานที่ทํา
8. OK
ใหคลิกที่เสนกรอบของ
Workplane จะ
เปลี่ยนเปนสีเหลืองและ
สีแดง
คลิกขวา เลือก
New sketch
เปลี่ยนชื่อ
ชื่อ New Sketch ที่ตั้งใหมจะเปนตัวหนา
Base Workplane จะมี Initial เปน Sketch ที่
โปรแกรมกําหนดไว เมื่อเปด Workplane ใหม
สามารถสราง Sketch ใหมโดยคลิกขวา
การจัดเก็บแฟมขอมูลลงดิสก
การจัดเก็บแฟมขอมูลในดิสกอื่น เชนแผนดิสก สามารถทําไดเหมือนปกติ ทุกแฟมขอมูลที่ทํา
ใน Pro/DESKTOP ใน Assembly design เปนที่งานประกอบดวย ชิ้นงานหลายชิ้นงาน เมื่อจัดเก็บ
แฟมหลัก จะจัดเก็บเฉพาะสวนที่เชื่อมโยงกับไฟลยอย ทําใหไฟลที่จัดเก็บเล็ก คลายกับe-mail
การแกไขและปรับเปลี่ยน Features
1. Features สามารถแกไขและเปลี่ยนขอผิดพลาดจากการกําหนดคาที่ผิดได โดย
- ที่เมนู Browser เลือก Features
- คลิกขวาที่ Feature > เลือก Redefine จากเมนู
2. แกไขแลว > OK
3. คลิก (Update Icon) ทุกครั้งที่มีการแกไข
.
การออกแบบหมวก
7. ใชแถบเครื่อง Line วาดเสนหมวกครึ่งลูก
Prodesktop

More Related Content

Similar to Prodesktop

โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3wipawanmmiiww
 
3บทนำ หน้า ก_ฉ
3บทนำ หน้า ก_ฉ3บทนำ หน้า ก_ฉ
3บทนำ หน้า ก_ฉdechathon
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานMoomy Momay
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)Noot Ting Tong
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมSuchabun Preawnapa
 
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษาความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษาสุชาติ องค์มิ้น
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาNatnicha Nuanlaong
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3Nontt' Panich
 

Similar to Prodesktop (20)

Ratchadaporn605
Ratchadaporn605Ratchadaporn605
Ratchadaporn605
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 
K3
K3K3
K3
 
3บทนำ หน้า ก_ฉ
3บทนำ หน้า ก_ฉ3บทนำ หน้า ก_ฉ
3บทนำ หน้า ก_ฉ
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
เธ‡เธฒเธ™เธ„เธญเธก (1)
 
K3
K3K3
K3
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษาความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
ความหมายและต วอย างห_วข_อโครงงานประเภทการพ_ฒนาส__อเพ__อการศ_กษา
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษาใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
ใบงานที่4 เรื่อง โครงงานประเภทการพัฒนาเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 

Prodesktop

  • 1. ออกแบบผลิตภัณฑดวย โปรแกรม Pro/Desktop © 1995-2003 Parametric Technology Corporation. All rights reserved. โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ ปการศึกษา 2552
  • 2. รวบรวมโดย นางสาวศิรินทิพย จันทรสุวรรณ คํานํา หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2544 มุงพัฒนาผูเรียนใหสมบูรณ และสมดุลทั้งดาน จิตใจ รางกาย สติปญญา อารมณและสังคมโดยมุงเนนในการพัฒนาใหเปนผูมีความรูความสามารถทั้ง ดานวิชาการวิชางาน และวิชาชีวิต เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางมีความสุข พึ่งตนเองได อยูรวมกับผูอื่นไดอยางสรางสรรค พัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม ความคิดริเริ่มสรางสรรคเปน ความสามารถในการมองเห็นความสัมพันธของสิ่งตางๆ โดยมีสิ่งเราเปนตัวกระตุน ทําใหเกิดความคิด ใหมตอเนื่องกัน ซึ่งความคิดสรางสรรคประกอบดวยความคลองในการคิด ความคิดยืดหยุน และความคิด ที่เปนของตนเองโดยเฉพาะหรือเรียกวา ความคิดสรางสรรคนั้นเอง ทั้งนี้เทคโนโลยีเปนสิ่งหนึ่งที่ไดนํา ความรู ทักษะ และทรัพยากรมาสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการ โดยผานกระบวนการเพื่อแกปญหา สนองความตองการหรือเพิ่มความสามารถของการทํางานของมนุษย โปรแกรม Pro/DESKTOP เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรทางการศึกษาที่ใชเปนสื่อสอนนักเรียนใน เรื่องการออกแบบและสรางงานสามมิติ โดยสามารถนํามาใชในการสรางชิ้นงานที่เกิดจากความคิด สรางสรรคของผูเรียนเปนสามมิติเสมือนจริง หากนักเรียนไดเรียนอยางมีความรูความเขาใจและมีทักษะ ในการใชโปรแกรม Pro/ DESKTOP แลว สามารถที่จะใชเปนแนวทางในการประกอบอาชีพในอนาคตซึ่ง ไดแกการสรางชิ้นงานการออกแบบผลิตภัณฑในเชิงธุรกิจอีกทั้งยังชวยสนับสนุนโครงการหนึ่งตําบลหนึ่ง ผลิตภัณฑ ( OTOP) และอาจกาวไกลพัฒนาตนเองเปนวิศวกรนักออกแบบผลิตภัณฑและนักเทคโนโลยี ในอนาคตตอไปได โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภพิจารณาเห็นวาโปรแกรม Pro/DESKTOP เหมาะสําหรับใชเปนสื่อสอน นักเรียน ระดับมัธยมศึกษา วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย เชนเดี่ยวกับที่สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน จึงไดมีการปรับหลักสูตรการเรียนการสอนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ในปการศึกษา 2552 ใหม เพื่อพัฒนาความคิดสรางสรรคของนักเรียนเรียนใหมีศักยภาพมากขึ้น
  • 3. บทนํา โปรแกรม Pro/DESKTOP คืออะไร คําอธิบายรายวิชา Pro/DESKTOP เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรทางการศึกษาที่ใชสอนนักเรียนในเรื่องการออกแบบ และสรางงาน 3 มิติ ซึ่งโปรแกรมคอมพิวเตอร Pro/DESKTOP นี้งายตอการใชงาน และมีความเหมาะสม ตอการเรียนรูของนักเรียน โดยสามารถนําโปรแกรม Pro/DESKTOP มาเปนเครื่องมือในการออกแบบ สรางชิ้นงานที่เกิดจากความคิดสรางสรรคของนักเรียนเอง ซึ่งการสรางชิ้นงานสามารถมองเห็นชิ้นงาน เปน 3 มิติเสมือนจริง อีกทั้งนักเรียนสามารถเรียนรูและเขาใจการสรางสรรคชิ้นงาน และออกแบบ ผลิตภัณฑในเชิงการตลาด หากนักเรียนมีความรู ความเขาใจและทักษะในการใช Pro/DESKTOP มาก ขึ้นจะเปนแนวคิดและมองเห็นชองทางในการประกอบอาชีพในอนาคตเปนวิศวกร นักออกแบบผลิตภัณฑ อุตสาหกรรมและนักเทคโนโลยีเปนตน โปรแกรม Pro/DESKTOP นี้เหมาะสําหรับใชสอนนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา วิทยาลัยและมหาวิทยาลัย ซึ่งใชเวลาในการศึกษาเรียนรูเพียง 2-3 สัปดาหก็สามารถทํา ความเขาใจไดเปนอยางดี สําหรับการเรียนการสอนเพื่อใชในการสรางชิ้นงาน/โครงงานของนักเรียน จะ ใชเวลาเพียง 2-3 ชั่วโมง ก็จัดสรางชิ้นงานขั้นพื้นฐานไดเปนอยางดี อีกทั้งนักเรียนสามารถนําโปรแกรม Pro/DESKTOP นี้ไปใชและฝกปฏิบัติงานที่บานไดดวยตนเอง ซึ่งจะทําใหนักเรียนเกิดความชํานาญใน การใชโปรแกรมPro/DESKTOPเพิ่มขึ้น โปรแกรม Pro/DESKTOP ทําอะไรไดบาง โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถใชฝกทักษะและสรางสรรคผลงานตาง ๆ เชน 1. การออกแบบโครงรางชิ้นงาน 2. การทํารูปทรง 3 มิติ ตาง ๆ 3. การออกแบบทางดานวิศวกรรม สถาปตยกรรม 4. การออกแบบผลิตภัณฑตาง ๆ 5. การออกแบบชิ้นงาน Animation 6. การจัดทําภาพฉาย (Projection) ฯลฯ โปรแกรม Pro/DESKTOP เขามาสูวงการศึกษาประเทศไทยไดอยางไร เมื่อปลายปงบประมาณ 2546 บริษัท PTC U.S.A. ไดติดตอมายังกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อมอบโปรแกรม Pro/DESKTOP พรอมลิขสิทธิ์ใชงานสําหรับนักเรียนไทยในระดับมัธยมศึกษา โดยมี นายพงศศักดิ์ รักตพงษไพศาล (ผูชวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการในขณะนั้น) เปนผูรับฟงการ นําเสนอศักยภาพของโปรแกรม จากนั้นคณะเขาพบ พณฯนายกรัฐมนตรี เพื่อมอบโปรแกรมดังกลาวไว ใชประโยชน ทั้งมีวิทยากรชาวตางประเทศสาธิตการใชโปรแกรมภายใตการตรวจรับโดยผูเชี่ยวชาญดาน ITจากหนวยงานตางๆ โปรแกรม Pro/DESKTOP มี 2 ระดับ คือ โปรแกรมที่ใชในระดับมัธยมศึกษา และ ระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งประเทศไทยไดรับมอบโปรแกรม Pro/DESKTOP เพื่อการใชงานฟรี จํานวน 20 ชุด สําหรับระดับมัธยมศึกษา โดยอนุญาตใหนักเรียนไทยทุกคนใชได โดยไมมีขอจํากัด ยกเวนถา นําไปใชในเชิงธุรกิจผูเชี่ยวชาญหลายทานไดใหขอคิดเห็นวา โปรแกรม Pro/DESKTOP มีรูปแบบการใช งานที่งายตอการเรียนรู เหมาะกับการเรียนในระดับมัธยมศึกษา นาจะขยายผลการใชงานใหครอบคลุม ทั้งประเทศ ผนวกกับขณะนี้ ทางโครงการโรงเรียนในฝนกําลังตองการเครื่องมือในการผลิตสื่อใชงาน จึง เห็นพองกันวาโปรแกรม Pro/DESKTOP นี้ นาจะเปนทางเลือกหนึ่งของโครงการโรงเรียนในฝน จึงได จัดการฝกอบรมนํารองใหกับคณะศึกษานิเทศก และครู จํานวน 38 คน เพื่อทดลองใชโปรแกรม Pro/DESKTOP โดยมีวิทยากรชาวตางประเทศ ใหการฝกอบรม กอนที่จะขยายผลไปยังโรงเรียนอื่น ๆ ทั่วประเทศ
  • 4. ความตองการดาน Hardware ขั้นต่ําคูมือการใช โปรแกรม Pro/DESKTOP ไดกําหนดคุณสมบัติ ของ Hardware ขั้นต่ําไวดังนี้ -เพนเทียมอินเทลขั้นต่ํา 166 MHz หรือสูงกวา - หนวยความจําขั้นต่ํา 64 MB - ที่วางของฮารดดิสก 80 MB (สําหรับโปรแกรม) - มีที่วางอิสระในโฟลเดอร TEMP ระหวางการะบวนการติดตั้ง 110 MB - ไมโครซอฟต Windows 98, Me, 2000, XP, NT 4.0 ขอเสนอแนะจากการทดลองใชโปรแกรม 1. Window 98 จากการทดลองใชงาน โปรแกรมนี้จะทํางานไดดี บน RAM ตั้งแต 128 MB และ มีความจําการดจอ 16 MB ขึ้นไป หากตองการใชงานโปรแกรมอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด ควร ใช 32 MB ขึ้นไป 2. Windows XP ควรจะมี RAM ไมนอยกวา 256 MB 3. ในกรณีเครื่องมีขีดความสามารถต่ํา ใหปดหนาตางที่ไมใชงาน ใหคงเหลือหนาตางที่กําลัง ทํางานปจจุบัน จะชวยแกปญหาไดบาง จุดเดนของโปรแกรม Pro/DESKTOP โปรแกรม Pro/DESKTOP งายตอการใชงานพอสมควร และสามารถฝกทักษะดานกระบวนการ คิดสรางสรรคไดเปนอยางดี อีกทั้งผูใชงานโปรแกรม Pro/DESKTOP ไดศึกษาและฝกทักษะใหมีความ ชํานาญและเชี่ยวชาญ ก็จะสามารถนําโปรแกรม Pro/DESKTOP ไปใชในการออกแบบตาง ๆ ใน ชีวิตประจําวันและประกอบอาชีพได โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อออกแบบผลิตภัณฑหรือชิ้นงานเสร็จ เรียบรอยแลว โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถแสดงภาพฉายของชิ้นงานใหดวย ซึ่งผูสรางชิ้นงานไม ตองเขียนภาพฉายอีก นอกจากนี้ ยังสามารถออกแบบ Model ที่แสดงภาพการเคลื่อนไหว หรือลักษณะ การใชงานของModel นั้น ๆ ไดดวย ขอคิดจาก Ivan Chester ( MindustrailEd Newcastle, Director of Studies, Bachelor Of Technology Education, Australia) วิทยากรผูฝกรมรมการใชงานโปรแกรม Pro/Desktop Ivan ไดเสนอขอคิดเห็นบางประการตอกระทรวงฯ และครูเกี่ยวกับการฝกอบรมโปรแกรม CAD ในฐานะ ที่ Ivan เปนผูสนใจในงานวิจัยทางดานการเรียนรู (Cognitive research) เกี่ยวกับการสอน CAD และ การแกปญหาผลการวิจัยเกี่ยวกับการเรียนรู (การคิด) แสดงใหเห็นวาการแกปญหาที่ซับซอนเกิดขึ้นได โดย การสรางภาพความคิด (การคิดในภาพที่สรางขึ้นมาในใจ) ในการแกปญหา ความสามารถในการ สรางภาพความคิดของนักเรียนมีหลายแนวทาง และคาดหวังวาการใชโมเดล 3 มิติ เชน จากโปรแกรม Pro/Desktop เปนตน จะสามารถแกปญหานี้ของนักเรียนได ซึ่งผลการวิจัยปจจุบันยังไมมีในเรื่องนี้ (Ivan ไดทํางานเกี่ยวกับเรื่องนี้มาพอสมควรและเชื่อวายังไมมีการวิจัยในเรื่องนี้ เพราะสวนมากศึกษากับ กลุมเปาหมายที่มีอายุมากกวาวัยนักเรียน และ นักศึกษากับกลุมวิศวกรและสถาปนิกเปนสวนใหญ ซึ่ง เปนกลุมที่ตองสรางภาพความคิด ขึ้นมาใชในการทํางานอยูแลว) คุณ Ivan ไดศึกษาเอกสารและ งานวิจัยเกี่ยวกับภาพความคิดเพื่อที่จะหาแนวทางที่จะแกปญหานักเรียน โดยการใชการสรางภาพความ คิดในการสอน Pro/Desktop และการแกปญหาที่ซับซอน ตลอดชวง 6 เดือนที่ผานมา และคุณ Ivan พบวา มียุทธวิธี 5 อยาง ที่จะแกปญหาการสรางภาพความคิดไดดังนี้ 1. การสรางรูปแบบกระบวนการคิด เปนสิ่งสําคัญในการสอนเริ่มตนและสําคัญมากขึ้นในการ แกปญหา Ivan ดําเนินการโดยการเลาใหนักเรียนทั้งชั้นฟงถึงยุทธวิธีที่ใชแกปญหาจากนั้น save งาน ตนแบบ แลวสาธิตวิธีการแกปญหาใหนักเรียนดู ซึ่งวิธีการนี้จะทําใหนักเรียนที่เพิ่งเริ่มตนเรียนรูเขาใจ วิธีการแกปญหาที่ครูใชฝกฝน และกลายเปนผูที่สามารถแกปญหาดวยตนเองไดในที่สุด 2. การสเก็ตช (sketching) การสเก็ตชจะชวยใหนักเรียนสรางภาพจิตนาการขึ้นมาในความทรง จําและใชภาพ sketch นี้คิดเกี่ยวกับความเปนไปไดที่จะทําตอไป รวมทั้งกอใหเกิดภาพ sketch อื่น ๆ
  • 5. อีก และความสามารถในการจัดภาพ sketch ที่ซับซอน (มีภาพ sketch หลาย ๆ ภาพ) อีกดวย Ivan ใชการ sketch โดยใหนักเรียน sketch รูปรางในทิศทางที่แตกตางจากที่ครูสอนในแตละ feature เชน extrude, thin or taper เปนตน จากนั้นใหนักเรียนถายภาพวัตถุของจริง แลวถามนักเรียนใหบอก วิธีการที่จะสราง model ตนแบบของวัตถุจริงนั้นขึ้นมา ซึ่งตรงนี้นักเรียนจะสามารถระบุไดวาสวนใดที่ตอง extrude สวนใดตอง loft สวนใดตอง revolve เปนตน จากนั้นนักเรียนจะทําการ sketch ใน workplane และวาดรูปรางของแตละ sketch ที่นักเรียนตองการสราง กระบวนการนี้เกิดขึ้นเร็วมากในการสราง model ใน ProDesktop และ ทําใหเกิดการคิดและภาพความคิดขึ้นมาไดดี 3. การเรียนรูแบบรวมมือ ผูเรียนที่มีสวนรวมในการแกปญหาในกลุมสามารถเรียนรูกระบวนการ คิดไดดีกวา โดยการเรียนรูวิธีการแกปญหาของนักเรียนคนอื่น และ เลือกวิธีการแกปญหาการเรียนรูที่ เหมาะสมกับตนเองมากที่สุด 4. การอธิบายวิธีการแกปญหาใหผูอื่นฟง การใหนักเรียนอธิบายใหเพื่อน ๆ ในกลุมฟง ถึง วิธีการใช model ใหไดผลดีมากขึ้นในสถานการณตาง ๆ กระบวนการอธิบายนี้มีประสิทธิภาพโดยตัวของ มันเอง อยูแลว การฟงยุทธวิธีของผูอื่นก็เชนเดียวกัน ทั้งการอธิบายและการฟงจะทําใหนักเรียน จินตนาการจาก คําอธิบาย ซึ่งจะชวยแกปญหาความสามารถในการสรางภาพความคิด และ การอธิบาย ยุทธวิธีจะชวยใหเกิดการปรับปรุงใหดีขึ้นในโอกาสตอไป 5. การใหขอมูลยอนกลับในทันที การใหขอมูลยอนกลับในทันทีจะชวยใหนักเรียนปรับความคิด ใหถูกตอง เมื่อนักเรียนอธิบายยุทธวิธีในการสราง model ของรูปภาพอื่น ๆ ครูอาจจะถามนักเรียนคนอื่น เพื่อที่จะชวยเหลือและครูก็คอยแนะนํา ทั้งตอนักเรียนแตละคน หรือตอนักเรียนทั้งชั้น นอกจากนี้ยังเปน การใหโอกาสในการพัฒนาวิธีการที่ดีที่จะระบุความเปนไปไดในการทํา mirror, copy, scale Ivan คิดวาเปนสิ่งสําคัญในการทําเทคนิคเหลานี้เขามาใชในการฝกอบรม Pro/Desktop ในประเทศไทย ผลการวิจัย CAD ชี้ใหเห็นวาการใชคําสั่งของ CAD เชน นี่คือวิธีการ extrude เปนตน ไมใชวิธีการที่จะ ใชซอฟตแวรอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด Ivan เชื่อวามันไมใชวิธีการที่จะสงเสริมความสามารถในการ สรางภาพความคิด และการแกปญหาที่ซับซอนดวย ดังนั้นเพื่อให การแกปญหาความสามารถในการ สรางภาพความคิดและการแกปญหาที่ซับซอน โดยการใช Pro/Desktop เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ควรใชเทคนิควิธีการที่ Ivan นําเสนอนี้สอดแทรกเขามาใชดวย รวมทั้งวิจัยติดตาม ผลการใชเทคนิค วิธีการนี้ในการฝกอบรม Pro/Desktop ที่มีตอความสามารถทั้ง 2 อยางของนักเรียนดวย แนวทางในการนําโปรแกรม Pro/DESKTOP ใชในโรงเรียน จากขีดความสามารถของโปรแกรม Pro/DESKTOP และลักษณะของโปรแกรมที่เหมาะกับการ ฝกทักษะกระบวนการทางความคิดสรางสรรคของนักเรียน และสามารถใชเปนเครื่องมือของครูในการ สรางสื่อการเรียนการสอนรายวิชาตาง ๆ ที่กลาวมาแลวนั้น หากมีการนําไปเผยแพรในโรงเรียน ควร กําหนดจุดประสงคของการนําไปใช ดังนี้ 1. เพื่อใชเปนเครื่องมือสําหรับฝกความคิดสรางสรรคสําหรับนักเรียนทุกระดับ 2. เพื่อใหนักเรียนมีทางเลือกในการเรียนวิชาประเภทกราฟกสําหรับการออกแบบ ผลิตภัณฑ และนําไปใชในชีวิตประจําวันไดจริง สามารถพัฒนาไปสูทักษะชั้นสูง นําไปสูขั้น อาชีพจริงได 3. เพื่อใหครูผูสอน ทุกกลุมสาระ นําไปเปนเครื่องมือในการจัดทําสื่อการเรียนการสอน เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรูในสาระวิชานั้น ๆ ไดดีขึ้น โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถนําไปไปใชสอนในกลุมสาระการเรียนรูใดบาง 2โปรแกรม Pro/DESKTOP สามารถจะนําไปใชสอนในกลุมสาระพื้นฐาน สาระเพิ่มเติม และ กิจกรรมการ เรียนรู ดังนี้2 1. เปนสวนหนึ่งของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีทุกชวงชั้น2 2. เปนสวนหนึ่งของกลุมสาระเพิ่มเติมโดยใหนักเรียนเลือกตามความสนใจ2 3. จัดเปนกิจกรรมสนใจของนักเรียน เชน ชมรม ชุมนุมตาง ๆ2 4. จัดการเรียนรูแบบบูรณาการเขากับกลุมสาระอื่น ๆ เชน คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เขียนแบบ
  • 6. 2 2 การออกแบบผลิตภัณฑ ฯลฯ โดยระบุอยูในแผนการจัดการเรียนรู และใหใชโปรแกรมนี้เปนสื่อในการ ออกแบบ รายงาน และนําเสนอ เปนตน อยางไรก็ตามคณะทํางานขอเสนอเปนหลักการวา โปรแกรม Pro/DESKTOP นี้เปนโปรแกรม กราฟกชนิดหนึ่ง เชนเดียวกับโปรแกรมอื่น ๆ ที่ใชเปนเครื่องมือ หรือ สื่อการเรียนการสอนคอมพิวเตอร เพื่อฝกทักษะความสามารถดานคอมพิวเตอรทั่วไปใหพิจารณาเลือกใชสวนที่ดีที่เหมาะสมโ ดยเฉพาะ อยางยิ่งการฝกกระบวนการความคิดสรางสรรค สวนทักษะขั้นสูงที่สามารถจะออกแบบผลิตภัณฑไดจริง ควรจะเปนทางเลือกใหนักเรียนไดเลือกเรียนในสาระเพิ่มเติม หรือกิจกรรม สนใจ2 2แนวทางการนําไปใชเปนสื่อสําหรับการสอนแบบบูรณาการ เนื่องจากโปรแกรมมีความสามารถในการสรางงานไดหลายรูปแบบ เกือบทุกประเภท จึงสามารถ ใชเปนสื่อกลางในการบูรณาการการเรียนการสอนวิชาตาง ๆ ไดดี ทําใหบทเรียนนาสนใจ รูปแบบของการบูรณาการ อาจจะทําไดหลายรูปแบบ เชน 1. สรางชิ้นงานเปนสื่อ และระหวางปฏิบัติงาน ใหไปศึกษาเนื้อหาสาระความรูที่เกี่ยวของกับวิชา ตาง ๆ เพื่อความเขาใจในสาระวิชาที่มาเกี่ยวของ ประกอบเปนชิ้นงานชิ้นนั้น ๆ เชน วิชาเขียนแบบ งานบาน/โภชนาการ วิชาวิทยาศาสตร, คณิตศาสตร วิชาศิลปะ - แสง , เงา วิชาออกแบบผลิตภัณฑ
  • 7. 2. ใชเปนเครื่องมือสรางสรรคชิ้นงาน เพื่อการนําเสนอหรือสรางความเขาใจ ความคิด รวบยอดในเนื้อหาวิชานั้น ๆ เชน รูปทรงเรขาคณิต การตัดขวาง เปนตน การนําเสนอภาพฉายงานที่ออกแบบ เชน ภาพ Projection
  • 8. ผลการเรียนรูที่คาดหวัง เรื่อง ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ความรูเบื้องตนกับโปรแกรม Pro/DESKTOP 1. บอกความหมายของโปรแกรม Pro/DESKTOP 2. บอกวัตถุประสงคของการใชโปรแกรมPro/DESKTOP 3. บอกที่มาของโปรแกรมPro/DESKTOP 4. บอกคุณสมบัติของการใช Hardware กับโปรแกรม Pro/DESKTOP 5. รูจักแถบเครื่องมือของโปรแกรม Pro/DESKTOP 6. รูจักสวนประกอบของโปรแกรม Pro/DESKTOP 7. รูจักและใชแถบเครื่องมือ คําสั่งตาง ๆ ในโปรแกรม Pro/DESKTOP 8. สามารถเปดโปรแกรม และสรางงานจากโปรแกรม Pro/DESKTOP 9. รูและเขาใจพื้นที่การทํางานของโปรแกรม Pro/DESKTOP 10. รูและปฏิบัติตามคําสั่งตาง ๆ ในการทํางานกับโปรแกรม Pro/DESKTOP การสรางวัตถุทางตัน 11. สามารถบอกวิธีการสรางวัตถุทางตัน 12. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางวัตถุทางตัน 13. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน การตัดมุมชิ้นงานลักษณะตาง ๆ 14. สามารถบอกวิธีการตัดมุมชิ้นงาน 15. ปฏิบัติชิ้นงานการตัดมุมชิ้นงาน 16. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน การตัดมุมของรูปเหลี่ยม 17. สามารถบอกวิธีการตัดมุมของรูปสี่เหลี่ยม 18. ปฏิบัติชิ้นงานการตัดมุมของรูปสี่เหลี่ยม 19. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน การปรับเปลี่ยนและเจาะวัตถุทางตัน/การทํา รูปโครงราง 20. สามารถบอกวิธีการปรับเปลี่ยนและเจาะวัตถุทางตัน และการทํารูป โครงรางมีมิติ 21. ปฏิบัติชิ้นงานการปรับเปลี่ยนและเจาะวัตถุทางตัน และการทํารูป โครงรางมีมิติ 22. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน การสรางภาชนะรูปแกว 23. สามารถบอกวิธีการสรางภาชนะรูปแกว 24. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางภาชนะรูปแกว 25. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน การสรางรูปทรงเกลียว (สปริง) /การสรางขอ 26. สามารถบอกวิธีการการสรางรูปทรงเกลียว (สปริง) /การสรางของอ และเจาะรู งอและเจาะรู 27. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางรูปทรงเกลียว (สปริง) /การสรางของอ และ เจาะรู 28. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน การสรางชิ้นสวนของเครื่องจักร/การตัดมุม 29. สามารถบอกวิธีการสรางชิ้นสวนของเครื่องจักร/การตัดมุมวัตถุ วัตถุ 30. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางชิ้นสวนของเครื่องจักร/การตัดมุมวัตถุ 31. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน การสรางชิ้นงานลักษณะบานพับ/การสรางอิฐ 32. สามารถบอกวิธีการสรางชิ้นงานลักษณะบานพับ/การสรางอิฐ
  • 9. 33. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางชิ้นงานลักษณะบานพับ/การสรางอิฐ 34. รูจักคําสั่ง และเครื่องมือในการทําชิ้นงาน การออกแบบลูกกุญแจ/การสรางรูปเกียร 35. สามารถบอกวิธีการออกแบบลูกกุญแจ/การสรางรูปเกียรอยางงาย อยางงาย 36. ปฏิบัติชิ้นงานการออกแบบลูกกุญแจ/การสรางรูปเกียรอยางงาย 37. รูจักคําสั่งและเครื่องมือในการทําชิ้นงาน การสรางแกลลอนพรอมที่จับแบบเจาะ 38. สามารถบอกวิธีการสรางแกลลอนพรอมที่จับแบบเจาะ 39. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางแกลลอนพรอมที่จับแบบเจาะ 40. รูจักคําสั่งและเครื่องมือในการทําชิ้นงาน การสรางกลองและฝาบานพับ 41. สามารถบอกวิธีการสรางกลองและฝาบานพับ 42. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางกลองและฝาบานพับ 43. รูจักคําสั่งและเครื่องมือในการทําชิ้นงาน การสรางโตะ 44. สามารถบอกวิธีการสรางโตะ 45. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางโตะ 46. รูจักคําสั่งและเครื่องมือในการทําชิ้นงาน การสรางรูปแบบการเคลื่อนไหว (Animation) 47. สามารถบอกวิธีการสรางรูปแบบการเคลื่อนไหว (Animation) 48. ปฏิบัติชิ้นงานการสรางรูปแบบการเคลื่อนไหว (Animation) 49. รูจักคําสั่งและเครื่องมือในการทําชิ้นงาน โครงงานการออกแบบและการสรางโมเดล
  • 10. ขอบขายเนื้อหาสาระภาคเรียนที่ 1 หนวยที่ 1: ความหมายและความสําคัญการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP • ความหมายและความสําคัญของการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP ในการจัดการเรียน การสอนในกลุมสาระการเรียนรูตาง ๆ หนวยที่ 2: การติดตั้งโปรแกรม Pro/DESKTOP /ศึกษาสวนประกอบเครื่องมือ และความรูเบื้องตน • การติดตั้ง Pro/DESKTOP • ศึกษาสวนประกอบเครื่องมือและ คําสั่งควบคุม หนวยที่ 3: การฝกปฏิบัติการใชเมนู • การใชเมนูพื้นฐาน • ฝกปฏิบัติสรางงานและบันทึกชิ้นงาน หนวยที่ 4: การฝกปฏิบัติการใชเครื่องมือของโปรแกรม Pro/DESKTOP • วิธีการใชเครื่องมือ • ฝกปฏิบัติการสรางชิ้นงาน หนวยที่ เนื้อหาสาระ จํานวนคาบ 1 ความหมายและความสําคัญในการใชโปรแกรม Pro/DESKTOP 2 2 การติดตั้งโปรแกรม Pro/DESKTOP และศึกษาสวนประกอบ เครื่องมือ และความรูเบื้องตน 8 3 การฝกปฏิบัติการใชเมนู 6 4 การฝกปฏิบัติการใชเครื่องมือโปรแกรม Pro/DESKTOP 10 ขอบขายเนื้อหาสาระภาคเรียนที่ 2 หนวยที่ เนื้อหาสาระ จํานวนคาบ 1 ความรูเบื้องตนกับโปรแกรม Pro/DESKTOP 6 2 การสรางวัตถุทางตัน 2 3 การตัดมุมชิ้นงานลักษณะตาง ๆ 2 4 การตัดมุมของรูปเหลี่ยม 2 5 การปรับเปลี่ยนและเจาะวัตถุทางตัน/การทํารูปโครงราง 2 6 การสรางภาชนะรูปแกว 2 7 การสรางรูปทรงเกลียว (สปริง) /การสรางของอและเจาะรู 2 8 การสรางชิ้นสวนของเครื่องจักร/การตัดมุมวัตถุ 2 9 การสรางชิ้นงานลักษณะบานพับ/การสรางอิฐบล็อค 2 10 การออกแบบลูกกุญแจ/การสรางรูปเกียรอยางงาย 2 11 การสรางแกลลอนพรอมที่จับแบบเจาะ 2 12 การสรางกลองและฝาบานพับ 2 13 การสรางโตะ 2 14 การสรางรูปแบบการเคลื่อนไหว (Animation) 2 15 โครงงานการออกแบบและการสรางโมเดล 4 (พรอมกับการเรียนปกติ) 16 สอบระหวางภาค 2 17 สอบปลายภาค 2 รวม 40
  • 11. โปรดติดตั้ง Flash Player กอน0การใชงาน
  • 12. แถบเครื่องมือมุมมอง Views Toolbar มุมมองตาง ๆ Plan View มุมมองโครงราง Front View มุมมองดานหนา Right View มุมมองดาน View Trimetric มุมมอง 3 มิติ View Onto Face มุมมองพื้นหนา View Isometric View Onto Workplane มุมมองระดับงาน
  • 14.
  • 15. แถบเครื่องมือออกแบบDesign Toolbar แถบเครื่องมือควบคุม Constraints Toolbar Browser Pane Select Lines Select Constraints Select Workplanes Select Edges Select Faces Select Features Select Parts Straigh Circle Rectangle Ellipse Arc/Fillet Spline Delete Line Segment Sketch Dimension Workplane Active Sketch
  • 16. Select Edges เลือกมุม หรือเลือกเสนขอบเพื่อทํางาน Select Faces เลือกดานที่จะทํางาน
  • 17. Round Edges ตัดหรือทําขอบใหมน แบบ Constant Radius กําหนดรัศมีโคงคงที่เทากันทั้ง 2 ดาน 2แบบ Variable Radius กําหนดรัศมีโคงแบบผันแปร หรือไมเทากัน ปรับเปลี่ยนไดหลายสวน 2ลากแลวเลื่อนออกที่จุดสีเขียวเพื่อกําหนดความยาว และจุดเหลืองเพื่อปรับรัศมีโคงมน
  • 18. Chamfer Edges ตัดหรือทําขอบใหเปนเหลี่ยม แบบ Equal setback กําหนดพื้นยอนกลับไปดานละเทา ๆ กัน 2แบบ UnEqual setback กําหนดพื้นที่ยอนกลับไปแบบไมเทากันในแตละดาน
  • 19. แบบ Angle setback กําหนดพื้นที่ยอนกลับไปโดยการกําหนดดาน และมุม 2ดังรูปดานลาง
  • 20. แบบฝกหัด จงดัดแปลงลูกบาศกสี่เหลี่ยม ใหเปนทรงแปดเหลี่ยม นําลูกบาศกสําเร็จรูปจาก Palette มาวางบน Workplane 1. คลิกที่ขอบของลูกบาศกดานที่ตองการตัดเหลี่ยม แลวกําหนดคา Setback ตามตองการ 2. ทําจนครบดานที่ตองการ จะไดลูกบาศกตามภาพดานลาง
  • 21. Shell Solids เจาะวัตถุทําขอบสูง แบบ Inside เจาะวัตถุจากพื้นที่ดานในออกสูดานนอกใหเปนพื้นที่กวง ผลที่ไดดังรูปดานบน
  • 23. Extrude Profile กําหนดความหนา สรางฐาน 2 2แบบ Above work plane สรางฐานเขาหาระดับงาน 2แบบ Below work plane สรางฐานผลักออกจากระดับงาน
  • 25. แถบเครื่องมือในหนาตาง Engineering Drawing Drawing Commands Select Annotations A Features F Views V Add Connected Lines Ctrl + E Synchronize Browser Shift + B Center Line Common Plane Common Axis Mid-Plane Pitch Circle Center Points Phantom Intersection Dimension Linear Angular Diametric Radial Note Geometric Tolerance Datum Feature Design Variables Surface Finish Part Reference Balloon Insert Callout Note Insert Move Callout L/R/Up/Down Arrows Start New Line Enter Shoulder Right Ctrl + Right Arrow Shoulder Left Ctrl + Left Arrow Drawing Update Views F5 New Sketch Ctrl + K Hide Other Sketches Ctrl + H Table Cycle Row Up Shift + Up Arrow Cycle Row Down Shift + Down Arrow Cycle Column Left Shift + Left Arrow Cycle Column Right Shift + Right Arrow
  • 26. คําสั่งปกติ General Commands File New Ctrl + N Open Ctrl + O Save Ctrl + S Print Ctrl + P Edit Undo Ctrl + Z Cut Ctrl + X Copy Ctrl + C Paste Ctrl + V Delete Delete Select All Ctrl + A Duplicate Ctrl + D Properties Alt + Enter Pick Up Properties Ctrl + Shift + C Apply Properties Ctrl + Shift + V View Auto Scale Shift + A Auto scale Selection Shift + S Half Scale Shift + H Zoom In Shift + Z Manipulate Space Wire Frame F9 Shaded F10 Transparent F11 Enhanced F12 View>Go To Isometric Shift + I, Home Trimetric Shift + T, End Plan Shift + P Front Elevation Shift + N Right Elevation Shift + R Onto Face Shift + F Onto Work plane Shift + W Previous Alt + Left Arrow Next Alt + Right Arrow View>Rotate Spin Left/Right Left/Right Arrow Tilt Up/Down Up/Down Arrow Turn Counter Clockwise Page Up Turn Clockwise Page Down Tumble Shift + U Tools Variables Alt + 1 Design Rules Alt + 2 Configurations Alt + 3
  • 27. Tools>Macro Record New Marco Stop Recording Marcos Alt + F8 Resume Marco I> Alt + F9 Visual Basic Editor Alt + F11 Special Control Features Keystroke + Selection = Action Shift Modifying end point of a line Extend or trim a line Shift Straight line being created Parallel to workplane axis Double Click Object not on active plane Activities its sketch Double Click Selected object Open properties dialog box Ctrl + Double Click Object Select feature & sync browser Esc New Object Open selection command Shift Section or projected view View will align to its principal view Shift Add note Note is placed without leader Shift Radial dimension Diameter dimension is placed Shift Angular dimension Major angle is dimensioned Mouse Items Manipulate Scene Spacebar (On/Off) - Hold down Left mouse button to Rotate in 3 dimensions - Shift + Hold down Left mouse button to drag/adjust position on screen - Shift + Ctrl + Hold down Left mouse button to Rotate in one plane Zoom in/out Scroll Wheel on mouse Rotate Scroll Wheel to enlarge or reduce scale เพิ่มเติมการใช เมาสรวมกับโปรแกรม 1. เมาส ปุมซายใชสําหรับคลิกเลือก 2. เมาส ปุมขวาใชเพื่อเลือกใช Pop – Up 3. เมาส ปุมกลางใชในการแทน Enter, และสิ้นสุดคําสั่ง 4. กดปุมกลางคางไวเปนการ Spin ภาพที่หนาจอ 5. กดปุม Ctrl + ปุมกลางที่ เมาสคางไวเทากับ zoom ภาพที่หนาจอ 6. กดปุม Shift + ปุมกลางที่เมาสคางไวเทากับจับภาพที่หนาจอ 7. กดเลื่อน scroll เมาส เปนการ Zoom Out ภาพ
  • 28. เริ่มตนใชงาน คําแนะนํา การใช เครื่องหมายสัญลักษณ การใช เครื่องหมายสัญลักษณ จะเขียน สัญลักษณ (Icon) พรอม ชื่อสัญลักษณ กํากับไว เชน Icon นี้ ชื่อ New Design เขียนกํากับไว ในกรณีบางรูปไมชัดเจน หรือรูปขาวดํามีลักษณะ เดียวกัน จะไดใช Icon ไดถูกตอง การเปดชิ้นงานใหม : New Design 1. คลิกเมาสที่ (New Design) เปนชื่อเรียก ของ Icon เขียนกํากับเพื่อวา รูปไมชัด หรือรูป ขาวดํามีลักษณะเดียวกัน ) เพื่อเปดชิ้นงานใหม 2. ปรับหนาตางใหใหญที่สุด 3. ตรงสวนนี้สามารถเลือกการทํางานหรือแกไขในงาน พื้นที่ทํางาน :Workplanes 4. นักเรียนจะตองมีความรูเบื้องตนในเรื่องของ สิ่งประดิษฐหรืองาน ที่อยูใน Workplanes และ New Sketches 5. คลิก เพื่อแสดงใหเห็น Workplanes ทั้ง 3 ดานที่อยูใน Pro/DESKTOP. 6. ในทุก ๆ Base Workplane จะมี New Sketch อยู การเลือกทํางานใน Workplane อื่น ให คลิกที่เสนกรอบของ Workplane โดยเสนกรอบจะเปลี่ยนเปนสีเหลืองและสีแดง > คลิกขวา ที่เมนูเลือก New Sketch หรือไปที่ Workplane > New Sketch Base Workplane จะมีกรอบโครงราง ที่เรียกวา Initial ซึ่งกําหนดใหเปนคา เริ่มตนแสดงใหเห็นดานบนของงาน Lateral Workplane จะแสดงใหเห็น ดานขางของงาน Frontal Workplane จะแสดงใหเห็น ดานหนาของงาน
  • 29. 7. เปลี่ยนชื่อ New Sketch ใหมีความหมายสอดคลองการงานที่ทํา 8. OK ใหคลิกที่เสนกรอบของ Workplane จะ เปลี่ยนเปนสีเหลืองและ สีแดง คลิกขวา เลือก New sketch เปลี่ยนชื่อ ชื่อ New Sketch ที่ตั้งใหมจะเปนตัวหนา Base Workplane จะมี Initial เปน Sketch ที่ โปรแกรมกําหนดไว เมื่อเปด Workplane ใหม สามารถสราง Sketch ใหมโดยคลิกขวา
  • 30. การจัดเก็บแฟมขอมูลลงดิสก การจัดเก็บแฟมขอมูลในดิสกอื่น เชนแผนดิสก สามารถทําไดเหมือนปกติ ทุกแฟมขอมูลที่ทํา ใน Pro/DESKTOP ใน Assembly design เปนที่งานประกอบดวย ชิ้นงานหลายชิ้นงาน เมื่อจัดเก็บ แฟมหลัก จะจัดเก็บเฉพาะสวนที่เชื่อมโยงกับไฟลยอย ทําใหไฟลที่จัดเก็บเล็ก คลายกับe-mail การแกไขและปรับเปลี่ยน Features 1. Features สามารถแกไขและเปลี่ยนขอผิดพลาดจากการกําหนดคาที่ผิดได โดย - ที่เมนู Browser เลือก Features - คลิกขวาที่ Feature > เลือก Redefine จากเมนู 2. แกไขแลว > OK 3. คลิก (Update Icon) ทุกครั้งที่มีการแกไข
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46.
  • 47. .
  • 48.
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55.
  • 57. 7. ใชแถบเครื่อง Line วาดเสนหมวกครึ่งลูก