SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
บริษัท ไทย 
สมุทรประกัน 
ชีวิต 
จำำกัด 
มหำชน
นำำเสนอโดย 
นำงสำวนิออน จันทร์ 
ทำมูล 
รหัสนักศึกษำ 
57334324 
สำขำวิชำ กำรจัดกำร 
หมู่เรียน จก.57.บ4.003
โลโก้ของบริษัท ไทยสมุทรประกัน 
ชีวิต จำำกัด มหำชน
ประวัติของบริษัท ไทยสมุทรประกัน 
ชีวิต จำำกัด มหำชน ก่อตั้งเมื่อวันที่ 11 มกรำคมพ.ศ. 2492 โดย คุณชิน อัสสกุล และคณะภำยใต้ 
ชื่อ บริษัท ไทยสมุทรพำณิชย์ประกันภัย จำำกัด โดยกำรให้ บริกำรด้ำนประกัน 
วินำศภัยเท่ำนั้น ในปี พ.ศ. 2492 บริษัทฯ ได้รับใบอนุญำตดำำเนินธุรกิจประกันชีวิต 
เพิ่มขึ้น ทำำให้บริษัทฯ 
เริ่มออกกรมธรรม์ ประเภท อุตสำหกรรมซึ่งมีทุนประกันตำ่ำ เพื่อเปิดโอกำสให้ผู้มี 
รำยได้น้อยสำมำรถทำำประกันชีวิตได้ ต่อมำ คุณกฤษณ์ อัสสกุลได้เข้ำมำ บริหำร 
งำนในตำำแหน่งกรรมกำรผู้จัดกำร และคุณโชติ อัสสกุล เป็นประธำนกรรมกำร ซึ่ง 
เป็นกำำลัง สำำคัญในกำรปฏิรูปกำรบริหำรงำนทำำให้ไทยสมุทรประกันชีวิต 
แข็งแกร่ง เติบโตจวบจนปัจจุบัน ลักษณะเด่น ที่สำำคัญของบริษัทฯ คือ กำรที่ 
บริษัทฯ ให้ควำมสำำคัญกับตลำดรำกหญ้ำ จนทำำให้ ปัจจุบันบริษัทฯ มีส่วนแบ่งตลำด 
ของกรมธรรม์ประเภทอุตสำหกรรมสูงสุดกว่ำร้อยละ และ มีลูกค้ำทั่วประเทศถือ 
กรมธรรม์ของบริษัทฯ สูงถึง 2 ล้ำนรำย ในปี พ.ศ. 2543 บริษัทฯ ได้แยก ธุรกิจ 
ประกันวินำศภัย และธุรกิจประกันชีวิตออกจำกกัน และเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น 
บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำำกัด และเมื่อเดือนกรกฎำคม 2551 บริษัทฯ ได้ทำำ 
สัญญำ กำรเป็นพันธมิตรทำงธุรกิจกับ บริษัท ไดอิจิ มิลชวลไลฟ์ อินชัวรันส์ จำำกัด 
ซึ่งเป็นบริษัท ประกันชีวิตที่มีชื่อเสียงเป็นอันดับสำมในอุตสำหกรรมประกันชีวิตของ 
ประเทศญปีุ่่น ถือหุ้นของบริษัทฯ ร้อยละ 24 
ต่อมำเมื่อวันที่ 10 กรกฎำคม 2555 บริษัทได้จดทะเบียนแปรสภำพเป็นบริษัท 
มหำชนจำำกัดภำยใต้ชื่อ บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำำกัด (มหำชน) หรือ 
OCEAN LIFE INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED โดยกำรแปรสภำพ 
บริษัทครั้งนี้ เพื่อให้เป็นไปตำมที่กฎหมำยกำำหนด บริษัทฯ ยังคงยึดมั่นใน
วิสัยทัศน์ 
ก้ำวสู่บริษัทประกันชีวิตอันดับ 1 ใน 5 
ภำยในปี 2560 
ทำำให้กำรประกันชีวิตเป็นเรื่องง่ำย ด้วย 
ผลิตภัณฑ์และกำรบริกำรอย่ำงมืออำชีพที่ 
ครอบคลุมทุกตำำบล พร้อมเติบโตอย่ำง 
ยั่งยืนกับลูกค้ำในทุกช่วงชีวิตเป็นเสมือน 
บ้ำนหลังที่สองของตัวแทนและพนักงำนทุก 
คน
ลักษณะการประกอบธุรกิจ 
บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำากัด (มหาชน) ดำาเนินธุรกิจประกันชีวิต โดย 
การนำาเงินทรี่ะดมได้จากการขายกรมธรรม์ไปลงทุน เพื่อแสวงหาผลตอบแทนสูงสุด 
ภายใต้การบริหารความเสี่ยงในระดับที่เหมาะสมและยอมรับได้ เพอื่นำาเงินไปจ่าย 
คืนให้กับผู้เอาประกันภัย หรือผู้รับผลประโยชน์ตามจำานวนเงินเอาประกันภัยที่ 
กำาหนดไว้ในเงื่อนไขกรมธรรม์ซึ่งเงื่อนไขความคุ้มครองจะมีหลายรูปแบบ ขนึ้อยกูั่บ 
ความเหมาะสม และความต้องการของผู้เอาประกันภัยเป็นสำาคัญด้านประกันชีวิต 
บริษัทมีการให้บริการลูกค้าครบวงจรทั้งในด้านกรมธรรม์ประเภทสามัญ 
อุตสาหกรรม อุบัติเหตุส่วนบุคคล รวมถึงการประกันชีวิตประเภทกลุ่ม การประกัน 
ชีวิตสำาหรับข้าราชการและองค์กร และสัญญาเพิ่มเติมกรมธรรม์ อาทิ การคุ้มครอง 
สุขภาพ การคุ้มครองอุบัติเหตุ การคุ้มครองโรคมะเร็งสัญญาเพิ่มเติมค่าชดเชยราย 
ได้เนื่องจากการเจ็บป่วย หรือประสบอุบัติเหตุ การคุ้มครองทุพพลภาพ การคุ้มครองผู้ 
ชำาระเบี้ย โดยมีช่องทางการขายผ่านตัวแทนประกันชีวิตเป็นช่องทางหลักช่องทาง 
ขายผ่านสถาบันการเงิน ช่องทางองค์กร ช่องทางโทรศัพท์ และนายหน้า เป็นช่อง 
ทางรอง ด้านลงทุน 
บริษัทฯ ดำาเนินธุรกิจโดยจัดสรรเงินไปลงทุนในสินทรัพย์ประเภทต่าง ๆ ได้แก่ 
1. ตราสารหนี้ระยะยาวทใี่ห้ผลตอบแทนคงททีั่้งของภาครัฐ และภาคเอกชน ซึ่งเป็น 
ตราสารที่มีความเสี่ยงตำ่าโดยการลงทุนส่วนใหญ่จะเป็นการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล 
และรัฐวิสาหกิจ 
2. ในส่วนของการลงทุนตราสารหนี้ภาคเอกชน บริษัทได้ลงทุนโดยเน้นถึงความมั่นคง 
ทางการเงิน ความสามารถในการชำาระหนี้สำาหรับหลักทรัพย์ทเี่ป็นเงินตราต่าง 
ประเทศ 
• บริษัทได้มีการทำาการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนไว้แล้วทั้งจำานวน
ปัจจัยความเสยี่งและการบริหาร ความ 
บริษเัทส ไทยี่ยสงมุทขรปอระกงันบชีวิรต จิษำากัทัด (ม หาชน) มีความเข้าใจและตระหนัก ถึงการดำาเนินงานภาย 
ใต้ปัจจัยแวดล้อมทางเศรษฐกิจ และความเสี่ยงอื่นๆ 
ที่อาจจะเกิดขึ้น หรือมีการเปลี่ยนแปลงได้อยา่งรวดเร็วทั้งในเชิงบวกและลบ รวมทั้งการแข่งขัน กฎ 
ระเบียบ และข้อบังคับของหน่วยงานควบคุมที่สามารถ 
ส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจของบริษัท การมีระบบการบริหารความ เสี่ยงที่ดีจึงนับเป็นสิ่ง 
สำาคัญในการกำาหนดกลยุทธ์โดยรวมและเป็นส่วนหนึ่ง ของการกำากับดูแลกิจการที่ดี 
1. บริษัทกำาหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงในแต่ละด้าน ให้ครอบคลุม ตั้งแต่การกำาหนด 
วัตถุประสงค์ การระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การควบคุมและติดตามความเสี่ยง 
2. การรายงานผลการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนวิธีการจัดการเพื่อควบคุมให้ความเสี่ยงอยู่ในระดับ 
ที่ยอมรับได้ รวม ทั้งการบริหารความเสี่ยงเป็นหน้าที่ของผบู้ริหารทุกระดับในองค์กร 
3. และเพื่อ ให้กระบวนการบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล 
ความเพียงพอของเงินกองทุนที่ต้องดำารงตามกฎหมาย 
ในปี 2556 ระดับความเพียงพอเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับไม่ตำ่ากว่า ร้อยละ140 ตาม 
เกณฑ์การดำารงเงินกองทุนตามกรอบ RBC (Risk Based Capital) ของสำานักงานคณะ 
กรรมการกำากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย (คปภ.) ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือน 
กันยายน 2554 และในปี 2556 บริษัทได้กำาหนดระดับความเพียงพอเงินกองทุนของบริษัทไว้ 
ไม่น้อย กว่าร้อยละ140 ตามเกณฑ์ของ คปภ. หากพิจารณาปัจจัยความเสี่ยงหลักที่มีผลต่อการ 
บริหารเงินกองทุนคือ ความเสี่ยงด้านตลาดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยซึ่งมีผลต่อการ 
เปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสดของทรัพยส์ินและหนี้สิน ประกอบกับข้อจำากัด ของปริมาณของ 
ทรัพย์สินลงทุนและอายขุองทรัพย์สินลงทุนที่แตกต่างกับภาระ ผูกพันที่บริษัทมีต่อผู้เอาประกัน 
ทำาให้บริษัทให้ความสำาคัญกับการบริหารทรัพยส์ินและหนี้สิน (Asset Liability 
Management) และเงินกองทุนให้ได้ ประสิทธิภาพสูงสุดโดยการบริหารสินทรัพย์ หนี้สิน ภาระ
ปัจจุบันบริษัทฯ ดำาเนินธุรกิจให้บริการด้านสินเชื่อแก่ลูกค้า และประชาชนทวั่ไป 
ได้แก่ 
• สินเชื่อเพื่อธุรกิจ โดยให้บริการเงินกู้ยืมและรับอาวัลตั๋วสัญญาใช้เงิน โดยมี 
อสังหาริมทรัพย์จำานองเป็นประกัน อาทิ อพาร์ทเม้นท์ โรงแรม 
หมบู่้านจัดสรร อาคารพาณิชย์ อาคารชุด ศูนย์การค้า อุตสาหกรรมขนาดย่อม 
เงินกู้เพื่อหมุนเวียนการค้า ฯลฯ และมีความพร้อมให้ลูกค้าเลือกใช้อัตรา 
ดอกเบี้ยแบบคงที่ในระยะยาวได้ด้วย 
• สินเชื่อเพื่อทอี่ยู่อาศัย ให้แก่ลูกค้าในเขตกรุงเทพ และปรมิณฑล โดยลูกค้า 
สามารถเลือกเงื่อนไขดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ย แบบลอยตัวหรืออัตราดอกเบี้ย 
แบบคงที่ระยะยาวก็ได้ 
• สินเชื่อเช่าซอื้รถยนต์ การให้บริการสินเชื่อเช่าซอื้รถยนต์ของบริษัทฯ 
ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของลูกค้า 3 ด้านได้แก่ 
- ลูกค้าที่ต้องการเช่าซื้อรถยนต์จากผู้ประกอบการค้ารถยนต์ ซึ่งบริษัทฯมีคู่ 
ค้ารถยนต์ชั้นดีมากกว่า 100 รายในเขตกรุงเทพและ 
ปริมณฑลที่เป็น พันธมิตรพร้อมที่จะให้บริการด้วยความสะดวกรวดเร็ว 
- ลูกค้าที่ต้องการเช่าซื้อรถยนต์จากบุคคลทั่วไปที่ไม่ใช่ผู้ประกอบการค้า 
รถยนต์ ซงึ่จะได้รับคำาแนะนำาทเี่ป็นประโยชน์ลดความเสี่ยง 
ในการซอื้รถยนต์ 
- ลูกค้าที่ต้องการขอเช่าซอื้รถยนต์ของตนเองเพื่อต้องการใช้เงินหมุนเวียน 
ภายใต้เงื่อนไขการให้เช่าซื้อที่เป็นธรรม
ขอบเขตธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทฯ ถูกจำากัดและอยู่ภายใน 
นกรอบของ พรบ.ประกันชีวิต ซึ่งสามารถดำาเนินการธุรกจิด้าน 
อสังหาริมทรัพย์ได้ ดังนี้ 
• อสังหาริมทรัพย์ที่บริษัทฯ จะขออนุมัติ สำานักงานคณะกรรมการกำากับ 
และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) พัฒนาโครงการเพื่อ 
ให้เช่า หรือจำาหน่าย 
• การรับโอนอสังหาริมทรัพย์ที่จดจำานองเป็นหลักประกันเงินกู้เพื่อชำาระ 
หนี้สิน ซึ่งทำาให้บริษัทฯ มีทรัพย์สินที่เป็นที่ดิน, ที่ดินและอาคารทั้งที่ 
เป็นอาคารพาณิชย์ และ ที่อยู่อาศัย ซึ่งบริษัทฯ จะจำาหน่ายในราคาที่ 
เหมาะสม
ในการดำาเนินธุรกิจของบริษัทฯนั้น บริษัทฯ เชื่อมั่นว่าบุคลากรได้แก่ 
ผู้บริหาร พนักงาน และตัวแทนเป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุด และเป็นหัวใจ 
สำาคัญในการขับเคลื่อนธุรกจิของบริษัทฯ ดังนั้น บริษัทฯ จึงให้ความสำาคัญ 
และพิถีพิถันในการสรรหาบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ 
ที่เหมาะสมให้เข้ามาร่วมงาน ตลอดจน ดูแล รักษาคนเก่งและคนดีให้คงอยู่ 
กับบริษัทฯ เสริมสร้างและปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กร หรือค่านิยมร่วมให้ 
บุคลากรเป็นคนเก่ง และคนดี มีจิตสำานึกด้านจริยธรรม คุณธรรม ยึดมั่น 
หลักบรรษทัภิบาลในการประกอบธุรกิจและรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทฯ มุ่ง 
เน้นในการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ อย่างสมำ่าเสมอ และ 
ต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ มีความเป็นผู้นำา มีศักยภาพที่พร้อม 
สำาหรับการปฎิบัติหน้าที่ของตน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง เพื่อรองรับการ 
เติบโตของธุรกิจในอนาคต นอกจากนี้บริษัทฯ ยังส่งเสริมและสนับสนุนใน 
การสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการทำางานให้ผปู้ฏิบัติงาน กล้า 
คิด กล้าทำา กล้าริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ ทำางานเป็นทีม และมีสำานึกแห่งความเป็น 
เจ้าของ สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ และการจัดการความรู้ในหน่วยงานให้ 
เป็นศูนย์กลางข้อมูล เพื่อให้นำาไปใช้งานทั่วทั้งองค์กร ตลอดจนส่งเสริม 
และพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากรให้ทำางานร่วมกันอย่างมีความสุข มีความ 
รัก ความผูกพันต่อองค์กร และมีความภาคภูมิใจในอาชีพของตน
ผลการดำาเนินงาน
64 ปี ไทยสมุทรประกันชีวิตจากคำาสัญญาที่ยึด 
มนั่...สกู่ารเป็น “เพื่อนคชูี่วิต...ตลอดไป” ไทยสมุทรประกันชีวิต บริษัทประกันชีวิตที่เปี่ยมด้วยประสบการณ์ด้านการประกันชีวิตที่ครบวงจรมาตลอด 
64 ปี ดำาเนินธุรกิจโดยยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล 
และเพิ่มพูนประสบการณ์ทางธุรกิจอย่างต่อเนื่องตลอดมา 
พ.ศ. 2492 เปิดประวัติศาสตร์หน้าแรกของ “ไทยสมุทรฯ” 
ก่อตั้งโดยคุณชิน อัสสกุล และคณะ เริ่มเปิดดำาเนินกิจการครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2492 ในชื่อ 
บริษัท ไทยสมุทรพาณิชย์ ประกันภัย จำากัด 
พ.ศ. 2494 ขยายการให้บริการด้านประกันชีวิต 
ได้รับใบอนุญาตดำาเนินกิจการด้านประกันชีวิตเพิ่มขึ้น จากระยะแรกที่ให้บริการด้านประกันวินาศภัยเพียง 
เท่านั้น 
พ.ศ. 2496 บททดสอบแรกในการฝ่าวิกฤต “ไทยสมุทรฯ” 
คุณกฤษณ์ อัสสกุล “บิดาแห่งไทยสมุทร” เข้ามากอบกู้ภาวะวิกฤตของบริษัทฯ จนทำาให้ผ่านพ้นไปได้ 
พ.ศ. 2497 ก้าวสู่จุดเปลี่ยนสำาคัญ 
ไทยสมุทรฯ ให้บริการด้านการประกันชีวิตแบบอุตสาหกรรม ซึ่งตรงกับความต้องการของตลาดในขณะ 
นั้นส่งผลให้บริษัท เติบโตขึ้นเป็นลำาดับ 
พ.ศ. 2504 กระจายสาขาสู่ภูมิภาค พร้อมพัฒนาศักยภาพบุคลากรและตัวแทน 
ไทยสมุทรได้ขยายสาขาทั่วประเทศจำานวน 23 แห่ง พร้อมก่อตั้งศูนย์ฝึกอบรมพนักงาน ณ อ.ปากช่อง 
จ.นครราชสีมา ปัจจุบันคือ “ศูนย์อบรมไทยสมุทรเขาใหญ่” 
พ.ศ. 2543 ก้าวสู่วันใหม่ “ไทยสมุทรประกันชีวิต” 
เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ.2535 บริษัทฯ ได้แยกธุรกิจประกันวินาศภัย และธุรกิจ 
ประกันชีวิต ออกจากกัน และได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำากัด 
พ.ศ. 2551 ผนวกกำาลังสู่ความเป็นหนึ่ง
พ.ศ. 2553 เดินหน้าบริหารงานโดยนักบริหารมอือาชีพ ภายใต้ความโปร่งใส 
คุณนุสรา (อัสสกุล) บัญญัติปิยพจน์ ก้าวสู่ตำาแหน่งกรรมการผู้จดัการบริษัท ฯ บริหารงานด้วยความรู้ 
ความสามารถและ ประสบการณร์อบด้าน เน้นหลักธรรมาภิบาล พิสจูน์ได้ด้วยรางวลัโล่ประกาศ 
เกียรติคุณจรรยาบรรณดีเด่นหอการค้าไทยประจำา ปี 2553 ANNUALREPORT I 152 
พ.ศ. 2554 รับรางวัลแห่งความภูมใิจ 
ไทยสมทุรฯ ได้รับรางวัล บริษัทประกันชีวติที่มกีารบริหารงานดีเด่น ชมเชย ประจำาปี 2553 และรางวัล 
ตัวแทนประกัน ชีวิตคุณภาพดีเด่น ประจำาปี 2553 จากสำานักงานคณะกรรมการกำากับและสง่เสริม 
การประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ซึ่งสะท้อนประสิทธิภาพในด้านการบริหารองค์กรและคุณภาพ 
ของตัวแทนประกันชีวิต 
พ.ศ. 2555 เติบโตอยา่งยั่งยืน พร้อมแปรสภาพเป็น บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำากัด (มหาชน) 
ตามนโยบายของภาครัฐภายใต้ พ.ร.บ.ประกันชีวิต กำาหนดให้บริษัทประกันชีวิตทกุแห่งต้องแปรสภาพ 
เป็นบริษัทมหาชนจำากัด (บมจ.) ดังนั้นในวันที่ 10 กรกฎาคม 2555 บริษัท ไทยสมทุรประกันชีวิต 
จำากัด จึงได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัท มหาชน ใช้ชื่อว่า บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำากัด 
(มหาชน) 
รับรางวลัการันตีคุณภาพต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ไทยสมุทรฯ รับรางวัลบริษัทประกันชีวิตทมีี่การบริหารงานดี 
เด่น ชมเชย ประจำาปี 2554 และรางวัลตัวแทนประกันชีวิตคุณภาพดีเด่นประจำาปี 2554 จาก 
สำานักงานคณะกรรมการกำากับและสง่ เสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ต่อเนื่องเป็นปีที่2 
พ.ศ. 2556 พฒันาก้าวไกล...ผนึกสายสมัพนัธ์แนบแน่น 
งาน THE PROSPERITY OF SYNERGY ถูกจัดขนึ้เพอื่เฉลิมฉลองวาระครบรอบ 5 ปี ความร่วมมือทาง 
ธุรกิจระหว่าง บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำากัด (มหาชน) กับ บริษัท ไดอิจิ ไลฟ์ อินชัวรันส์ 
จำากัด แสดงให้เห็นถึงความสมัพันธ์อันแนบ แน่น ทนี่ำามาซึ่งความเจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง 
รับรางวลับริษัทประกันชีวิตทมีี่การพัฒนาดีเด่น ประจำาปี 2555 ในโครงการมอบรางวัลประกันภัยดีเด่น 
ครบวงจรประจำา ปี 2555 จากการคัดเลือกจากสำานักงานคณะกรรมการกำากับและสง่เสริมการ 
ประกอบธุรกิจประกันภัย คปภ
วีดีโอโฆษณาตัวอย่าง
วีดีโอโฆษณาตัวอย่าง
วีดีโอโฆษณาตัวอย่าง
วีดีโอโฆษณาตัวอย่าง
วีดีโออบรมพนักงานขาย
วีดีโอสัมภาษณ์ผู้จัดการ
บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต ส่งอาจารย์.Pptx

More Related Content

Similar to บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต ส่งอาจารย์.Pptx

Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurWirawat Lian-udom
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลยthnaporn999
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
นักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญา
นักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญานักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญา
นักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญาinnoobecgoth
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1praphol
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1Tn' Nam
 
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจการวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจguest530b
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexPeerasak C.
 
19 การทำงานเชิงรุก
19 การทำงานเชิงรุก19 การทำงานเชิงรุก
19 การทำงานเชิงรุกHIPO_Training
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1Rim Wattanaree
 

Similar to บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต ส่งอาจารย์.Pptx (20)

Csr
CsrCsr
Csr
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
Singha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course EntrepreneurSingha Biz Course Entrepreneur
Singha Biz Course Entrepreneur
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
 
7 eleven
7 eleven7 eleven
7 eleven
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
นักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญา
นักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญานักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญา
นักธุรกิจน้อย คิดประดิษฐ์ ต่อยอด สร้างทรัพย์สินทางปัญญา
 
อาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจอาชีพของนักธุรกิจ
อาชีพของนักธุรกิจ
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
01 businessfinance v1
01 businessfinance v101 businessfinance v1
01 businessfinance v1
 
ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1ประวัติ True อีก1
ประวัติ True อีก1
 
#2 edward jones
#2 edward jones#2 edward jones
#2 edward jones
 
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจการวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
การวิเคราะห์ความยั่งยืนในธุรกิจ
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
 
19 การทำงานเชิงรุก
19 การทำงานเชิงรุก19 การทำงานเชิงรุก
19 การทำงานเชิงรุก
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1
เอกสารประกอบการเรียนรู้ที่1
 
Presentation งานกลุ่ม1
Presentation งานกลุ่ม1Presentation งานกลุ่ม1
Presentation งานกลุ่ม1
 

บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต ส่งอาจารย์.Pptx

  • 1. บริษัท ไทย สมุทรประกัน ชีวิต จำำกัด มหำชน
  • 2. นำำเสนอโดย นำงสำวนิออน จันทร์ ทำมูล รหัสนักศึกษำ 57334324 สำขำวิชำ กำรจัดกำร หมู่เรียน จก.57.บ4.003
  • 4. ประวัติของบริษัท ไทยสมุทรประกัน ชีวิต จำำกัด มหำชน ก่อตั้งเมื่อวันที่ 11 มกรำคมพ.ศ. 2492 โดย คุณชิน อัสสกุล และคณะภำยใต้ ชื่อ บริษัท ไทยสมุทรพำณิชย์ประกันภัย จำำกัด โดยกำรให้ บริกำรด้ำนประกัน วินำศภัยเท่ำนั้น ในปี พ.ศ. 2492 บริษัทฯ ได้รับใบอนุญำตดำำเนินธุรกิจประกันชีวิต เพิ่มขึ้น ทำำให้บริษัทฯ เริ่มออกกรมธรรม์ ประเภท อุตสำหกรรมซึ่งมีทุนประกันตำ่ำ เพื่อเปิดโอกำสให้ผู้มี รำยได้น้อยสำมำรถทำำประกันชีวิตได้ ต่อมำ คุณกฤษณ์ อัสสกุลได้เข้ำมำ บริหำร งำนในตำำแหน่งกรรมกำรผู้จัดกำร และคุณโชติ อัสสกุล เป็นประธำนกรรมกำร ซึ่ง เป็นกำำลัง สำำคัญในกำรปฏิรูปกำรบริหำรงำนทำำให้ไทยสมุทรประกันชีวิต แข็งแกร่ง เติบโตจวบจนปัจจุบัน ลักษณะเด่น ที่สำำคัญของบริษัทฯ คือ กำรที่ บริษัทฯ ให้ควำมสำำคัญกับตลำดรำกหญ้ำ จนทำำให้ ปัจจุบันบริษัทฯ มีส่วนแบ่งตลำด ของกรมธรรม์ประเภทอุตสำหกรรมสูงสุดกว่ำร้อยละ และ มีลูกค้ำทั่วประเทศถือ กรมธรรม์ของบริษัทฯ สูงถึง 2 ล้ำนรำย ในปี พ.ศ. 2543 บริษัทฯ ได้แยก ธุรกิจ ประกันวินำศภัย และธุรกิจประกันชีวิตออกจำกกัน และเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็น บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำำกัด และเมื่อเดือนกรกฎำคม 2551 บริษัทฯ ได้ทำำ สัญญำ กำรเป็นพันธมิตรทำงธุรกิจกับ บริษัท ไดอิจิ มิลชวลไลฟ์ อินชัวรันส์ จำำกัด ซึ่งเป็นบริษัท ประกันชีวิตที่มีชื่อเสียงเป็นอันดับสำมในอุตสำหกรรมประกันชีวิตของ ประเทศญปีุ่่น ถือหุ้นของบริษัทฯ ร้อยละ 24 ต่อมำเมื่อวันที่ 10 กรกฎำคม 2555 บริษัทได้จดทะเบียนแปรสภำพเป็นบริษัท มหำชนจำำกัดภำยใต้ชื่อ บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำำกัด (มหำชน) หรือ OCEAN LIFE INSURANCE PUBLIC COMPANY LIMITED โดยกำรแปรสภำพ บริษัทครั้งนี้ เพื่อให้เป็นไปตำมที่กฎหมำยกำำหนด บริษัทฯ ยังคงยึดมั่นใน
  • 5. วิสัยทัศน์ ก้ำวสู่บริษัทประกันชีวิตอันดับ 1 ใน 5 ภำยในปี 2560 ทำำให้กำรประกันชีวิตเป็นเรื่องง่ำย ด้วย ผลิตภัณฑ์และกำรบริกำรอย่ำงมืออำชีพที่ ครอบคลุมทุกตำำบล พร้อมเติบโตอย่ำง ยั่งยืนกับลูกค้ำในทุกช่วงชีวิตเป็นเสมือน บ้ำนหลังที่สองของตัวแทนและพนักงำนทุก คน
  • 6.
  • 7. ลักษณะการประกอบธุรกิจ บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำากัด (มหาชน) ดำาเนินธุรกิจประกันชีวิต โดย การนำาเงินทรี่ะดมได้จากการขายกรมธรรม์ไปลงทุน เพื่อแสวงหาผลตอบแทนสูงสุด ภายใต้การบริหารความเสี่ยงในระดับที่เหมาะสมและยอมรับได้ เพอื่นำาเงินไปจ่าย คืนให้กับผู้เอาประกันภัย หรือผู้รับผลประโยชน์ตามจำานวนเงินเอาประกันภัยที่ กำาหนดไว้ในเงื่อนไขกรมธรรม์ซึ่งเงื่อนไขความคุ้มครองจะมีหลายรูปแบบ ขนึ้อยกูั่บ ความเหมาะสม และความต้องการของผู้เอาประกันภัยเป็นสำาคัญด้านประกันชีวิต บริษัทมีการให้บริการลูกค้าครบวงจรทั้งในด้านกรมธรรม์ประเภทสามัญ อุตสาหกรรม อุบัติเหตุส่วนบุคคล รวมถึงการประกันชีวิตประเภทกลุ่ม การประกัน ชีวิตสำาหรับข้าราชการและองค์กร และสัญญาเพิ่มเติมกรมธรรม์ อาทิ การคุ้มครอง สุขภาพ การคุ้มครองอุบัติเหตุ การคุ้มครองโรคมะเร็งสัญญาเพิ่มเติมค่าชดเชยราย ได้เนื่องจากการเจ็บป่วย หรือประสบอุบัติเหตุ การคุ้มครองทุพพลภาพ การคุ้มครองผู้ ชำาระเบี้ย โดยมีช่องทางการขายผ่านตัวแทนประกันชีวิตเป็นช่องทางหลักช่องทาง ขายผ่านสถาบันการเงิน ช่องทางองค์กร ช่องทางโทรศัพท์ และนายหน้า เป็นช่อง ทางรอง ด้านลงทุน บริษัทฯ ดำาเนินธุรกิจโดยจัดสรรเงินไปลงทุนในสินทรัพย์ประเภทต่าง ๆ ได้แก่ 1. ตราสารหนี้ระยะยาวทใี่ห้ผลตอบแทนคงททีั่้งของภาครัฐ และภาคเอกชน ซึ่งเป็น ตราสารที่มีความเสี่ยงตำ่าโดยการลงทุนส่วนใหญ่จะเป็นการลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล และรัฐวิสาหกิจ 2. ในส่วนของการลงทุนตราสารหนี้ภาคเอกชน บริษัทได้ลงทุนโดยเน้นถึงความมั่นคง ทางการเงิน ความสามารถในการชำาระหนี้สำาหรับหลักทรัพย์ทเี่ป็นเงินตราต่าง ประเทศ • บริษัทได้มีการทำาการป้องกันความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนไว้แล้วทั้งจำานวน
  • 8. ปัจจัยความเสยี่งและการบริหาร ความ บริษเัทส ไทยี่ยสงมุทขรปอระกงันบชีวิรต จิษำากัทัด (ม หาชน) มีความเข้าใจและตระหนัก ถึงการดำาเนินงานภาย ใต้ปัจจัยแวดล้อมทางเศรษฐกิจ และความเสี่ยงอื่นๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น หรือมีการเปลี่ยนแปลงได้อยา่งรวดเร็วทั้งในเชิงบวกและลบ รวมทั้งการแข่งขัน กฎ ระเบียบ และข้อบังคับของหน่วยงานควบคุมที่สามารถ ส่งผลกระทบต่อการประกอบธุรกิจของบริษัท การมีระบบการบริหารความ เสี่ยงที่ดีจึงนับเป็นสิ่ง สำาคัญในการกำาหนดกลยุทธ์โดยรวมและเป็นส่วนหนึ่ง ของการกำากับดูแลกิจการที่ดี 1. บริษัทกำาหนดนโยบายการบริหารความเสี่ยงในแต่ละด้าน ให้ครอบคลุม ตั้งแต่การกำาหนด วัตถุประสงค์ การระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การควบคุมและติดตามความเสี่ยง 2. การรายงานผลการบริหารความเสี่ยง ตลอดจนวิธีการจัดการเพื่อควบคุมให้ความเสี่ยงอยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้ รวม ทั้งการบริหารความเสี่ยงเป็นหน้าที่ของผบู้ริหารทุกระดับในองค์กร 3. และเพื่อ ให้กระบวนการบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ความเพียงพอของเงินกองทุนที่ต้องดำารงตามกฎหมาย ในปี 2556 ระดับความเพียงพอเงินกองทุนของบริษัทอยู่ในระดับไม่ตำ่ากว่า ร้อยละ140 ตาม เกณฑ์การดำารงเงินกองทุนตามกรอบ RBC (Risk Based Capital) ของสำานักงานคณะ กรรมการกำากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย (คปภ.) ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือน กันยายน 2554 และในปี 2556 บริษัทได้กำาหนดระดับความเพียงพอเงินกองทุนของบริษัทไว้ ไม่น้อย กว่าร้อยละ140 ตามเกณฑ์ของ คปภ. หากพิจารณาปัจจัยความเสี่ยงหลักที่มีผลต่อการ บริหารเงินกองทุนคือ ความเสี่ยงด้านตลาดจากความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยซึ่งมีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของกระแสเงินสดของทรัพยส์ินและหนี้สิน ประกอบกับข้อจำากัด ของปริมาณของ ทรัพย์สินลงทุนและอายขุองทรัพย์สินลงทุนที่แตกต่างกับภาระ ผูกพันที่บริษัทมีต่อผู้เอาประกัน ทำาให้บริษัทให้ความสำาคัญกับการบริหารทรัพยส์ินและหนี้สิน (Asset Liability Management) และเงินกองทุนให้ได้ ประสิทธิภาพสูงสุดโดยการบริหารสินทรัพย์ หนี้สิน ภาระ
  • 9.
  • 10. ปัจจุบันบริษัทฯ ดำาเนินธุรกิจให้บริการด้านสินเชื่อแก่ลูกค้า และประชาชนทวั่ไป ได้แก่ • สินเชื่อเพื่อธุรกิจ โดยให้บริการเงินกู้ยืมและรับอาวัลตั๋วสัญญาใช้เงิน โดยมี อสังหาริมทรัพย์จำานองเป็นประกัน อาทิ อพาร์ทเม้นท์ โรงแรม หมบู่้านจัดสรร อาคารพาณิชย์ อาคารชุด ศูนย์การค้า อุตสาหกรรมขนาดย่อม เงินกู้เพื่อหมุนเวียนการค้า ฯลฯ และมีความพร้อมให้ลูกค้าเลือกใช้อัตรา ดอกเบี้ยแบบคงที่ในระยะยาวได้ด้วย • สินเชื่อเพื่อทอี่ยู่อาศัย ให้แก่ลูกค้าในเขตกรุงเทพ และปรมิณฑล โดยลูกค้า สามารถเลือกเงื่อนไขดอกเบี้ยในอัตราดอกเบี้ย แบบลอยตัวหรืออัตราดอกเบี้ย แบบคงที่ระยะยาวก็ได้ • สินเชื่อเช่าซอื้รถยนต์ การให้บริการสินเชื่อเช่าซอื้รถยนต์ของบริษัทฯ ครอบคลุมวัตถุประสงค์ของลูกค้า 3 ด้านได้แก่ - ลูกค้าที่ต้องการเช่าซื้อรถยนต์จากผู้ประกอบการค้ารถยนต์ ซึ่งบริษัทฯมีคู่ ค้ารถยนต์ชั้นดีมากกว่า 100 รายในเขตกรุงเทพและ ปริมณฑลที่เป็น พันธมิตรพร้อมที่จะให้บริการด้วยความสะดวกรวดเร็ว - ลูกค้าที่ต้องการเช่าซื้อรถยนต์จากบุคคลทั่วไปที่ไม่ใช่ผู้ประกอบการค้า รถยนต์ ซงึ่จะได้รับคำาแนะนำาทเี่ป็นประโยชน์ลดความเสี่ยง ในการซอื้รถยนต์ - ลูกค้าที่ต้องการขอเช่าซอื้รถยนต์ของตนเองเพื่อต้องการใช้เงินหมุนเวียน ภายใต้เงื่อนไขการให้เช่าซื้อที่เป็นธรรม
  • 11. ขอบเขตธุรกิจด้านอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทฯ ถูกจำากัดและอยู่ภายใน นกรอบของ พรบ.ประกันชีวิต ซึ่งสามารถดำาเนินการธุรกจิด้าน อสังหาริมทรัพย์ได้ ดังนี้ • อสังหาริมทรัพย์ที่บริษัทฯ จะขออนุมัติ สำานักงานคณะกรรมการกำากับ และส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) พัฒนาโครงการเพื่อ ให้เช่า หรือจำาหน่าย • การรับโอนอสังหาริมทรัพย์ที่จดจำานองเป็นหลักประกันเงินกู้เพื่อชำาระ หนี้สิน ซึ่งทำาให้บริษัทฯ มีทรัพย์สินที่เป็นที่ดิน, ที่ดินและอาคารทั้งที่ เป็นอาคารพาณิชย์ และ ที่อยู่อาศัย ซึ่งบริษัทฯ จะจำาหน่ายในราคาที่ เหมาะสม
  • 12. ในการดำาเนินธุรกิจของบริษัทฯนั้น บริษัทฯ เชื่อมั่นว่าบุคลากรได้แก่ ผู้บริหาร พนักงาน และตัวแทนเป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุด และเป็นหัวใจ สำาคัญในการขับเคลื่อนธุรกจิของบริษัทฯ ดังนั้น บริษัทฯ จึงให้ความสำาคัญ และพิถีพิถันในการสรรหาบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ที่เหมาะสมให้เข้ามาร่วมงาน ตลอดจน ดูแล รักษาคนเก่งและคนดีให้คงอยู่ กับบริษัทฯ เสริมสร้างและปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กร หรือค่านิยมร่วมให้ บุคลากรเป็นคนเก่ง และคนดี มีจิตสำานึกด้านจริยธรรม คุณธรรม ยึดมั่น หลักบรรษทัภิบาลในการประกอบธุรกิจและรับผิดชอบต่อสังคม บริษัทฯ มุ่ง เน้นในการพัฒนาบุคลากรทุกระดับ อย่างสมำ่าเสมอ และ ต่อเนื่อง เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ มีความเป็นผู้นำา มีศักยภาพที่พร้อม สำาหรับการปฎิบัติหน้าที่ของตน พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง เพื่อรองรับการ เติบโตของธุรกิจในอนาคต นอกจากนี้บริษัทฯ ยังส่งเสริมและสนับสนุนใน การสร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในการทำางานให้ผปู้ฏิบัติงาน กล้า คิด กล้าทำา กล้าริเริ่มสิ่งใหม่ ๆ ทำางานเป็นทีม และมีสำานึกแห่งความเป็น เจ้าของ สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ และการจัดการความรู้ในหน่วยงานให้ เป็นศูนย์กลางข้อมูล เพื่อให้นำาไปใช้งานทั่วทั้งองค์กร ตลอดจนส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคลากรให้ทำางานร่วมกันอย่างมีความสุข มีความ รัก ความผูกพันต่อองค์กร และมีความภาคภูมิใจในอาชีพของตน
  • 14. 64 ปี ไทยสมุทรประกันชีวิตจากคำาสัญญาที่ยึด มนั่...สกู่ารเป็น “เพื่อนคชูี่วิต...ตลอดไป” ไทยสมุทรประกันชีวิต บริษัทประกันชีวิตที่เปี่ยมด้วยประสบการณ์ด้านการประกันชีวิตที่ครบวงจรมาตลอด 64 ปี ดำาเนินธุรกิจโดยยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล และเพิ่มพูนประสบการณ์ทางธุรกิจอย่างต่อเนื่องตลอดมา พ.ศ. 2492 เปิดประวัติศาสตร์หน้าแรกของ “ไทยสมุทรฯ” ก่อตั้งโดยคุณชิน อัสสกุล และคณะ เริ่มเปิดดำาเนินกิจการครั้งแรกเมื่อวันที่ 11 มกราคม 2492 ในชื่อ บริษัท ไทยสมุทรพาณิชย์ ประกันภัย จำากัด พ.ศ. 2494 ขยายการให้บริการด้านประกันชีวิต ได้รับใบอนุญาตดำาเนินกิจการด้านประกันชีวิตเพิ่มขึ้น จากระยะแรกที่ให้บริการด้านประกันวินาศภัยเพียง เท่านั้น พ.ศ. 2496 บททดสอบแรกในการฝ่าวิกฤต “ไทยสมุทรฯ” คุณกฤษณ์ อัสสกุล “บิดาแห่งไทยสมุทร” เข้ามากอบกู้ภาวะวิกฤตของบริษัทฯ จนทำาให้ผ่านพ้นไปได้ พ.ศ. 2497 ก้าวสู่จุดเปลี่ยนสำาคัญ ไทยสมุทรฯ ให้บริการด้านการประกันชีวิตแบบอุตสาหกรรม ซึ่งตรงกับความต้องการของตลาดในขณะ นั้นส่งผลให้บริษัท เติบโตขึ้นเป็นลำาดับ พ.ศ. 2504 กระจายสาขาสู่ภูมิภาค พร้อมพัฒนาศักยภาพบุคลากรและตัวแทน ไทยสมุทรได้ขยายสาขาทั่วประเทศจำานวน 23 แห่ง พร้อมก่อตั้งศูนย์ฝึกอบรมพนักงาน ณ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา ปัจจุบันคือ “ศูนย์อบรมไทยสมุทรเขาใหญ่” พ.ศ. 2543 ก้าวสู่วันใหม่ “ไทยสมุทรประกันชีวิต” เพื่อให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกันชีวิต พ.ศ.2535 บริษัทฯ ได้แยกธุรกิจประกันวินาศภัย และธุรกิจ ประกันชีวิต ออกจากกัน และได้เปลี่ยนชื่อเป็น บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำากัด พ.ศ. 2551 ผนวกกำาลังสู่ความเป็นหนึ่ง
  • 15. พ.ศ. 2553 เดินหน้าบริหารงานโดยนักบริหารมอือาชีพ ภายใต้ความโปร่งใส คุณนุสรา (อัสสกุล) บัญญัติปิยพจน์ ก้าวสู่ตำาแหน่งกรรมการผู้จดัการบริษัท ฯ บริหารงานด้วยความรู้ ความสามารถและ ประสบการณร์อบด้าน เน้นหลักธรรมาภิบาล พิสจูน์ได้ด้วยรางวลัโล่ประกาศ เกียรติคุณจรรยาบรรณดีเด่นหอการค้าไทยประจำา ปี 2553 ANNUALREPORT I 152 พ.ศ. 2554 รับรางวัลแห่งความภูมใิจ ไทยสมทุรฯ ได้รับรางวัล บริษัทประกันชีวติที่มกีารบริหารงานดีเด่น ชมเชย ประจำาปี 2553 และรางวัล ตัวแทนประกัน ชีวิตคุณภาพดีเด่น ประจำาปี 2553 จากสำานักงานคณะกรรมการกำากับและสง่เสริม การประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ซึ่งสะท้อนประสิทธิภาพในด้านการบริหารองค์กรและคุณภาพ ของตัวแทนประกันชีวิต พ.ศ. 2555 เติบโตอยา่งยั่งยืน พร้อมแปรสภาพเป็น บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำากัด (มหาชน) ตามนโยบายของภาครัฐภายใต้ พ.ร.บ.ประกันชีวิต กำาหนดให้บริษัทประกันชีวิตทกุแห่งต้องแปรสภาพ เป็นบริษัทมหาชนจำากัด (บมจ.) ดังนั้นในวันที่ 10 กรกฎาคม 2555 บริษัท ไทยสมทุรประกันชีวิต จำากัด จึงได้จดทะเบียนแปรสภาพเป็นบริษัท มหาชน ใช้ชื่อว่า บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำากัด (มหาชน) รับรางวลัการันตีคุณภาพต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ไทยสมุทรฯ รับรางวัลบริษัทประกันชีวิตทมีี่การบริหารงานดี เด่น ชมเชย ประจำาปี 2554 และรางวัลตัวแทนประกันชีวิตคุณภาพดีเด่นประจำาปี 2554 จาก สำานักงานคณะกรรมการกำากับและสง่ เสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) ต่อเนื่องเป็นปีที่2 พ.ศ. 2556 พฒันาก้าวไกล...ผนึกสายสมัพนัธ์แนบแน่น งาน THE PROSPERITY OF SYNERGY ถูกจัดขนึ้เพอื่เฉลิมฉลองวาระครบรอบ 5 ปี ความร่วมมือทาง ธุรกิจระหว่าง บริษัท ไทยสมุทรประกันชีวิต จำากัด (มหาชน) กับ บริษัท ไดอิจิ ไลฟ์ อินชัวรันส์ จำากัด แสดงให้เห็นถึงความสมัพันธ์อันแนบ แน่น ทนี่ำามาซึ่งความเจริญก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง รับรางวลับริษัทประกันชีวิตทมีี่การพัฒนาดีเด่น ประจำาปี 2555 ในโครงการมอบรางวัลประกันภัยดีเด่น ครบวงจรประจำา ปี 2555 จากการคัดเลือกจากสำานักงานคณะกรรมการกำากับและสง่เสริมการ ประกอบธุรกิจประกันภัย คปภ