SlideShare a Scribd company logo
๑
โครงการการสร้างความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ในระดับพื้นที่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ (โครงการโดดเด่น)
๑. ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการชุมชนรวมใจ สร้างพลัง ลดโลกร้อน
๒. หน่วยงานรับผิดชอบ สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น
๓. หลักการและเหตุผล
จังหวัดขอนแก่น มีพื้นที่ 6,806,744 ไร่ แบ่งเป็น 198 ตาบล มีประชากร 1,766,066 คน
(ไม่รวมประชากรแฝง) แบ่งการปกครองเป็น 26 อาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 225 แห่ง ประกอบด้วย
องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 6 แห่ง เทศบาลตาบล 68 แห่ง และ
องค์การบริหารส่วนตาบล 149 แห่ง ซึ่งปัจจุบันปริมาณขยะที่เกิดขึ้นต่อวันของจังหวัดขอนแก่น มีเป็นจานวน
มาก จากข้อมูลการสารวจขยะมูลฝอยของสานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 10 ขอนแก่น ณ เดือน มกราคม 2557
พบว่าจังหวัดขอนแก่น มีปริมาณขยะถึง 1,877 ตัน/วัน หรือ 697,955 ตัน/ปี โดยมีอัตราการเกิดขยะ/คน/
วัน แบ่งเป็นเทศบาลนคร 1.89 กก./คน/วัน เทศบาลเมือง 1.15 กก./คน/วัน เทศบาลตาบล 1.02 กก./
คน/วัน อบต. 0.91 กก./คน/วัน เฉลี่ย 1.2425 กก./คน/วัน มีสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยแบบฝังกลบที่ได้รับ
งบประมาณจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จานวน 6 แห่ง คือ เทศบาลนครขอนแก่น
รองรับประมาณ 250 ตัน/วัน ตั้งอยู่ที่ บ้านคาบอน ต.โนนท่อน อ.เมือง ปัจจุบันใช้ฝังกลบขยะเต็มพื้นที่แล้ว
เทศบาลเมืองเมืองพล ตั้งอยู่ที่บ้านโคกกุง หมู่ที่ 3 ต.หนองแวง-โสกพระ อ.พล รองรับประมาณ 34 ตัน/วัน
ปัจจุบันไม่มีการฝังกลบ เนื่องจากขาดงบประมาณในการก่อสร้างบ่อฝังกลบระยะที่ 2 และเครื่องจักรชารุด
เทศบาลเมืองบ้านไผ่ 37 ตัน/วัน ตั้งอยู่ ต.หินตั้ง อ.บ้านไผ่ เทศบาลเมืองชุมแพ รองรับประมาณ 27 ตัน/วัน
ตั้งอยู่ที่บ้านหนองไผ่ ต.วังหินลาด อ.ชุมแพ เทศบาลเมืองกระนวน20 ตัน/วัน และเทศบาลตาบลน้าพอง
ร่วมกับเทศบาลตาบลเขาสวนกวาง 15 ตัน/วัน
จังหวัดขอนแก่น มีปริมาณขยะสะสมบริเวณสถานที่กาจัดขยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถึง
723,691 ตัน ซึ่งจากการจัดลาดับจังหวัดสกปรกด้านการจัดการขยะมูลฝอย ปรากฏว่าจังหวัดขอนแก่นถูก
จัดลาดับจังหวัดสกปรกลาดับที่ 18 และมีปริมาณขยะสะสมมากที่สุดอยู่ในลาดับที่ 8 ทาให้เกิดปัญหา
ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการเผาไหม้ขยะมูลฝอย การปนเปื้อนของน้าชะขยะไหลลงสู่แหล่งน้าผิวดินและแหล่ง
น้าใต้ดิน ปัญหากลิ่นเหม็นและพาหนะนาโรค ส่งผลกระทบต่อชุมชนและประชาชนที่อาศัยใกล้เคียง ทาให้มี
การร้องเรียนของราษฎรเป็นประจา ทั้งนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดมีเพียง 32 แห่ง คิดเป็นร้อยละ
14 ที่มีการกาจัดขยะมูลฝอยถูกหลักสุขาภิบาล และมีปริมาณขยะที่มีการจัดการและฝังกลบถูกหลักสุขาภิบาล
เพียง 206 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 11.35 เท่านั้น ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาและบริหารจัดการขยะมูล
ฝอยของจังหวัดขอนแก่นให้ถูกวิธี และป้องกันปัญหาผลกระทบต่างๆ ที่เกิดขึ้น จึงควรเร่งดาเนินการปรับปรุง
สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ถูกหลักสุขาภิบาล โดยสนับสนุนให้มีการฝังกลบ
ขยะมูลฝอยแบบประยุกต์สาหรับเทศบาลที่มีปัญหาในการกาจัดขยะมูลฝอย และมีการรวมกลุ่มบริหารจัดการ
ศูนย์กาจัดขยะรวม ซึ่งได้มีการออกแบบก่อสร้างปรับปรุงสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยเรียบร้อยแล้ว รวมทั้ง
เทศบาลที่ได้รับงบประมาณก่อสร้างระบบฝังกลบขยะแบบถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) แต่ประสบ
ปัญหาในการบริหารจัดการและงบประมาณในการดาเนินงานระบบ และในปี 2558 จังหวัดขอนแก่นเป็น
จังหวัดสาคัญจังหวัดหนึ่งในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป็นศูนย์กลางยุทธศาสตร์ด้านการแพทย์ การศึกษา
แบบเสนอโครงการ ๓
๒
การค้า การลงทุน ต่างๆอีกทั้งเป็นเส้นทางการค้าลุ่มน้าโขง จึงต้องให้ความสาคัญในการดูแลรักษาและเตรียม
ความพร้อมด้านสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการเตรียมตัวด้านอื่นๆเป็นอย่างมาก ควรจะได้มีการบริหารจัดการ
ปัญหาขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทางของชุมชนในพื้นที่จังหวัด ก่อนออกเป็นขยะ ของเสียสู่แหล่งกาจัดภายนอก โดย
การมีส่วนร่วมของชุมชนดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทาให้เกิดความที่ยั่งยืน และเตรียมรับการพัฒนาสู่ด้านอื่นๆต่อไป
สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่นจึงได้จัดทาโครงการสร้างความ
ร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ
จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้มีชุมชนต้นแบบในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่า รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะมิอากาศ และเป็นการ
สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีการดาเนินงานตามแผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอง
ต่อเนื่องจากโครงการฯ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ (โครงการรักษ์น้าพอง)
๔. ความสอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ประเทศ /กลุ่มจังหวัดและยุทธศาสตร์จังหวัด
สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) ประเด็น
ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555-2559 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเตรียม
ความพร้อมเพื่อรับมือกับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนเป้าประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบ
บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ
สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัดขอนแก่น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนเป้าประสงค์ เพื่อบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมและยั่งยืน
๕. วัตถุประสงค์โครงการ
๕.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของชุมชนเป้าหมายให้มีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า สู่การลดภาวะโลกร้อน
๕.2 เพื่อปลุกจิตสานึก ส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแล
และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เตรียมความพร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ
๕.3 เพื่อให้เกิดศูนย์เรียนรู้ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามวิถีเศรษฐกิจ
พอเพียง
๖. เป้าหมาย :
๖.๑ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป้าหมาย 5 แห่ง
๖.๒ บวร : บ้าน วัด โรงเรียน ในพื้นที่เป้าหมาย
๖.๓ ผู้ประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่เป้าหมาย
๖.๔ หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง
๗. ระยะเวลาดาเนินการ : ๑ ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8)
๓
๘. พื้นที่ดาเนินการ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป้าหมาย ๕ แห่ง ได้แก่ เทศบาลตาบลหนองบัว อาเภอบ้านฝาง,
เทศบาลตาบลบึงเนียม อาเภอเมืองขอนแก่น, เทศบาลตาบลกุดน้าใส อาเภอน้าพอง, เทศบาลตาบลบ้านฝาง
อาเภอบ้านฝาง, เทศบาลนครขอนแก่น อาเภอเมืองขอนแก่น
๙. กิจกรรม/ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย
กิจกรรม งบประมาณ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย
ด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนและวิถีเศรษฐกิจพอเพียง
๑. การอบรมเชิงปฏิบัติการการลด
คัดแยก และนาขยะไปใช้ประโยชน์
- การอบรมให้ความรู้การลด คัด
แยกขยะ
- การนาขยะมาทาปุ๋ย/เลี้ยง
ไส้เดือน/ทาสิ่งประดิษฐ์จากของ
เหลือใช้
100,๐๐๐ -ครัวเรือนที่มีการลดคัดแยก และนา
ขยะไปใช้ประโยชน์
-รายงานผลการจัดกิจกรรม
-จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ชุมชนนาร่อง
ของ อปท.
เป้าหมาย
อย่างน้อย 2
แห่งๆ ละ 1
ชุมชน
2. ศึกษาดูงานการจัดการขยะมูล
ฝอยชุมชนครบวงจรและวิถี
เศรษฐกิจพอเพียง
250,000 -รายงานผลการจัดกิจกรรม
-จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
แกนนาชุมชน
นาร่อง ของ
อปท.
เป้าหมาย 4
แห่งๆ ละ
15-20 คน
3. จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ด้านการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตามวิถีพอเพียง
60,000 -ศูนย์เรียนรู้ด้านการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมฯ
1 แห่ง
ด้านการอนุรักษ์พลังงานชุมชน
1. กิจกรรมรณรงค์ปิดไฟ 1 ชั่วโมง
ลดโลกร้อน(60 Earth Hour 2015)
90,000 -ปริมาณการลดใช้ไฟฟ้า
-รายงานผลการจัดกิจกรรม
-จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
1 ครั้ง
(เทศบาลนคร
ขอนแก่น)
2. การอบรมเชิงปฏิบัติการการ
อนุรักษ์พลังงาน/ใช้พลังงานทดแทน
100,000 -ครัวเรือนต้นแบบการอนุรักษ์พลังงาน
-รายงานผลการจัดกิจกรรม
-จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ชุมชนนาร่อง
ของ อปท.
เป้าหมาย
อย่างน้อย 2
แห่งๆ ละ 1
ชุมชน
ด้านเพิ่มพื้นที่สีเขียวลดโลกร้อน
1. กิจกรรมปลูกต้นไม้/เพิ่มพื้นที่ป่า 100,000 -จานวนพื้นที่ที่ปลูกเพิ่ม
-รายงานผลการจัดกิจกรรม
1 ครั้ง
๔
กิจกรรม งบประมาณ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย
-จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
ด้านทรัพยากรน้า
1. กิจกรรมอบรมและจัดตั้งเยาวชน
รักษ์สายน้า
100,000 -เครือข่ายเยาวชนรักษ์สายน้า
-รายงานผลการจัดกิจกรรม
-จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม
2 ครั้ง
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
๑. ค่าจัดทารายงานสรุปโครงการฯ 20,000 รายงานผลการดาเนินงาน 10 เล่ม
2. ค่าใช้สอย จนท. ในการติดต่อ
ประสานงานในพื้นที่เป้าหมาย
80,000
3. ค่าวัสดุสานักงาน 10๐,๐๐๐
รวมเป็นเงิน 1,000,000
หมายเหตุ: ขอถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายทุกรายการ
๑๐. งบประมาณ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยมีรายละเอียดแยกรายหมวดงบประมาณ ดังนี้
งบบุคลากร
(บาท)
งบดาเนินงาน
(บาท)
งบลงทุน
(บาท)
งบเงินอุดหนุน
(บาท)
งบรายจ่ายอื่น
(บาท)
รวม
(บาท)
- ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐
๑๑. หน่วยงานดาเนินการ
11.1 สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น
11.2 เทศบาลนครขอนแก่น
๑1.3 เทศบาลตาบลบึงเนียม
๑1.4 เทศบาลตาบลกุดน้าใส
๑1.5 เทศบาลตาบลหนองบัว
11.6 เทศบาลตาบลบ้านฝาง
12. หน่วยงานสนับสนุน
๑2.๑ จังหวัดขอนแก่น
12.2 สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๐ ขอนแก่น
๑2.3 สานักงานทรัพยากรน้าภาคที่ ๔ ขอนแก่น
๑2.4 สานักทรัพยากรน้าบาดาลเขต ๔ ขอนแก่น
๑2.5 สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๘ ขอนแก่น
๑2.6 สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ ๗ ขอนแก่น
๑2.7 สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดขอนแก่น
๕
๑2.8 สานักงานประมงจังหวัดขอนแก่น
๑2.9 โรงไฟฟ้าพลังน้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
๑2.10 โครงการส่งน้าและบารุงรักษาหนองหวาย
๑2.11 สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดขอนแก่น
๑2.12 สานักงานพลังงานจังหวัดขอนแก่น
๑2.13 สถานีพัฒนาที่ดินขอนแก่น
๑2.14 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๑, ๒ และ ๔
๑2.15 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๒๕ ขอนแก่น
๑2.16 องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น
๑2.17 สภาอุตสาหกรรมจังหวัดขอนแก่น
๑2.18 เครือข่าย ทสม.จังหวัดขอนแก่น
๑2.19 เครือข่ายอาสาสมัครเฝ้าระวังและเตือนภัยมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ลุ่มน้าพอง
๑2.20 สมาคมรักษ์ลุ่มน้าพอง
๑2.21 บริษัท ฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ จากัด (มหาชน)
๑2.22 บริษัท สุราแก่นขวัญ จากัด
๑2.23 บริษัท น้าตาลขอนแก่น จากัด (มหาชน)
๑2.24 บริษัท ชัยยุทธฟาร์ม จากัด
12.25 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา สาขาขอนแก่น
12.26 สถานีโทรทัศน์และวิทยุแห่งประเทศไทย (NBT)
12.27 สภาหอการค้าจังหวัดขอนแก่น
12.28 หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
๑3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
การดาเนินโครงการดังกล่าวมุ่งผลสัมฤทธิ์ของโครงการดังนี้
๑3.๑ ผลผลิตของโครงการ
๑) กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง การ
อนุรักษ์พลังงาน การอนุรักษ์ทรัพยากรน้า ในพื้นที่เป้าหมาย 4 แห่ง
2) เกิดเครือข่ายเยาวชนรักษ์สายน้า อย่างน้อย 1 เครือข่าย
3) พื้นที่สีเขียวเพิ่มมากขึ้น
๑3.๒ ผลลัพธ์ของโครงการ
๑) เกิดการลด คัดแยก และนาขยะไปใช้ประโยชน์ในครัวเรือนเป้าหมายมากขึ้น
๒) เกิดศูนย์เรียนรู้ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามวิถีพอเพียง
๓) สามารถลดการใช้ปุ๋ย/สารเคมีทางการเกษตร ลดการใช้พลังงานสิ้นเปลือง
4) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจและได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรมตาม
โครงการภาพรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
๖
๑3.๓ ผลกระทบของโครงการ
เชิงบวก - การจัดการขยะ/การอนุรักษ์พลังงาน/การใช้พลังงานทดแทน/การ
เพิ่มพื้นที่สีเขียว สามารถช่วยบรรเทาสภาวะโลกร้อนได้
- เกิดความสะอาด และสุขภาวะที่ดีขึ้นของคนในชุมชน
- คนในชุมชนมีการพัฒนาศักยภาพมากขึ้น และรู้จักการพึ่งพาตนเอง
- มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนให้ดีขึ้นใน
สภาพแวดล้อมที่ดีตามวิถีพอเพียง
เชิงลบ - - ไม่มี -
๑๒. ผู้เสนอโครงการ
………………………………………
(นางสาวระพีพรรณ มีโภคา)
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
………………………………………
(นางนรมน เบิกขุนทด)
นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ
………………………………………
(นางสาวภัทรสุดา จันทร์คา)
นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชานาญการ
๑๓.ผู้ตรวจสอบโครงการ
...........................................................
(นายมงคล ธนะนาวานุกุล)
นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชานาญการ
๗
๑๖. ผู้เห็นชอบโครงการ
………………………………………
(นายชลอ เหมาะดี)
ผู้อานวยการส่วนทรัพยากรธรรมชาติ
………………………………………
(นายวงศ์วิวรรธ ธนูศิลป์)
ผู้อานวยการส่วนสิ่งแวดล้อม
๑๗. ผู้อนุมัติโครงการ
...........................................................
(นายสมาน มานะกิจ)
ผู้อานวยการสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น

More Related Content

Similar to โครงการการรวมพลังสดโลกร้อน

โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2Thitapa1996
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่Thitapa1996
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์Moddang Tampoem
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่Moddang Tampoem
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลjeabjeabloei
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
freelance
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
UNDP
 
040
040040
Policy recomendation delgo sea thailand
Policy recomendation delgo sea thailandPolicy recomendation delgo sea thailand
Policy recomendation delgo sea thailandimdnmu
 
สรุปรายงานประจำปี Climate Change
สรุปรายงานประจำปี Climate Changeสรุปรายงานประจำปี Climate Change
สรุปรายงานประจำปี Climate Change
Natta Noname101
 
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่นส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
Natta Noname101
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐dtschool
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตmook_suju411
 
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ดิเรก ดวงเพ็ชร์
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพงโครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพงploy27866
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
S1
S1S1

Similar to โครงการการรวมพลังสดโลกร้อน (20)

โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์2
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์
 
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
โครงการเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ ใหม่
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชลเขื่อนขุนด่านปราการชล
เขื่อนขุนด่านปราการชล
 
กรณีศึกษา ทต เมืองแกลง
กรณีศึกษา ทต เมืองแกลงกรณีศึกษา ทต เมืองแกลง
กรณีศึกษา ทต เมืองแกลง
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
ต่าย
ต่ายต่าย
ต่าย
 
040
040040
040
 
Policy recomendation delgo sea thailand
Policy recomendation delgo sea thailandPolicy recomendation delgo sea thailand
Policy recomendation delgo sea thailand
 
สรุปรายงานประจำปี Climate Change
สรุปรายงานประจำปี Climate Changeสรุปรายงานประจำปี Climate Change
สรุปรายงานประจำปี Climate Change
 
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่นส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
ส่วนที่ 3 ยุทธศาสตร์การจัดการขยะมูลฝอยของจังหวัดขอนแก่น
 
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
ยินดีต้อนรับ๑๐๐๐
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
ผังเมืองรวมเมืองท่าโขลง คลองหลวง-รังสิต จังหวัดปทุมธานี พ.ศ.2552
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
 
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพงโครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
โครงการสหกรณ์หมู่บ้านสันกำแพง
 
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
แผนพัฒนาสามปี 2559 - 2561
 
S1
S1S1
S1
 

More from Natta Noname101

รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
Natta Noname101
 
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
Natta Noname101
 
ประกาศใช้แผน
ประกาศใช้แผนประกาศใช้แผน
ประกาศใช้แผน
Natta Noname101
 
สรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กใช้เป็นราคากลาง
สรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กใช้เป็นราคากลางสรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กใช้เป็นราคากลาง
สรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กใช้เป็นราคากลาง
Natta Noname101
 
พื้นที่เป้าหมาย 101 แห่ง
พื้นที่เป้าหมาย 101 แห่งพื้นที่เป้าหมาย 101 แห่ง
พื้นที่เป้าหมาย 101 แห่ง
Natta Noname101
 
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายแผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
Natta Noname101
 
ตารางบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดขอนแก่น
ตารางบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดขอนแก่นตารางบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดขอนแก่น
ตารางบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดขอนแก่น
Natta Noname101
 
การแบ่งกลุ่มพื้นที่ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม Clusterที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่น
การแบ่งกลุ่มพื้นที่ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม Clusterที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่นการแบ่งกลุ่มพื้นที่ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม Clusterที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่น
การแบ่งกลุ่มพื้นที่ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม Clusterที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่น
Natta Noname101
 
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัดส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
Natta Noname101
 
สรุปผลการสำรวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลการสำรวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมสรุปผลการสำรวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลการสำรวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม
Natta Noname101
 
สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557
สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557
สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557
Natta Noname101
 

More from Natta Noname101 (11)

รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
 
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
รายชื่อผู้ให้บริการตลาดกลางอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้รับคัดเลือกเป็นผู้จัดการประมูล...
 
ประกาศใช้แผน
ประกาศใช้แผนประกาศใช้แผน
ประกาศใช้แผน
 
สรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กใช้เป็นราคากลาง
สรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กใช้เป็นราคากลางสรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กใช้เป็นราคากลาง
สรุปผลการประมาณราคาค่าก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กใช้เป็นราคากลาง
 
พื้นที่เป้าหมาย 101 แห่ง
พื้นที่เป้าหมาย 101 แห่งพื้นที่เป้าหมาย 101 แห่ง
พื้นที่เป้าหมาย 101 แห่ง
 
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตรายแผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
แผนบริหารจัดการขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
 
ตารางบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดขอนแก่น
ตารางบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดขอนแก่นตารางบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดขอนแก่น
ตารางบันทึกข้อมูลการจัดการขยะมูลฝอยจังหวัดขอนแก่น
 
การแบ่งกลุ่มพื้นที่ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม Clusterที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่น
การแบ่งกลุ่มพื้นที่ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม Clusterที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่นการแบ่งกลุ่มพื้นที่ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม Clusterที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่น
การแบ่งกลุ่มพื้นที่ศูนย์กำจัดขยะมูลฝอยรวม Clusterที่ 1 เทศบาลนครขอนแก่น
 
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัดส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
 
สรุปผลการสำรวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลการสำรวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรมสรุปผลการสำรวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม
สรุปผลการสำรวจโดยแบบสอบถามความพึงพอใจผู้เข้าร่วมกิจกรรม
 
สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557
สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557
สรุปประจำปี รักษ์น้ำพอง 2557
 

โครงการการรวมพลังสดโลกร้อน

  • 1. ๑ โครงการการสร้างความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในระดับพื้นที่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ (โครงการโดดเด่น) ๑. ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการชุมชนรวมใจ สร้างพลัง ลดโลกร้อน ๒. หน่วยงานรับผิดชอบ สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น ๓. หลักการและเหตุผล จังหวัดขอนแก่น มีพื้นที่ 6,806,744 ไร่ แบ่งเป็น 198 ตาบล มีประชากร 1,766,066 คน (ไม่รวมประชากรแฝง) แบ่งการปกครองเป็น 26 อาเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 225 แห่ง ประกอบด้วย องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง เทศบาลนคร 1 แห่ง เทศบาลเมือง 6 แห่ง เทศบาลตาบล 68 แห่ง และ องค์การบริหารส่วนตาบล 149 แห่ง ซึ่งปัจจุบันปริมาณขยะที่เกิดขึ้นต่อวันของจังหวัดขอนแก่น มีเป็นจานวน มาก จากข้อมูลการสารวจขยะมูลฝอยของสานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 10 ขอนแก่น ณ เดือน มกราคม 2557 พบว่าจังหวัดขอนแก่น มีปริมาณขยะถึง 1,877 ตัน/วัน หรือ 697,955 ตัน/ปี โดยมีอัตราการเกิดขยะ/คน/ วัน แบ่งเป็นเทศบาลนคร 1.89 กก./คน/วัน เทศบาลเมือง 1.15 กก./คน/วัน เทศบาลตาบล 1.02 กก./ คน/วัน อบต. 0.91 กก./คน/วัน เฉลี่ย 1.2425 กก./คน/วัน มีสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยแบบฝังกลบที่ได้รับ งบประมาณจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จานวน 6 แห่ง คือ เทศบาลนครขอนแก่น รองรับประมาณ 250 ตัน/วัน ตั้งอยู่ที่ บ้านคาบอน ต.โนนท่อน อ.เมือง ปัจจุบันใช้ฝังกลบขยะเต็มพื้นที่แล้ว เทศบาลเมืองเมืองพล ตั้งอยู่ที่บ้านโคกกุง หมู่ที่ 3 ต.หนองแวง-โสกพระ อ.พล รองรับประมาณ 34 ตัน/วัน ปัจจุบันไม่มีการฝังกลบ เนื่องจากขาดงบประมาณในการก่อสร้างบ่อฝังกลบระยะที่ 2 และเครื่องจักรชารุด เทศบาลเมืองบ้านไผ่ 37 ตัน/วัน ตั้งอยู่ ต.หินตั้ง อ.บ้านไผ่ เทศบาลเมืองชุมแพ รองรับประมาณ 27 ตัน/วัน ตั้งอยู่ที่บ้านหนองไผ่ ต.วังหินลาด อ.ชุมแพ เทศบาลเมืองกระนวน20 ตัน/วัน และเทศบาลตาบลน้าพอง ร่วมกับเทศบาลตาบลเขาสวนกวาง 15 ตัน/วัน จังหวัดขอนแก่น มีปริมาณขยะสะสมบริเวณสถานที่กาจัดขยะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถึง 723,691 ตัน ซึ่งจากการจัดลาดับจังหวัดสกปรกด้านการจัดการขยะมูลฝอย ปรากฏว่าจังหวัดขอนแก่นถูก จัดลาดับจังหวัดสกปรกลาดับที่ 18 และมีปริมาณขยะสะสมมากที่สุดอยู่ในลาดับที่ 8 ทาให้เกิดปัญหา ผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการเผาไหม้ขยะมูลฝอย การปนเปื้อนของน้าชะขยะไหลลงสู่แหล่งน้าผิวดินและแหล่ง น้าใต้ดิน ปัญหากลิ่นเหม็นและพาหนะนาโรค ส่งผลกระทบต่อชุมชนและประชาชนที่อาศัยใกล้เคียง ทาให้มี การร้องเรียนของราษฎรเป็นประจา ทั้งนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมดมีเพียง 32 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 14 ที่มีการกาจัดขยะมูลฝอยถูกหลักสุขาภิบาล และมีปริมาณขยะที่มีการจัดการและฝังกลบถูกหลักสุขาภิบาล เพียง 206 ตัน หรือคิดเป็นร้อยละ 11.35 เท่านั้น ดังนั้นเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาและบริหารจัดการขยะมูล ฝอยของจังหวัดขอนแก่นให้ถูกวิธี และป้องกันปัญหาผลกระทบต่างๆ ที่เกิดขึ้น จึงควรเร่งดาเนินการปรับปรุง สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ถูกหลักสุขาภิบาล โดยสนับสนุนให้มีการฝังกลบ ขยะมูลฝอยแบบประยุกต์สาหรับเทศบาลที่มีปัญหาในการกาจัดขยะมูลฝอย และมีการรวมกลุ่มบริหารจัดการ ศูนย์กาจัดขยะรวม ซึ่งได้มีการออกแบบก่อสร้างปรับปรุงสถานที่กาจัดขยะมูลฝอยเรียบร้อยแล้ว รวมทั้ง เทศบาลที่ได้รับงบประมาณก่อสร้างระบบฝังกลบขยะแบบถูกหลักสุขาภิบาล (Sanitary Landfill) แต่ประสบ ปัญหาในการบริหารจัดการและงบประมาณในการดาเนินงานระบบ และในปี 2558 จังหวัดขอนแก่นเป็น จังหวัดสาคัญจังหวัดหนึ่งในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เป็นศูนย์กลางยุทธศาสตร์ด้านการแพทย์ การศึกษา แบบเสนอโครงการ ๓
  • 2. ๒ การค้า การลงทุน ต่างๆอีกทั้งเป็นเส้นทางการค้าลุ่มน้าโขง จึงต้องให้ความสาคัญในการดูแลรักษาและเตรียม ความพร้อมด้านสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับการเตรียมตัวด้านอื่นๆเป็นอย่างมาก ควรจะได้มีการบริหารจัดการ ปัญหาขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทางของชุมชนในพื้นที่จังหวัด ก่อนออกเป็นขยะ ของเสียสู่แหล่งกาจัดภายนอก โดย การมีส่วนร่วมของชุมชนดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมทาให้เกิดความที่ยั่งยืน และเตรียมรับการพัฒนาสู่ด้านอื่นๆต่อไป สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่นจึงได้จัดทาโครงการสร้างความ ร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในระดับพื้นที่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะภูมิอากาศ จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ ๒๕๕๘ ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้มีชุมชนต้นแบบในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน มุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่า รองรับการเปลี่ยนแปลงสภาวะมิอากาศ และเป็นการ สนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีการดาเนินงานตามแผนการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าพอง ต่อเนื่องจากโครงการฯ ปีงบประมาณ ๒๕๕๗ (โครงการรักษ์น้าพอง) ๔. ความสอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ประเทศ /กลุ่มจังหวัดและยุทธศาสตร์จังหวัด สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ ๖ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555-2559 ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเตรียม ความพร้อมเพื่อรับมือกับความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลางประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนเป้าประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์จังหวัดขอนแก่น ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนเป้าประสงค์ เพื่อบริหารจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อใช้ประโยชน์ได้อย่างเหมาะสมและยั่งยืน ๕. วัตถุประสงค์โครงการ ๕.1 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของชุมชนเป้าหมายให้มีการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า สู่การลดภาวะโลกร้อน ๕.2 เพื่อปลุกจิตสานึก ส่งเสริม สนับสนุนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู ดูแล และบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เตรียมความพร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ๕.3 เพื่อให้เกิดศูนย์เรียนรู้ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามวิถีเศรษฐกิจ พอเพียง ๖. เป้าหมาย : ๖.๑ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป้าหมาย 5 แห่ง ๖.๒ บวร : บ้าน วัด โรงเรียน ในพื้นที่เป้าหมาย ๖.๓ ผู้ประกอบกิจการโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่เป้าหมาย ๖.๔ หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ๗. ระยะเวลาดาเนินการ : ๑ ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕8)
  • 3. ๓ ๘. พื้นที่ดาเนินการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป้าหมาย ๕ แห่ง ได้แก่ เทศบาลตาบลหนองบัว อาเภอบ้านฝาง, เทศบาลตาบลบึงเนียม อาเภอเมืองขอนแก่น, เทศบาลตาบลกุดน้าใส อาเภอน้าพอง, เทศบาลตาบลบ้านฝาง อาเภอบ้านฝาง, เทศบาลนครขอนแก่น อาเภอเมืองขอนแก่น ๙. กิจกรรม/ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย กิจกรรม งบประมาณ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย ด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชนและวิถีเศรษฐกิจพอเพียง ๑. การอบรมเชิงปฏิบัติการการลด คัดแยก และนาขยะไปใช้ประโยชน์ - การอบรมให้ความรู้การลด คัด แยกขยะ - การนาขยะมาทาปุ๋ย/เลี้ยง ไส้เดือน/ทาสิ่งประดิษฐ์จากของ เหลือใช้ 100,๐๐๐ -ครัวเรือนที่มีการลดคัดแยก และนา ขยะไปใช้ประโยชน์ -รายงานผลการจัดกิจกรรม -จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ชุมชนนาร่อง ของ อปท. เป้าหมาย อย่างน้อย 2 แห่งๆ ละ 1 ชุมชน 2. ศึกษาดูงานการจัดการขยะมูล ฝอยชุมชนครบวงจรและวิถี เศรษฐกิจพอเพียง 250,000 -รายงานผลการจัดกิจกรรม -จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม แกนนาชุมชน นาร่อง ของ อปท. เป้าหมาย 4 แห่งๆ ละ 15-20 คน 3. จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามวิถีพอเพียง 60,000 -ศูนย์เรียนรู้ด้านการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมฯ 1 แห่ง ด้านการอนุรักษ์พลังงานชุมชน 1. กิจกรรมรณรงค์ปิดไฟ 1 ชั่วโมง ลดโลกร้อน(60 Earth Hour 2015) 90,000 -ปริมาณการลดใช้ไฟฟ้า -รายงานผลการจัดกิจกรรม -จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 1 ครั้ง (เทศบาลนคร ขอนแก่น) 2. การอบรมเชิงปฏิบัติการการ อนุรักษ์พลังงาน/ใช้พลังงานทดแทน 100,000 -ครัวเรือนต้นแบบการอนุรักษ์พลังงาน -รายงานผลการจัดกิจกรรม -จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ชุมชนนาร่อง ของ อปท. เป้าหมาย อย่างน้อย 2 แห่งๆ ละ 1 ชุมชน ด้านเพิ่มพื้นที่สีเขียวลดโลกร้อน 1. กิจกรรมปลูกต้นไม้/เพิ่มพื้นที่ป่า 100,000 -จานวนพื้นที่ที่ปลูกเพิ่ม -รายงานผลการจัดกิจกรรม 1 ครั้ง
  • 4. ๔ กิจกรรม งบประมาณ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมาย -จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม ด้านทรัพยากรน้า 1. กิจกรรมอบรมและจัดตั้งเยาวชน รักษ์สายน้า 100,000 -เครือข่ายเยาวชนรักษ์สายน้า -รายงานผลการจัดกิจกรรม -จานวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 2 ครั้ง ค่าใช้จ่ายอื่นๆ ๑. ค่าจัดทารายงานสรุปโครงการฯ 20,000 รายงานผลการดาเนินงาน 10 เล่ม 2. ค่าใช้สอย จนท. ในการติดต่อ ประสานงานในพื้นที่เป้าหมาย 80,000 3. ค่าวัสดุสานักงาน 10๐,๐๐๐ รวมเป็นเงิน 1,000,000 หมายเหตุ: ขอถัวเฉลี่ยค่าใช้จ่ายทุกรายการ ๑๐. งบประมาณ ๑,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยมีรายละเอียดแยกรายหมวดงบประมาณ ดังนี้ งบบุคลากร (บาท) งบดาเนินงาน (บาท) งบลงทุน (บาท) งบเงินอุดหนุน (บาท) งบรายจ่ายอื่น (บาท) รวม (บาท) - ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑๑. หน่วยงานดาเนินการ 11.1 สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น 11.2 เทศบาลนครขอนแก่น ๑1.3 เทศบาลตาบลบึงเนียม ๑1.4 เทศบาลตาบลกุดน้าใส ๑1.5 เทศบาลตาบลหนองบัว 11.6 เทศบาลตาบลบ้านฝาง 12. หน่วยงานสนับสนุน ๑2.๑ จังหวัดขอนแก่น 12.2 สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ ๑๐ ขอนแก่น ๑2.3 สานักงานทรัพยากรน้าภาคที่ ๔ ขอนแก่น ๑2.4 สานักทรัพยากรน้าบาดาลเขต ๔ ขอนแก่น ๑2.5 สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๘ ขอนแก่น ๑2.6 สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ ๗ ขอนแก่น ๑2.7 สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดขอนแก่น
  • 5. ๕ ๑2.8 สานักงานประมงจังหวัดขอนแก่น ๑2.9 โรงไฟฟ้าพลังน้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ๑2.10 โครงการส่งน้าและบารุงรักษาหนองหวาย ๑2.11 สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดขอนแก่น ๑2.12 สานักงานพลังงานจังหวัดขอนแก่น ๑2.13 สถานีพัฒนาที่ดินขอนแก่น ๑2.14 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต ๑, ๒ และ ๔ ๑2.15 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๒๕ ขอนแก่น ๑2.16 องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น ๑2.17 สภาอุตสาหกรรมจังหวัดขอนแก่น ๑2.18 เครือข่าย ทสม.จังหวัดขอนแก่น ๑2.19 เครือข่ายอาสาสมัครเฝ้าระวังและเตือนภัยมลพิษสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ลุ่มน้าพอง ๑2.20 สมาคมรักษ์ลุ่มน้าพอง ๑2.21 บริษัท ฟินิคซ พัลพ แอนด์ เพเพอร์ จากัด (มหาชน) ๑2.22 บริษัท สุราแก่นขวัญ จากัด ๑2.23 บริษัท น้าตาลขอนแก่น จากัด (มหาชน) ๑2.24 บริษัท ชัยยุทธฟาร์ม จากัด 12.25 ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา สาขาขอนแก่น 12.26 สถานีโทรทัศน์และวิทยุแห่งประเทศไทย (NBT) 12.27 สภาหอการค้าจังหวัดขอนแก่น 12.28 หน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ๑3. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การดาเนินโครงการดังกล่าวมุ่งผลสัมฤทธิ์ของโครงการดังนี้ ๑3.๑ ผลผลิตของโครงการ ๑) กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ด้านการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง การ อนุรักษ์พลังงาน การอนุรักษ์ทรัพยากรน้า ในพื้นที่เป้าหมาย 4 แห่ง 2) เกิดเครือข่ายเยาวชนรักษ์สายน้า อย่างน้อย 1 เครือข่าย 3) พื้นที่สีเขียวเพิ่มมากขึ้น ๑3.๒ ผลลัพธ์ของโครงการ ๑) เกิดการลด คัดแยก และนาขยะไปใช้ประโยชน์ในครัวเรือนเป้าหมายมากขึ้น ๒) เกิดศูนย์เรียนรู้ด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามวิถีพอเพียง ๓) สามารถลดการใช้ปุ๋ย/สารเคมีทางการเกษตร ลดการใช้พลังงานสิ้นเปลือง 4) ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจและได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมกิจกรรมตาม โครงการภาพรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
  • 6. ๖ ๑3.๓ ผลกระทบของโครงการ เชิงบวก - การจัดการขยะ/การอนุรักษ์พลังงาน/การใช้พลังงานทดแทน/การ เพิ่มพื้นที่สีเขียว สามารถช่วยบรรเทาสภาวะโลกร้อนได้ - เกิดความสะอาด และสุขภาวะที่ดีขึ้นของคนในชุมชน - คนในชุมชนมีการพัฒนาศักยภาพมากขึ้น และรู้จักการพึ่งพาตนเอง - มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนให้ดีขึ้นใน สภาพแวดล้อมที่ดีตามวิถีพอเพียง เชิงลบ - - ไม่มี - ๑๒. ผู้เสนอโครงการ ……………………………………… (นางสาวระพีพรรณ มีโภคา) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ ……………………………………… (นางนรมน เบิกขุนทด) นักวิชาการป่าไม้ปฏิบัติการ ……………………………………… (นางสาวภัทรสุดา จันทร์คา) นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชานาญการ ๑๓.ผู้ตรวจสอบโครงการ ........................................................... (นายมงคล ธนะนาวานุกุล) นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชานาญการ
  • 7. ๗ ๑๖. ผู้เห็นชอบโครงการ ……………………………………… (นายชลอ เหมาะดี) ผู้อานวยการส่วนทรัพยากรธรรมชาติ ……………………………………… (นายวงศ์วิวรรธ ธนูศิลป์) ผู้อานวยการส่วนสิ่งแวดล้อม ๑๗. ผู้อนุมัติโครงการ ........................................................... (นายสมาน มานะกิจ) ผู้อานวยการสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น