SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
Motion Capture System
แนะนา
รายงานเรื่องนี้จัดทาขึ้นเพื่อแนะนาขั้นตอนการใช้งาน Motion Caption Basic เพื่อใช้ในการศึกษาเรียนรู้เบื้องต้น
การทางาน Motion Caption คือ เทคโนโลยีจับภาพเคลื่อนไหว เช่น คน สัตว์ สิ่งของ โดยสามารถบันทึกการเคลื่อนไหว
ในรูปแบบ Data Fire เพื่อใช้ในการจาลองแบบ 3 มิติ
ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดพื้นที่ทางาน (Calibration)
1.1 กาหนดพื้นที่ทางาน L-Fam จะมีอยู่ด้วยกัน 3 แกรน (XYZ) 1. X คือ ด้านข้าง 2. Z คือ ด้านหน้า 3. Y คือ ความสูง
อยู่ตาแหน่งจุดศูนย์กลางของพื้นที่
1.1.1 โปรแกรม Evart
- Connect To Camera เริ่มการทางานจะแสดงแถบจานวนกล้องอยู่ด้านล่างโปรแกรม
- Calibration > Preview Calibration
- Run
1.1.2 การปรับกล้องในพื้นที่โดยจะแสดง L-Fam ในคอมพิวเตอร์ควบคุมถ้ากล้องกระพริบ [เหลียง-ขาว] ต้องปรับให้เป็น
สีเหลียงก่อนโดยมีคาสั่งควบคุมดังนี้ F2 คือ การแสดงตาแหน่งกล้องในมุมเดียว เพื่อให้เห็นสัญญาณที่เข้ามารบกวนวิธีปิด
สัญณาณรบกวน :กดเมาส์กลางค้างไว้แล้วลากปิด
F3 คือ การแสดงพื้นที่ทางานจริง โดยจะเห็น ทิศทางกล้องในแต่ละตัว
1.2 การตั้งค่าพื้นที่การทางาน
การกาหนดพื้นที่การทางาน ได้แก่ การตั้งค่าขนาดพื้นที่ การตั้งค่าความสูงของกล้อง การตั้งค่า L-Fam
Tools > Calibration Settings
- Calibration Frame คือ การแสดงทิศทางและค่าต่างๆของ L-Fam
- Origin Offsets ปรับเป็น 0
- Lenses Orientation คือ ความสูง และระยะกล้อง ปรับ 18-20 ทุกตัว (ขึ้นอยู่กับความกว้างของห้อง)
- Capture Volume คือ ขนาดพื้นที่ เช่นกาหนดพื้นที่ ขนาด 4x3 เมตร ความสูง 2 เมตร
X-Minimum คือ แกรน X- 2000 มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร = 2 เมตร
X-Maximum คือ แกรน X+ 2000 มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร = 2 เมตร = 1 แกน
Y-Minimum คือ แกรน Y- 0
Y-Maximum คือ แกรน Y+ 2000 มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร = 2 เมตร = 1 แกน
Z-Minimum คือ แกรน Z- 1500 มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร = 1.5เมตร
Z-Maximum คือ แกรน Z+ 1500 มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร = 1.5เมตร = 1 แกน
เมื่อทาการปรับค่ากล้องเป็นอันเสร็จแล้ว ต่อไปทาการเช็คกล้องเพื่อแสดงพื้นที่ที่สามารถใช้งานได้ โดยไปที่
- Show Camera Coverage แสดงกราฟสีม่วงในพื้นที่
- การบันทึก Collect and Calibrate (Cal seed)
- File > Save บันทึกไฟล์
1.3 การ Wand
Cal Wand คือ จะเป็นการเดินรอบๆพื้นที่โดยจะมี ไม้ T- Wand เป็นตัวให้สัญญาณกล้อง โดยกล้องจะอ่านค่า Marker 3 ลูก
ที่อยู่บริเวณปลายไม้ จะแสดงออดมาเป็นเส้นสีแดง และสีดา ขั้นตอนนี้สาคัญมาก
- Calibration with Wand
- Duration คือ เวลา
- Length คือ ระยะเวลา 1 s = 500 F
- Fliename คือ ตั้งชื่อ
- เมื่อสิ้นสุดเวลากาหนด จะปรากฏหน้า Real Time
- Camera Number คือ จานวนกล้อง
- Number of Frames คือ เฟรมที่มีปัญหา ต้องไม่เกิน 100 เฟรม
- Example Frames Number คือ จานวนทั้งหมดที่เก็บข้อมูลได้
วิธีการเดิน: ในการเดินถือไม้ T-Fam จะเดินขึ้นลงสลับฟันปลารอบๆพื้นที่ โดยจะมี 3 ท่าด้วยกัน
ท่าที่ 1. ชี้ไม้ T-Fam ลงพื้นในระดับ 90 องศา
ท่าที่ 2. ตีไม้ T-Fam ขึ้นลง ในแนวตั้งนอน
ท่าที่ 3. ตีไม้ T-Fam ขึ้นลง ในแนวตั้งฉาก
1.4 การ Floor
Cal Floor คือ ตาแหน่งพื้นที่แคปเจอร์ โดยกล้องสามารถมองเห็นได้ โดยการนา Marker ไปวางไว้แต่ละมุมเพื่อเห็นขนาด
พื้นที่ทางาน โดยสังเกต Marker ชิตกับมุม
ขั้นตอนที่ 2 แคปเจอร์การเคลื่อนไหว (Motion Capture)
แคปเจอร์การเคลื่อนไหว คือ การบันทึกการเคลื่อนไหว ชนิดของไฟล์ที่บันทึก trc*
- เลือกชนิดของไฟล์บันทึก trc
- ตั้งชื่อไฟล์บันทึก
- กาหนดระยะเวลาก่อนการกด Stop
- เริ่มบันทึก Record
- หยุด Stop
ขั้นตอนที่ 3 Pre Production
Pre Production คือ การนาไฟล์แคปเจอร์(trc*)ที่Capture นามา Clean Data เพื่อให้การเคลื่อนไหวต่อเนียง จึงจะสามารถ
นาไฟล์ไปใช้กับโมเดลได้
คาสั่งในการ Clean Data
- Make ID คือ คือการเชื่อมต่อกราฟที่หายไป มากว่า 10 เฟรม
- Join Cubic คือ การเชื่อมต่อช่วงกราฟที่หายไป น้อยกว่า 5 เฟรม
- Quick ID คือ ดูชื่อ Marker
- Make Unnamed คือ กาหนด link new
- Hide Markers คือ การลบ Marker และเส้นกราฟ
- Rectify Unnamed คือ รีเซทชื่อ Marker ใหม่
- Join Virtual คือ กาหนดการเชื่อมต่อขึ้นมาใหม่
- Rectify คือ การให้ซอฟแวร์คานวณตาแหน่ง Marker
ขั้นตอนที่ 4 Model Edit
Model Edit คือ ตั้งชื่อ Marker และ link name Marker เข้าด้วยกัน
ตั้งชื่อตามจานวน Markers
เลือกกาหนดสี
ส่วน
Marker set changing body
การตั้งชื่อและกาหนดตาแหน่งจุด Marker 30 จุด
การตั้งชื่อและกาหนดตาแหน่งจุด Marker 41 จุด
1. Top.Head
2. Front.Head
3. R.Shoulder
4. R.Elbow
5. R.Asis
6. R.Wrist
7. R.Thigh
8. R.Knee
9. R.Medial Knee
10. R.Shank
11. R.Ankle
12. R.Toe
13. R.Heel
14. Offset
15. V.Sacral
16. L.Heel
17. L.Toe
18. R.Heel
19. L.Shoulder
20. L.Elbow
22. L.Asis
23. L.Wrist
24. L.Thigh
25. L.Knee
26. L.Medial Knee
27. L.Shank
28. L.Heel
29. L.Toe
30. L.Medial Ankle
Head and Neck
1. TopHead
2. L_Head
3. B_Head
4. R_Head
5. F_Head
Shoulders and
Sternum
6. TopSpine
7. RShoulder
8. Frshoulder
9. Flshoulder
10. ShoulderOffset
16. Lshoulder
Arms and Hands
11. RBicep
12. RElbow
13. RWrist
14. RPinky
15. Rthumb
17. LBicep
18. LElbow
19. LWrist
20. Lpinky
21. Lthumb
Back and Root
22. MidBack
23. LowBack
24. RootOffset
25. Root
Pelvis and Hips
26. BRHip
27. BLHip
28. FRHip
29. FLHip
Legs and Feet
30. RThigh
31. RKnee
32. RAnkle
33. Rheel
34. RMidfoot
35. RToe
36. LThigh
37. LKnee
38. LAnkle
39. LHeel
40. LMidfoot
41. LToe
การตั้งชื่อและกาหนดตาแหน่งจุด Marker 42 จุด
1. M_Tophead
2. M_FL_head
3. M_BL_head
4. M_FR_head
5. M_RS_head
6. M_RBicep
7. M_RBorearm
8. M_RElbow
9. M_RForearm
10. M_Rwrist
11. M_RPinky
12. M_Lsh
13. M_LShoalder
14. M_LBicep
15. M_LForearm
16. M_Lwrist
17. M_Lwrists
18. M_Lpinky
19. M_Lthamd
20. M_Topspine
21. M_FBshoalder
22. M_FLshoalder
23. M_Midback
24. M_MidBackoffset
25. M_LowBack
26. M_Root
27. M_Blhip
28. M_Blhip
30. M_Flhip
31. M_Rthigh
32. M_Rankle
33. M_Rankle|
34. M_Rheel
35. M_RMiafood
36. M_Rtoe
37. M_Lthigh
38. M_Lknee
39. M_Lankle
40. M_Lankie
41. M_LMidfoot
42. M_Ltoe
ข้อควรระวังของข้อต่อ
การติด Marker ทุกครั้งข้อควรระวัง อย่างเช่น ข้อต่อ เป็นส่วนที่สาคัญเป็นอย่างยิ่ง
ถ้าเกิดมีปัญหาอย่าเช่น Marker มีการหลุด หรือเลื่อนตาแหน่ง ก็จะส่งผมต่อขั้นตอนในการทางาน
ควรคานึงถึงการหมุนของข้อ ข้อเท้า
พับเข่า
การหมุนของจุดสาคัญๆ
M_MidBackoffset คือจุดกระดูกสันหลังของร่างกายเป็นจุดที่รวมส่วนต่างๆไว้จุดนี้จึงมีความสาคัญมาก
ในการติดจุด Marker จุดนี้จะสามารถติดได้ทางด้านช้ายหรือด้านขาวก็ได้
ควรคานึงการงอข้อศอก
กระดูกสันหลัง มีหน้าที่เป็นจุดรับส่วนส่วนต่างของร่างกาย M_Loeback , M_MidBackoffset,
M_Rbicep ,M_Fbshoalder จุดเหล่านี้เป็นช่วงสะโพก
ขนาดของ MARKER
มุมมองลักษณะของ MARKER
การใช้งานจะแตกต่างกันไป เช่น ลูกขนาด 25 mm ใช้กับวัตถุที่มีการเคลื่อนไหวเร็วๆ ลูกขนาด 19 mm ใช้
สาหรับติดตามล่างกายทั่วไป ลูกขนาด 15 mm วัตถุที่อยู่นิ่ง ลูกขนาด 12 mm วัตถุขนาดเล็ก
ช่วงสะโพก
Marks on his face ขั้นตอนการจับภาพเคลื่อนไหวบนใบหน้า
การติด Marks ตามบริเวณใบหน้า ภาพรวมของการเคลื่อนไหว Workflow Capture การทางานกับการ
เคลื่อนไหวในการจับภาพใบหน้าและการจับข้อมูล Mocap โปรแกรมโมแคบจะจับการทางานของจุด Marks
บนใบหน้าเพื่อจับการเคลื่อนไหว
Hand Markers คือ การจับการเคลื่อนไหวของนิ้วมือ
ผู้ศึกษา นายอภิสิทธิ์ สายาพัฒน์
สาขาวิชาสื่อนฤมิต – คอมพิวเตอร์แอนิเมชันและเกม
คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Thumb
1. T_Pend
2. T_Middle finger
3. T_ Fingerprints
4. T_ After
5. T_ FingerIndex
6. I_Pend
7. I_ Middle finger
8. I_ Fingerprints
9. I_ After
10. I_ Before after
Middle finger
11. M_Pend
12. M_ Middle finger
13. M_ Fingerprints
14. M_ After
15. M_ Before after
Finger
16. F_Pend
17. F_ Middle finger
18. F_ Fingerprints
19. F_ After
20. F_ Before after
Pinkie
21. P_Pend
22. P_Middle finger
23. P_ Fingerprints
24. P_ After
25. P_ Finger
26. P_ fingerJoint
27. Arm_Range
28. O_ Joint
29. L_ Joint

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
คมสันต์ วงศ์กาฬสินธุ์
 

Viewers also liked (7)

บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
Cheli sandesh issue 4
Cheli sandesh  issue 4Cheli sandesh  issue 4
Cheli sandesh issue 4
 
Quality An Integral Tool ..Ppt
Quality  An Integral Tool ..PptQuality  An Integral Tool ..Ppt
Quality An Integral Tool ..Ppt
 
MEASURE Evaluation Data Quality Assessment Methodology and Tools
MEASURE Evaluation Data Quality Assessment Methodology and ToolsMEASURE Evaluation Data Quality Assessment Methodology and Tools
MEASURE Evaluation Data Quality Assessment Methodology and Tools
 
Accreditation as a Strategy / Tool for Hospital Quality Service Improvement
Accreditation as a Strategy / Tool for Hospital Quality Service ImprovementAccreditation as a Strategy / Tool for Hospital Quality Service Improvement
Accreditation as a Strategy / Tool for Hospital Quality Service Improvement
 
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 20173 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
3 Things Every Sales Team Needs to Be Thinking About in 2017
 
How to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your NicheHow to Become a Thought Leader in Your Niche
How to Become a Thought Leader in Your Niche
 

Motion capture system

  • 1. Motion Capture System แนะนา รายงานเรื่องนี้จัดทาขึ้นเพื่อแนะนาขั้นตอนการใช้งาน Motion Caption Basic เพื่อใช้ในการศึกษาเรียนรู้เบื้องต้น การทางาน Motion Caption คือ เทคโนโลยีจับภาพเคลื่อนไหว เช่น คน สัตว์ สิ่งของ โดยสามารถบันทึกการเคลื่อนไหว ในรูปแบบ Data Fire เพื่อใช้ในการจาลองแบบ 3 มิติ ขั้นตอนที่ 1 การกาหนดพื้นที่ทางาน (Calibration) 1.1 กาหนดพื้นที่ทางาน L-Fam จะมีอยู่ด้วยกัน 3 แกรน (XYZ) 1. X คือ ด้านข้าง 2. Z คือ ด้านหน้า 3. Y คือ ความสูง อยู่ตาแหน่งจุดศูนย์กลางของพื้นที่ 1.1.1 โปรแกรม Evart - Connect To Camera เริ่มการทางานจะแสดงแถบจานวนกล้องอยู่ด้านล่างโปรแกรม - Calibration > Preview Calibration - Run 1.1.2 การปรับกล้องในพื้นที่โดยจะแสดง L-Fam ในคอมพิวเตอร์ควบคุมถ้ากล้องกระพริบ [เหลียง-ขาว] ต้องปรับให้เป็น สีเหลียงก่อนโดยมีคาสั่งควบคุมดังนี้ F2 คือ การแสดงตาแหน่งกล้องในมุมเดียว เพื่อให้เห็นสัญญาณที่เข้ามารบกวนวิธีปิด สัญณาณรบกวน :กดเมาส์กลางค้างไว้แล้วลากปิด F3 คือ การแสดงพื้นที่ทางานจริง โดยจะเห็น ทิศทางกล้องในแต่ละตัว
  • 2. 1.2 การตั้งค่าพื้นที่การทางาน การกาหนดพื้นที่การทางาน ได้แก่ การตั้งค่าขนาดพื้นที่ การตั้งค่าความสูงของกล้อง การตั้งค่า L-Fam Tools > Calibration Settings - Calibration Frame คือ การแสดงทิศทางและค่าต่างๆของ L-Fam - Origin Offsets ปรับเป็น 0 - Lenses Orientation คือ ความสูง และระยะกล้อง ปรับ 18-20 ทุกตัว (ขึ้นอยู่กับความกว้างของห้อง) - Capture Volume คือ ขนาดพื้นที่ เช่นกาหนดพื้นที่ ขนาด 4x3 เมตร ความสูง 2 เมตร X-Minimum คือ แกรน X- 2000 มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร = 2 เมตร X-Maximum คือ แกรน X+ 2000 มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร = 2 เมตร = 1 แกน Y-Minimum คือ แกรน Y- 0 Y-Maximum คือ แกรน Y+ 2000 มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร = 2 เมตร = 1 แกน Z-Minimum คือ แกรน Z- 1500 มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร = 1.5เมตร Z-Maximum คือ แกรน Z+ 1500 มีหน่วยเป็น มิลลิเมตร = 1.5เมตร = 1 แกน เมื่อทาการปรับค่ากล้องเป็นอันเสร็จแล้ว ต่อไปทาการเช็คกล้องเพื่อแสดงพื้นที่ที่สามารถใช้งานได้ โดยไปที่ - Show Camera Coverage แสดงกราฟสีม่วงในพื้นที่ - การบันทึก Collect and Calibrate (Cal seed) - File > Save บันทึกไฟล์
  • 3. 1.3 การ Wand Cal Wand คือ จะเป็นการเดินรอบๆพื้นที่โดยจะมี ไม้ T- Wand เป็นตัวให้สัญญาณกล้อง โดยกล้องจะอ่านค่า Marker 3 ลูก ที่อยู่บริเวณปลายไม้ จะแสดงออดมาเป็นเส้นสีแดง และสีดา ขั้นตอนนี้สาคัญมาก - Calibration with Wand - Duration คือ เวลา - Length คือ ระยะเวลา 1 s = 500 F - Fliename คือ ตั้งชื่อ - เมื่อสิ้นสุดเวลากาหนด จะปรากฏหน้า Real Time - Camera Number คือ จานวนกล้อง - Number of Frames คือ เฟรมที่มีปัญหา ต้องไม่เกิน 100 เฟรม - Example Frames Number คือ จานวนทั้งหมดที่เก็บข้อมูลได้ วิธีการเดิน: ในการเดินถือไม้ T-Fam จะเดินขึ้นลงสลับฟันปลารอบๆพื้นที่ โดยจะมี 3 ท่าด้วยกัน ท่าที่ 1. ชี้ไม้ T-Fam ลงพื้นในระดับ 90 องศา ท่าที่ 2. ตีไม้ T-Fam ขึ้นลง ในแนวตั้งนอน ท่าที่ 3. ตีไม้ T-Fam ขึ้นลง ในแนวตั้งฉาก
  • 4. 1.4 การ Floor Cal Floor คือ ตาแหน่งพื้นที่แคปเจอร์ โดยกล้องสามารถมองเห็นได้ โดยการนา Marker ไปวางไว้แต่ละมุมเพื่อเห็นขนาด พื้นที่ทางาน โดยสังเกต Marker ชิตกับมุม ขั้นตอนที่ 2 แคปเจอร์การเคลื่อนไหว (Motion Capture) แคปเจอร์การเคลื่อนไหว คือ การบันทึกการเคลื่อนไหว ชนิดของไฟล์ที่บันทึก trc* - เลือกชนิดของไฟล์บันทึก trc - ตั้งชื่อไฟล์บันทึก - กาหนดระยะเวลาก่อนการกด Stop - เริ่มบันทึก Record - หยุด Stop
  • 5. ขั้นตอนที่ 3 Pre Production Pre Production คือ การนาไฟล์แคปเจอร์(trc*)ที่Capture นามา Clean Data เพื่อให้การเคลื่อนไหวต่อเนียง จึงจะสามารถ นาไฟล์ไปใช้กับโมเดลได้ คาสั่งในการ Clean Data - Make ID คือ คือการเชื่อมต่อกราฟที่หายไป มากว่า 10 เฟรม - Join Cubic คือ การเชื่อมต่อช่วงกราฟที่หายไป น้อยกว่า 5 เฟรม - Quick ID คือ ดูชื่อ Marker - Make Unnamed คือ กาหนด link new - Hide Markers คือ การลบ Marker และเส้นกราฟ - Rectify Unnamed คือ รีเซทชื่อ Marker ใหม่ - Join Virtual คือ กาหนดการเชื่อมต่อขึ้นมาใหม่ - Rectify คือ การให้ซอฟแวร์คานวณตาแหน่ง Marker ขั้นตอนที่ 4 Model Edit Model Edit คือ ตั้งชื่อ Marker และ link name Marker เข้าด้วยกัน ตั้งชื่อตามจานวน Markers เลือกกาหนดสี ส่วน
  • 6. Marker set changing body การตั้งชื่อและกาหนดตาแหน่งจุด Marker 30 จุด การตั้งชื่อและกาหนดตาแหน่งจุด Marker 41 จุด 1. Top.Head 2. Front.Head 3. R.Shoulder 4. R.Elbow 5. R.Asis 6. R.Wrist 7. R.Thigh 8. R.Knee 9. R.Medial Knee 10. R.Shank 11. R.Ankle 12. R.Toe 13. R.Heel 14. Offset 15. V.Sacral 16. L.Heel 17. L.Toe 18. R.Heel 19. L.Shoulder 20. L.Elbow 22. L.Asis 23. L.Wrist 24. L.Thigh 25. L.Knee 26. L.Medial Knee 27. L.Shank 28. L.Heel 29. L.Toe 30. L.Medial Ankle Head and Neck 1. TopHead 2. L_Head 3. B_Head 4. R_Head 5. F_Head Shoulders and Sternum 6. TopSpine 7. RShoulder 8. Frshoulder 9. Flshoulder 10. ShoulderOffset 16. Lshoulder Arms and Hands 11. RBicep 12. RElbow 13. RWrist 14. RPinky 15. Rthumb 17. LBicep 18. LElbow 19. LWrist 20. Lpinky 21. Lthumb Back and Root 22. MidBack 23. LowBack 24. RootOffset 25. Root Pelvis and Hips 26. BRHip 27. BLHip 28. FRHip 29. FLHip Legs and Feet 30. RThigh 31. RKnee 32. RAnkle 33. Rheel 34. RMidfoot 35. RToe 36. LThigh 37. LKnee 38. LAnkle 39. LHeel 40. LMidfoot 41. LToe
  • 7. การตั้งชื่อและกาหนดตาแหน่งจุด Marker 42 จุด 1. M_Tophead 2. M_FL_head 3. M_BL_head 4. M_FR_head 5. M_RS_head 6. M_RBicep 7. M_RBorearm 8. M_RElbow 9. M_RForearm 10. M_Rwrist 11. M_RPinky 12. M_Lsh 13. M_LShoalder 14. M_LBicep 15. M_LForearm 16. M_Lwrist 17. M_Lwrists 18. M_Lpinky 19. M_Lthamd 20. M_Topspine 21. M_FBshoalder 22. M_FLshoalder 23. M_Midback 24. M_MidBackoffset 25. M_LowBack 26. M_Root 27. M_Blhip 28. M_Blhip 30. M_Flhip 31. M_Rthigh 32. M_Rankle 33. M_Rankle| 34. M_Rheel 35. M_RMiafood 36. M_Rtoe 37. M_Lthigh 38. M_Lknee 39. M_Lankle 40. M_Lankie 41. M_LMidfoot 42. M_Ltoe
  • 8. ข้อควรระวังของข้อต่อ การติด Marker ทุกครั้งข้อควรระวัง อย่างเช่น ข้อต่อ เป็นส่วนที่สาคัญเป็นอย่างยิ่ง ถ้าเกิดมีปัญหาอย่าเช่น Marker มีการหลุด หรือเลื่อนตาแหน่ง ก็จะส่งผมต่อขั้นตอนในการทางาน ควรคานึงถึงการหมุนของข้อ ข้อเท้า พับเข่า การหมุนของจุดสาคัญๆ M_MidBackoffset คือจุดกระดูกสันหลังของร่างกายเป็นจุดที่รวมส่วนต่างๆไว้จุดนี้จึงมีความสาคัญมาก ในการติดจุด Marker จุดนี้จะสามารถติดได้ทางด้านช้ายหรือด้านขาวก็ได้ ควรคานึงการงอข้อศอก
  • 9. กระดูกสันหลัง มีหน้าที่เป็นจุดรับส่วนส่วนต่างของร่างกาย M_Loeback , M_MidBackoffset, M_Rbicep ,M_Fbshoalder จุดเหล่านี้เป็นช่วงสะโพก ขนาดของ MARKER มุมมองลักษณะของ MARKER การใช้งานจะแตกต่างกันไป เช่น ลูกขนาด 25 mm ใช้กับวัตถุที่มีการเคลื่อนไหวเร็วๆ ลูกขนาด 19 mm ใช้ สาหรับติดตามล่างกายทั่วไป ลูกขนาด 15 mm วัตถุที่อยู่นิ่ง ลูกขนาด 12 mm วัตถุขนาดเล็ก ช่วงสะโพก
  • 10. Marks on his face ขั้นตอนการจับภาพเคลื่อนไหวบนใบหน้า การติด Marks ตามบริเวณใบหน้า ภาพรวมของการเคลื่อนไหว Workflow Capture การทางานกับการ เคลื่อนไหวในการจับภาพใบหน้าและการจับข้อมูล Mocap โปรแกรมโมแคบจะจับการทางานของจุด Marks บนใบหน้าเพื่อจับการเคลื่อนไหว Hand Markers คือ การจับการเคลื่อนไหวของนิ้วมือ ผู้ศึกษา นายอภิสิทธิ์ สายาพัฒน์ สาขาวิชาสื่อนฤมิต – คอมพิวเตอร์แอนิเมชันและเกม คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Thumb 1. T_Pend 2. T_Middle finger 3. T_ Fingerprints 4. T_ After 5. T_ FingerIndex 6. I_Pend 7. I_ Middle finger 8. I_ Fingerprints 9. I_ After 10. I_ Before after Middle finger 11. M_Pend 12. M_ Middle finger 13. M_ Fingerprints 14. M_ After 15. M_ Before after Finger 16. F_Pend 17. F_ Middle finger 18. F_ Fingerprints 19. F_ After 20. F_ Before after Pinkie 21. P_Pend 22. P_Middle finger 23. P_ Fingerprints 24. P_ After 25. P_ Finger 26. P_ fingerJoint 27. Arm_Range 28. O_ Joint 29. L_ Joint