SlideShare a Scribd company logo
May-June 2010


                                                                       No.56




                                      WORLD METROLOGY
                                      BIPM : Bureau International
                                      des Poids et Mesures
                                      WORLD METROLOGY
                                      Criteria for Membership of
                                      a Consultative Committee
                                      NIMT ARTICLE
                                      ผลการเปรียบเทียบผลการวัดระหวาง
                                      ประเทศในสาขาการวัด RF Attenuation
                                      (APMP.EM.RF-K19.CL)
                                      NIMT NEWS
                                      ความรวมมือมาตรวิทยา
                                      ประเทศไทย - สปป. ลาว
                                      NIMT NEWS
                                      การแขงขันทักษะมาตรวิทยาดานมิติ



                                                                 2.0 Richter
0.5 Richter     3.0 Richter      4.0 Richter
                                                                 3.0 Richter
                                               7.0 Richter
                   5.6 Richter
  1.0 Richter
                       13.0 Richter                   8.0 Richter
แผนดินสะเทือน ความหวั่นไหวไมไกลตัว
4   WORLD METROLOGY
                                                                                                 BIPM : Bureau International
                                                                                                 des Poids et Mesures



         สารบัญ                                                                              6   WORLD METROLOGY
                                                                                                 Criteria for Membership of
                                                                                                 a Consultative Committee

                                                              Content                        8   SPECIAL SCOOP
                                                                                                 แผ่ น ดิ น สะเทื อ น ความหวั่ น ไหวไม่ ไ กลตั ว



                                                                                            16   NIMT ARTICLE
                                                                                                 ผลการเปรี ย บเที ย บผลการวั ด ระหว่ า ง
                                                                                                 ประเทศในสาขาการวั ด RF Attenuation
                                                                                                 (APMP.EM.RF-K19.CL)


                                                                                            21   METROLOGY ACTIVITIES
                                                                                                 ประมวลภาพกิ จ กรรม



                                                              May-June 2010


                                                                                    No.56
                                                                                            22   NIMT NEWS
                                                                                                 ความร่ ว มมื อ มาตรวิ ท ยา
                                                                                                 ประเทศไทย - สปป. ลาว

                                                   WORLD METROLOGY
                                                   BIPM : Bureau International
                                                   des Poids et Mesures
                                                   WORLD METROLOGY
                                                   Criteria for Membership of
                                                   a Consultative Committee
                                                   NIMT ARTICLE
                                                   ผลการเปรียบเทียบผลการวัดระหวาง
                                                   ประเทศในสาขาการวัด RF Attenuation
                                                   (APMP.EM.RF-K19.CL)
                                                   NIMT NEWS
                                                   ความรวมมือมาตรวิทยา
                                                   ประเทศไทย - สปป. ลาว
                                                   NIMT NEWS
                                                   การแขงขันทักษะมาตรวิทยาดานมิติ
                                                                                            24   NIMT NEWS
                                                                                                 การแข่ ง ขั น ทั ก ษะมาตรวิ ท ยาด า นมิ ติ

                                                                              2.0 Richter
             0.5 Richter     3.0 Richter      4.0 Richter
                                                                              3.0 Richter
                                                            7.0 Richter
                                5.6 Richter
               1.0 Richter
                                    13.0 Richter                   8.0 Richter
            แผนดินสะเทือน ความหวั่นไหวไมไกลตัว

                       Metrology Info จัดท�ำขึนเพือเผยแพร่ขำวสำรควำมรูดำนมำตรวิทยำ เพือให้เกิดประโยชน์
                                              ้ ่          ่          ้ ้             ่
            ในกำรพัฒนำระบบมำตรวิทยำของประเทศ และสร้ำงควำมตระหนัก (Awareness) ให้สำธำรณชน
            ได้เห็นถึงควำมส�ำคัญของมำตรวิทยำต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ควำมคิดเห็นและข้อควำม
            ต่ำงๆ เป็นทัศนะของผู้เขียนเท่ำนั้น
2
    Vol.12 No.56 May-June 2010
EDITOR'S NOTE

                                                                                               ช่วงนีขำวต่ำงๆ ทังในประเทศและต่ำงประเทศเป็นทีนำติดตำมกันอย่ำงใกล้ชด ทำงเรำมีขอมูล
                                                                                                      ้่        ้                                       ่ ่                      ิ           ้
                                                                               ที่ น ่ ำ ติ ด ตำมมำฝำกกั น ด้ ว ยเช่ น กั น เป็ น ควำมรู ้ เ กี่ ย วกั บ มำตรวิ ท ยำด้ ำ นกำรสั่ น สะเทื อ น เรื่ อ ง
                                                                               “แผ่นดินสะเทือน ความหวันไหวไม่ไกลตัว” ซึงน่ำจะเป็นข่ำวสำรทีทกท่ำนให้ควำมสนใจอยูในขณะนี้
                                                                                                                  ่                  ่                           ่ ุ                       ่
                                                                               โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งภัยทำงธรรมชำติอย่ำงแผ่นดินไหว อันเป็นผลกระทบจำกแรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้น
                                                                               โดยไม่รู้สำเหตุที่เกิดขึ้นนั้น ต้นเหตุที่แท้จริงแล้วพวกมนุษย์เรำมีส่วนร่วมเป็นต้นเหตุด้วยหรือเปล่ำ
0.5 Richter         3.0 Richter      4.0 Richter
                                                                 2.0 Richter
                                                                 3.0 Richter
                                                                               ถึงจะอย่ำงไรเมือเกิดขึนแล้วเรำก็ตองป้องกัน โดยเฉพำะควำมรูทนำจะเป็นข้อมูลให้ได้ศกษำทังทำงด้ำน
                                                                                                    ่      ้          ้                                   ้ ี่ ่                   ึ     ้
  1.0 Richter
                       5.6 Richter
                                                   7.0 Richter
                                                                               มำตรวิทยำและสำขำอื่นๆ ท่ำนสมำชิกครับลองเข้ำไปอ่ำนในคอลัมน์สกู๊ปพิเศษนะครับ
                           13.0 Richter                   8.0 Richter

                                                                                        อีกหนึ่งควำมรู้ที่น่ำสนใจที่จะได้รู้จักกับองค์กรมำตรวิทยำระดับโลกที่ท�ำหน้ำที่เป็นสถำบัน
                                                                               มำตรวิทยำระหว่ำงประเทศที่มีชื่อคุ้นหูในวงกำรมำตรวิทยำว่ำ “BIPM” มีชื่อเต็มภำษำฝรั่งเศสเรียกว่ำ
                                                                               “Bureau International des Poids et Mesures” และภำษำอังกฤษเรียกว่ำ “International Bureau of
                                                                               Weights and Measures” หรือภำษำไทยเรียกว่ำ “ส�านักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ” เพื่อจะได้
                                                                               เข้ำใจบทบำทขององค์กรนีว่ำมีทมำทีไปเป็นอย่ำงไร ในฐำนะพวกเรำชำวมำตรวิทยำทีควรต้องรูกนครับ
                                                                                                        ้      ี่ ่                                             ่         ้ั
                                                                               รับรองจะได้เพิ่มพูนควำมรู้ในมำตรวิทยำระดับสำกลได้เป็นอย่ำงดี
                                                                                        ส�ำหรับบ้ำนพีเ่ มืองน้องที่ มว. ได้รวมมือกับ สถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ สำธำรณรัฐประชำธิปไตย
                                                                                                                            ่
                                                                               ประชำชนลำว (สปป. ลำว) ซึ่งจะมีชื่อเป็นภำษำท้องถิ่นที่ สปป.ลำว เรียกว่ำ “สถาบันวัดแทก” ถ้ำไป
                                                                               แล้วก็ควรเรียกให้ถูก ไม่เช่นนั้นก็อำจหำไม่เจอหรืออำจไม่รู้จักก็ได้นะครับ เป็นเกร็ดควำมรู้มำเล่ำสู่กัน
                                                                               ฟัง ในควำมร่วมมือครังนีได้มกจกรรมมำกมำย ได้แก่ พิธลงนำมควำมร่วมมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
                                                                                                    ้ ้ ีิ                              ี
                                                                               กำรจัดสัมมนำวิชำกำร กำรให้ค�ำปรึกษำ กำรจัดติดตั้งนำฬิกำมำตรฐำน และกำรจัดนิทรรศกำรด้ำน
                                                                               มำตรวิทยำ อันจะเป็นประโยชน์ตอกำรพัฒนำด้ำนมำตรวิทยำและสร้ำงสัมพันธ์อนดีระหว่ำง สปป. ลำว
                                                                                                                 ่                                             ั
                                                                               กับ ประเทศไทย บ้ำนพี่เมืองน้องกันอย่ำงต่อเนื่อง เรำจึงได้น�ำภำพบรรยำกำศและรำยงำนสรุปควำม
                                                                               ประทับใจมำให้ชวนติดตำมกันในคอลัมน์เกำะติดข่ำวครับ
                                                                                        ท้ำยนี้ขอให้พวกเรำรู้รักสำมัคคีกันไว้ให้มำกๆๆ เพื่อจะท�ำให้บ้ำนเรำมีควำมสุขกันทุกคนและ
                                                                               ถ้วนหน้ำกันนะครับ...ขอให้รักกันมำกๆๆ นะครับ...สวัสดีครับ
                                                                                                                                                         ประสิทธิ์ บุบผาวรรณา
                                                                                                                                                             บรรณาธิการ




              คณะผู้จัดทำ�
              Advisors          AVM Pian TOTARONG, Somsak CHARKKIAN, Maj. Gen. Chainarong CHERDCHU, Veera TULASOMBAT, Ajchara CHAROENSOOK,
                                Gp. Capt. Piya BHUSAKAEW, Prawet MAHARATTANASAKUL, Virat PLANGSANGMAS, Flt.Lt. Tawat CHANGPAN, Somchai
                                NUAMSETTEE, Maj. Arkom KRACHANGMOL, Dongkamol VIROONUDOMPHOL, Nattanit PONGIJEERAKUMCHORN
              Editor            Prasit BUBPAWANNA
              Assistant Editors Janwalee DANTANASAKORN, Pattarachai SUKEEWONG, Watchareeporn KLINKHACHORN
              Publisher         Public Relations Section, Policy and Strategy Department, National Institute Metrology (Thailand), Ministry of Science and Technology
                                3/4–5 Moo 3, Klong 5, Klong Luang, Pathumthani 12120, Thailand Tel: 0 2577 5100 Fax: 0 2577 2877, 0 2577 2859
                                E-mail: nimt@nimt.or.th Website: http://www.nint.or.th


                                                                                                                                                                                                3
                                                                                                                                                              Vol.12 No.56 May-June 2010
WORLD METROLOGY


                                                      BIPM
                                         Bureau International des
                                                                        Poids et Mesures
                                                                                                              ประสิทธิ์ บุบผ�วรรณ�
                                                                                                                        ส่วนประชาสัมพันธ์



                BIPM มีชื่อเต็มภำษำฝรั่งเศสเรียกว่ำ “Bureau International des Poids et
    Mesures” และภำษำอังกฤษเรียกว่ำ “International Bureau of Weights and
    Measures” หรือภำษำไทยเรียกว่ำ “ส�านักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ” ซึ่งเป็น
    องค์ ก รมำตรวิ ท ยำระดั บ โลกที่ ท� ำ หน้ำ ที่ เ ป็ น สถำบั น มำตรวิ ท ยำระหว่ ำ งประเทศ
    เหมือนกับเป็นส�ำนักงำนเลขำธิกำร เพือด�ำเนินงำนทำงด้ำนวิชำกำรให้กบทีประชุมใหญ่
                                           ่                                   ั ่
    ของสนธิสัญญำเมตริกและมีประเทศต่ำงๆ เป็นสมำชิกทั้งหมด 54 ประเทศ รวมทั้ง
    ประเทศไทยด้วย
                ในกำรค้ำขำยแลกเปลี่ยนสินค้ำระหว่ำงประเทศจะเป็นไปอย่ำงรำบรื่น
    ทุกประเทศก็ต้องใช้ระบบหน่วยวัดเดียวกันที่เป็นสำกล ซึ่งเป็นที่มำของควำมตกลง
    ระหว่ำงประเทศ ว่ำด้วย มำตรกำรวัดปริมำณทำงกำยภำพ ซึ่งเป็นพื้นฐำนที่ส�ำคัญยิ่ง
    ต่อกำรค้ำขำยแลกเปลียนระหว่ำงประเทศ นับตังแต่มกำรลงนำมในสนธิสญญำเมตริก
                              ่                           ้   ี                    ั
    (Metric Treaty) ในปี ค.ศ. 1875 ได้ท�ำให้มีกำรพัฒนำกลไกซึ่งท�ำให้เกิดควำมเชื่อมั่น
    ในควำมเท่ำเทียมกันของมำตรฐำนกำรวัดทำงกำยภำพระหว่ำงประเทศ และน�ำไปสู่
    กำรก่อตั้งห้องปฏิบัติกำรระหว่ำงชำติขึ้นหนึ่งแห่ง กับคณะกรรมกำรระหว่ำงชำติอีก
    หลำยคณะ
                 สนธิสญญำเมตริก ก�ำหนดให้จดตังคณะกรรมกำรเพือควบคุมขึน 2 คณะ คือ
                      ั                        ั ้                      ่        ้
    General Conference for Weights and Measures (CGPM) และ International
    Committee for Weights and Measures (CIPM) พร้อมห้องปฏิบัติกำรระหว่ำงชำติ
    อีกหนึ่งแห่ง คือ International Bureau of Weights and Measures (BIPM) ส�ำนักงำน                                  
    ชังตวงวัดระหว่ำงประเทศ ซึงมีทตงอยูทเี่ มือง Sevres ใกล้กบกรุงปำรีส ประเทศฝรังเศส
      ่                         ่ ี่ ั้ ่                           ั                   ่
    พร้อมทั้งคณะกรรมกำรที่ปรึกษำอีกหลำยคณะซึ่งได้รับกำรจัดตั้งภำยหลังมีหน้ำที่ให้
                                                                                                                                   
    ค�ำปรึกษำในสำระทำงวิชำกำรแก่ CIPM ในมำตรวิทยำหลำยสำขำ เช่น คณะกรรมกำร
    ที่ปรึกษำด้ำนไฟฟ้ำ (Consultative Committee on Electricity, CCE) คณะกรรมกำร
    ที่ปรึกษำด้ำนอุณหภูมิ (Consultative Committee on Temperature, CCT) และคณะ
    กรรมกำรอื่นๆ อีกหลำยสำขำ
                                                                                                                                   
                 สมำชิกของคณะกรรมกำรที่ปรึกษำได้รับกำรคัดเลือกมำจำกห้องปฏิบัติกำร
    แห่งชำติของประเทศสมำชิกทีมควำมกระตือรือล้นในกำรวิจยมำตรฐำนกำรวัดในสำขำ
                                  ่ ี                                 ั                                                      
    ทีเ่ กียวข้อง ในขณะทีหองปฏิบตกำรมำตรฐำนแห่งชำติของประเทศสมำชิกอืนๆ ก็มสทธิ
           ่              ่ ้      ั ิ                                               ่    ีิ
    ที่จะให้เสนอข้อเสนอแนะแก่คณะกรรมกำรที่ปรึกษำได้เช่นกัน
                                                                                               SI Units

4
     Vol.12 No.56 May-June 2010
ส�ำนักงำนชั่งตวงวัดระหว่ำงประเทศ (BIPM) ประเทศฝรั่งเศส

           ส�ำหรับ International Bureau of Weights and Measures (BIPM) ส�ำนักงำน
ชั่งตวงวัดระหว่ำงประเทศ ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติกำรระหว่ำงชำติมีควำมรับผิดชอบที่
เกี่ยวข้องกับมำตรฐำนกำรวัด 3 ประกำรคือ
           1. กำรเปรียบเทียบผลกำรวัดระหว่ำงกัน (International Comparison) ของ
ประเทศสมำชิก
           2. กำรส่งเสริม ประสำนงำน และจัดท�ำเอกสำรเพือกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด
                                                           ่
ระหว่ำงกัน
           3. กำรวิจย ในสำขำของมำตรวิทยำทีเ่ ลือกสรรแล้วภำยใต้กำรอ�ำนวยกำรของ
                     ั
CIPM
           ส�ำหรับผูทสนใจสำมำรถเข้ำไปในเว็บไซด์ www.bipm.fr จะให้ควำมรูเ้ กียวกับ
                    ้ ี่                                                        ่
กำรวัดในระดับนำนำชำติ เช่น ประวัติควำมเป็นมำของ Metre Convention และ BIPM
ควำมหมำยและควำมส�ำคัญของมำตรวิทยำ (Metrology) กำรสอบกลับได้ของกำรวัด
(Traceability) รำยละเอียดเกี่ยวกับหน่วยวัด SI Units และข้อตกลงกำรยอมรับร่วมกัน
(Global Mutual Recognition Arrangement -MRA) ตลอดจน เอกสำรผลงำนกำรวิจย              ั
และกำรพัฒนำด้ำนกำรวัด เป็นต้น
           นอกจำกนี้ ท่ำนยังสำมำรถรับทรำบข้อมูลกำรสร้ำงกำรยอมรับในระดับ
นำนำชำติ (Global MRA) ของสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ (ประเทศไทย) ซึ่งเป็นหนึ่ง
ในสมำชิ ก ของ BIPM ที่ ไ ด้ ร ่ ว มน� ำ ผลกำรเปรี ย บเที ย บด้ ำ นกำรวั ด บรรจุ ล งใน
Appendix B (Key and Supplementary Comparisons) และปัจจุบนขีดควำมสำมำรถ
                                                                   ั
ด้ำนกำรสอบเทียบและกำรวัด (Calibration and Measurement Capability : CMC)
รวม 4 สำขำได้แก่ สำขำไฟฟ้ำ สำขำมวล สำขำควำมดัน และสำขำอุณหภูมิ ได้บรรจุไว้
ใน Appendix C ของ BIPM Database และเผยแพร่ใน www.bipm.fr อีกด้วย                        www.bipm.fr

                                                   ที่มา : หนังสือมาตรวิทยาเบื้องต้น
                                                                      www.bipm.fr




                                                                                                                                   5
                                                                                                      Vol.12 No.56 May-June 2010
WORLD METROLOGY

                        Criteria for Membership
                   of a Consultative Committee
                                                                                               พล.ต. ดร. ชัยณรงค์ เชิดชู
                                                                                               ผูเชี่ยวชาญ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ




              The Consultative Committees (CCs) operate under the authority of the
    International Committee for Weights and Measures (CIPM). The CIPM appoints the
    President of each CC, who is expected to chair each CC meeting and report to the
    CIPM. The President is normally chosen amongst the members of the CIPM.

              With the exception of the Consultative Committee for Units (CCU), which has
    different membership criteria, membership of the CCs is decided by the CIPM in
    accordance with the following established criteria.

             Membership of a Consultative Committee is open to institutions of Member
    States of the BIPM that are recognized internationally as most expert in the field.
    This normally requires that they:
             • be national laboratories charged with establishing national standards in
                the field;
             • be active in research and have a record of recent publications in research
                journals of international repute;
             • have demonstrated competence by a record of participation in
                international comparisons organized either by the Consultative Committee,
                the BIPM or a regional metrology organization.
             In addition the CCs may include as Members:
             • relevant intergovernmental organizations, international bodies and
                scientific unions whose participation would advance the work of the CC;
             • named individuals when their knowledge and competence are highly
                valuable to the CC, even if they come from an institute that does not fulfil
                the membership criteria.


6
     Vol.12 No.56 May-June 2010
• Any BIPM Member State NMI or designated institute with an interest in the
                                                                                                The International Committee for Weights
particular scientific field may apply for membership by writing to the Director of the BIPM
                                                                                                and Measures (CIPM) has ten Consultative
and presenting its case for membership. The Director will then normally consult the CC
                                                                                                Committees (CCs).
President who in turn may consult the CC. If deemed appropriate, at the next meeting of
                                                                                                     CCAUV : Consultative Committee for
the CIPM the CC President, with the support of the Director of the BIPM, will ask the CIPM
                                                                                                Acoustics, Ultrasound and Vibration
to approve Member status.
                                                                                                     CCEM : Consultative Committee for
          • Observer status on a CC may be granted to those institutes of Member States         Electricity and Magnetism
and to intergovernmental organizations, international bodies and scientific unions that              CCL : Consultative Committee for
actively participate in the activities organized under the auspices of the CC and its working   Length
groups but do not yet fulfil all the criteria for membership. Observer status is decided by          CCM : Consultative Committee for
the CIPM.                                                                                       Mass and Related Quantities
         • The Director of the BIPM is a Member ex officio of each CC and there is                   CCPR : Consultative Committee for
usually at least one other BIPM staff member present at each meeting.                           Photometry and Radiometry
                                                                                                     CCQM : Consultative Committee for
          • Members and Observers are generally metrology laboratories and specialized
                                                                                                Amount of Substance - Metrology in
institutes, or international organizations, each of which sends a delegate of their choice
                                                                                                Chemistry
in response to the convocation issued by the Director of the BIPM on behalf of the CC
                                                                                                     CCRI : Consultative Committee for
President. Member institutions may also send technical experts to support their delegate.
                                                                                                Ionizing Radiation
The number of such experts, typically one or two, is decided by the CC President and
                                                                                                     CCT : Consultative Committee for
is printed on the convocation. The delegate of an Observer may not send an additional
                                                                                                Thermometry
technical expert without the prior approval of the CC President.
                                                                                                     CCTF : Consultative Committee for
          • The President of a CC may invite other persons to attend a meeting of the           Time and Frequency
CC as Guests. Guests have the same status as Observers for the meeting to which they                 CCU : Consultative Committee for
are invited, but they are invited as a Guest on an individual, one-off basis.                   Units
         • The CIPM will carry out a formal review of the membership of the CCs every
four years in the year following a meeting of the CGPM although the CC President may
propose changes at each CIPM meeting.
        • The CIPM may decide to remove Member status, change Member status to
Observer status, or remove Observer status.
        • The list of CC Members and Observers is detailed in the Directory of
Consultative Committees and on the CC pages on the BIPM website.


                                                                                                                                        7
                                                                                                           Vol.12 No.56 May-June 2010
SPECIAL SCOOP


                                 แผ่นดินสะเทือน
                         ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว                                             เบญจวรรณ ธรรมวุฒิ
                                                                                      ฝ่ายมาตรวิทยาเสียงและการสั่นสะเทือน




                                           ภำยหลังจำกเหตุกำรณ์แผ่นดินไหวที่สุมำตรำ และสึนำมิที่เกิดขึ้นเมื่อปี 2547 ข่ำวสำร
                                 เรื่องแผ่นดินไหวเกือบจะเป็นข่ำวรำยสัปดำห์ ไล่ตั้งแต่ต้นปีที่เฮติ ตำมมำด้วยชิลี เร็วๆ นี้ที่ญี่ปุ่น
                                 ไต้หวัน และล่ำสุดตุรกี ค�ำถำมต่ำงๆ เกี่ยวกับเรื่องกำรสั่นสะเทือน แผ่นดินไหว และผลกระทบจำก
                                 แรงสั่นสะเทือน เกิดขึ้นอย่ำงมำกมำย เมื่อคนไทยเริ่มมีควำมเชื่อว่ำแผ่นดินไหวอำจมีผลกระทบต่อ
                                 ประเทศไทยได้จริง และเป็นเรื่องใกล้ชิดเรำมำกกว่ำที่คิด บทควำมนี้เขียนจำกบรรดำค�ำถำมหลักๆ
                                 จำกบุคคลต่ำงๆ เพื่อน�ำเสนอเรื่องรำวของกำรสั่นสะเทือนควำมถี่ต�่ำโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในเรื่องของ
                                 แผ่นดินไหว

                                 อะไรเป็นส�เหตุของแผ่นดินไหว
                                          ควำมสันสะเทือนของพืนดินเกิดได้ทงจำกกำรกระท�ำของธรรมชำติและจำกมนุษย์ ณ ทีนี้
                                                ่            ้           ั้                                         ่
                                 ขอกล่ำวเฉพำะภัยจำกธรรมชำติ อันได้แก่ กำรเคลื่อนที่ของเปลือกโลกโดยฉับพลัน ตำมแนวขอบ
                                 ของแผ่นเปลือกโลก หรือตำมแนวรอยเลือน กำรระเบิดของภูเขำไฟ กำรยุบตัวของโพรงใต้ดน แผ่นดิน
                                                                  ่                                          ิ
                                 ถล่ม อุกำบำตขนำดใหญ่ตก เป็นต้น

                                 ภัยจ�กแผ่นดินไหว
                                          ภัยจำกแผ่นดินไหวเกิดขึ้นได้ทั้งทำงตรงและทำงอ้อม เช่น พื้นดินแยก ภูเขำไฟระเบิด
                                 อำคำรสิงก่อสร้ำงพังทลำยเนืองจำกแรงสันสะเทือน ไฟไหม้ คลืนสึนำมิ แผ่นดินถล่มเส้นทำงคมนำคม
                                        ่                  ่           ่                ่
                                 เสียหำย ควำมสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สิน ควำมตื่นตระหนกของประชำกร อันมีผลต่อกำรค้ำ
                                 กำรลงทุน รวมถึงธุรกิจประกันภัยซึ่งน�ำไปสู่ควำมเสียหำยทำงเศรษฐกิจองค์รวมในประเทศ

                                 แผ่นดินไหวขน�ดเท่�ใดจึงจะเกิดภัยพิบัติ
                                             ขนำดและควำมรุนแรงทีเ่ กิด จะถูกพิจำรณำจำก พลังงำนทีเ่ กิดขึนจำกแผ่นดินไหว ซึงเป็น
                                                                                                          ้                ่
                                 พลังงำนที่เกิดจำกกำรสะสมตัวจำกกำรเคลื่อนที่ของมวลหิน เมื่อสะสมอยู่มำกกว่ำควำมแกร่งของ
                                 หินก็จะท�ำให้หินเกิดกำรฉีกขำด ปลดปล่อยพลังงำนออกมำในรูปของกำรสั่นสะเทือน ควำมร้อน
                                 เสียง หรืออืนๆ อย่ำงทันทีทนใดทีเ่ รียกว่ำ แผ่นดินไหว – Earthquake หรือ Seismic – คลืนสันสะเทือน
                                              ่             ั                                                        ่ ่
                                 ที่จริงแล้วกำรเคลื่อนที่ของมวลหินอำจจะค่อยๆ ปล่อยพลังงำนออกมำ โดยไม่เกิดเป็นแผ่นดินไหว
                                 ซึ่งเรียกว่ำ Aseismic คือไม่มีคลื่นสั่นสะเทือนนั่นเอง



8
    Vol.12 No.56 May-June 2010
ขน�ดคว�มรุนแรงของแผ่นดินไหว
         กำรเรียกขนำดควำมรุนแรงของแผ่นดินไหวซึ่งตรงกับค�ำว่ำ SIZE ในภำษำอังกฤษนั้น สำมำรถบอกได้ 2 วิธี
         วิธีแรก เป็นกำรบอก ความรุนแรง ของแผ่นดินไหวที่เรียกว่ำ Intensity เป็นกำรบอกควำมรุนแรงที่เกิดขึ้นของแผ่นดินไหว โดยมีตำรำง
บรรยำยเปรียบเทียบเรียงล�ำดับจำกควำมรับรู้ของคน หรือผลกระทบที่มีต่อสิ่งปลูกสร้ำงหรือพื้นดิน เรียงล�ำดับควำมเสียหำยจำกน้อยไปมำก รวมถึง
สภำพทำงธรณีวิทยำที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งมำตรำบอกควำมรุนแรงที่นิยมใช้คือมำตรำเมอร์แคลลี่ (Modified Mercalli Intensity) ซึ่งแบ่งออกเป็น
12 อันดับ ดังนี้

    I. Instrumental     Not felt by many people unless in favourable conditions.
    II. Feel able       Felt only by a few people at best, especially on the upper floors of buildings. Delicately suspended objects may swing.
                        Felt quite noticeably by people indoors, especially on the upper floors of buildings. Many do not recognize it as an
    III. Slight
                        earthquake. Standing motor cars may rock slightly. Vibration similar to the passing of a truck. Duration estimated.
                        Felt indoors by many people, outdoors by few people during the day. At night, some awakened. Dishes, windows,
    IV. Moderate        doors disturbed; walls make cracking sound. Sensation like heavy truck striking building. Standing motor cars rock
                        noticeably. Dishes and windows rattle alarmingly.
                        Felt outside by most, may not be felt by some outside in non-favourable conditions. Dishes and windows may break
    V. Rather Strong
                        and large bells will ring. Vibrations like large train passing close to house.
                        Felt by all; many frightened and run outdoors, walk unsteadily. Windows, dishes, glassware broken; books fall off
    VI. Strong
                        shelves; some heavy furniture moved or overturned; a few instances of fallen plaster. Damage slight.
                        Difficult to stand; furniture broken; damage negligible in building of good design and construction; slight to moderate
    VII. Very Strong    in well-built ordinary structures; considerable damage in poorly built or badly designed structures; some chimneys
                        broken. Noticed by people driving motor cars.
                        Damage slight in specially designed structures; considerable in ordinary substantial buildings with partial collapse.
    VIII. Destructive   Damage great in poorly built structures. Fall of chimneys, factory stacks, columns, monuments, walls. Heavy furniture
                        moved.
                        General panic; damage considerable in specially designed structures, well designed frame structures thrown out of
    IX. Ruinous
                        plumb. Damage great in substantial buildings, with partial collapse. Buildings shifted off foundations.
                        Some well built wooden structures destroyed; most masonry and frame structures destroyed with foundation. Rails
    X. Disastrous
                        bent.
    XI. Very Disastrous Few, if any masonry structures remain standing. Bridges destroyed. Rails bent greatly.
                        Total damage - Everything is destroyed. Total destruction. Lines of sight and level distorted. Objects thrown into the
    XII. Catastrophic
                        air. The ground moves in waves or ripples. Large amounts of rock move position.



                                                                                                                                                   9
                                                                                                                      Vol.12 No.56 May-June 2010
ส่วนวิธีที่ 2 เป็นกำรบอกขนาด – Magnitude ของแผ่นดินไหวจำกพลังงำนของแผ่นดินไหวที่ปลด
                                  ปล่อยออกมำ มำตรำที่ใช้ในกำรวัดมีหลำยมำตรำแต่ที่รู้จักกันดี คือ มำตรำของริกเตอร์ (Richter Scale) ซึ่งตั้ง
                                  เป็นเกียรติแก่นักวิทยำศำสตร์ชำวอเมริกัน ชำร์ล ฟรำนซิส ริกเตอร์ (Charles Francis Richter) ผู้คิดค้นวิธี
                                  ค�ำนวณขนำดแผ่นดินไหวจำกขนำดของควำมสูงของคลื่นแผ่นดินไหว ที่ตรวจวัดได้ด้วยเครื่องมือตรวจ
                                  แผ่นดินไหว เพื่อบ่งบอกขนำดของแผ่นดินไหว ณ ต�ำแหน่งทีเ่ กิดหรือทีเ่ รียกว่ำ “ศูนย์กลางแผ่นดินไหว” โดยทำง
                                  วิชำกำรแผ่นดินไหว (Seismology) ใช้วิธีกำรบอกขนำดแผ่นดินไหวว่ำ “แผ่นดินไหวขนาด X” เท่ำนั้น แต่
                                  ประชำชนทั่วไปมักใช้ว่ำ “แผ่นดินไหวขนาด X ริกเตอร์”

                                      Richter       Approximate
                                    Approximate         TNT for          Joule
                                                   Seismic Energy      equivalent                         Example
                                     Magnitude           Yield
                                        0.0        1 kg (2.2 lb)         4.2   MJ
                                        0.5        5.6 kg (12.4 lb)     23.5   MJ     Large hand grenade
                                        1.0        32 kg (70 lb)       132.3   MJ     Construction site blast
                                        1.5        178 kg (392 lb)     744.0   MJ     WWII conventional bombs
                                        2.0        1 metric ton         4.18   GJ     Late WWII conventional bombs
                                        2.5        5.6 metric tons      23.5   GJ     WWII blockbuster bomb
                                        3.0        31.6 metric tons    132.3   GJ     Massive Ordnance Air Blast bomb
                                        3.5        178 metric tons     747.6   GJ     Chernobyl nuclear disaster, 1986
                                        4.0        1 kiloton            4.18   TJ     Small atomic bomb
                                        4.5        5.6 kilotons         23.5   TJ
                                                                                      Nagasaki atomic bomb (actual seismic yield was
                                        5.0        31.6 kilotons       134.4 TJ       negligible since it detonated in the atmosphere)
                                                                                      Lincolnshire earthquake (UK), 2008
                                                                                      Little Skull Mtn. earthquake (NV, USA), 1992
                                        5.5        178 kilotons        747.6 TJ       Alum Rock earthquake (CA, USA), 2007
                                                                                      2008 Chino Hills earthquake (Los Angeles, USA)
                                        6.0        1 megaton             4.18 PJ      Double Spring Flat earthquake (NV, USA), 1994
                                                                                      Caracas (Venezuela), 1967 Rhodes (Greece), 2008
                                        6.5        5.6 megatons          23.5 PJ
                                                                                      Eureka Earthquake (Humboldt County CA, USA), 2010
                                        6.7        11.2 megatons         46.9 PJ      Northridge earthquake (CA, USA), 1994
                                        6.9        22.4 megatons         93.7 PJ      San Francisco Bay Area earthquake (CA, USA), 1989
                                                                                      Java earthquake (Indonesia), 2009
                                        7.0        31.6 megatons       132.3 PJ
                                                                                      2010 Haiti Earthquake


10
     Vol.12 No.56 May-June 2010
Richter      Approximate
Approximate       TNT for        Joule
              Seismic Energy   equivalent                       Example
 Magnitude         Yield
                                            Energy released is equivalent to that of Tsar Bomba
                                            (50 megatons, 210 PJ), the largest thermonuclear
    7.1       44.7 megatons    186.9 PJ
                                            weapon ever tested
                                            1944 San Juan earthquake
                                            Kashmir earthquake (Pakistan), 2005
    7.5       178 megatons     744.0 PJ
                                            Antofagasta earthquake (Chile), 2007
                                            Tangshan earthquake (China), 1976
    7.8       501 megatons      2.10 EJ
                                            Hawke’s Bay earthquake (New Zealand), 1931)
                                            San Francisco earthquake (CA, USA), 1906
                                            Queen Charlotte earthquake (BC, Canada), 1949
                                            México City earthquake (Mexico), 1985
    8.0       1 gigaton         4.18 EJ     Gujarat earthquake (India), 2001
                                            Chincha Alta earthquake (Peru), 2007
                                            Sichuan earthquake (China), 2008
                                            1894 San Juan earthquake
                                            Toba eruption[citation needed] 75,000 years ago;
    8.5       5.6 gigatons      23.5 EJ     the largest known volcanic event
                                            Sumatra earthquake (Indonesia), 2007
   8.8        15.8 gigatons     66.3   EJ   Chile earthquake, 2010
    9.0       31.6 gigatons    132.3   EJ   Lisbon Earthquake (Lisbon, Portugal), All Saints Day, 1755
   9.2        63.1 gigatons    264.0   EJ   Anchorage earthquake (AK, USA), 1964
   9.3        89.1 gigatons    372.9   EJ   Indian Ocean earthquake, 2004
   9.5        178 gigatons     744.0   EJ   Valdivia earthquake (Chile), 1960
   10.0       1 teraton         4.18   ZJ   Never recorded by humans
                                            Yucatán Peninsula impact (causing Chicxulub crater)
   13.0       108 megatons     372.9 ZJ     65 Ma ago (108 megatons = 100 teratons; almost
                                            5x1030 ergs = 500 ZJ)




                                                                                                                                      11
                                                                                                         Vol.12 No.56 May-June 2010
ส�ำหรับระดับควำมรุนแรงของแผ่นดินไหวขึนอยูกบสองตัวแปรหลัก ตัวแปรแรก คือ ขนำดแผ่นดินไหว
                                                                                     ้ ่ั
                                  เพรำะแผ่นดินไหวยิ่งมีขนำดใหญ่ก็แสดงว่ำมีพลังงำนมำกตำมไปด้วย ส่วนตัวแปรที่สอง คือ ระยะห่ำงจำก
                                  จุดรับรู้แผ่นดินไหวกับจุดก�ำเนิดแผ่นดินไหว (Epicenter Distance) ขนำดคลื่นที่เล็กกว่ำ และเวลำที่ช้ำกว่ำ
                                  ควำมรุนแรงทีได้รบ ณ จุดทีอยูไกลออกไปจำกจุดก�ำเนิดแผ่นดินไหวโดยปกติจะน้อยลง (Magnitude เป็นกำร
                                                   ่ ั          ่ ่
                                  ค�ำนวณใน Log Scale)
                                               คลื่นแผ่นดินไหว สำมำรถวัดได้ในรูปแบบต่ำงๆ เช่น วัดอัตรำเร่งสูงสุดของพื้นดิน (Peak Ground
                                  Acceleration, PGA) ซึ่งเป็นค่ำที่มีควำมส�ำคัญในกำรออกแบบเชิงวิศวกรรมของอำคำร สิ่งปลูกสร้ำงใน
                                  บริเวณที่มีควำมเสี่ยงภัยแผ่นดินไหว จำกกฎข้อที่ 2 ของนิวตัน แรงเป็นสัดส่วนโดยตรงกับมวลและอัตรำเร่ง
                                  จึงเข้ำใจได้งำยๆ ว่ำ อัตรำเร่งสูงจำกแผ่นดินไหวขนำดใหญ่กว่ำจะให้แรงทีมำกกว่ำ แต่ในบำงครังแผ่นดินไหว
                                                 ่                                                       ่                       ้
                                  ที่ขนำดใหญ่กว่ำ ก็ไม่จ�ำเป็นที่ค่ำอัตรำเร่งสูงสุดจะมำกกว่ำก็ได้ อัตรำเร่งสูงสุดนี้ มีหน่วยเป็น ฟุต/วินำที2
                                  หรือ เซนติเมตร/วินำที2 หรือเป็นสัดส่วนค่ำอัตรำเร่งของแรงโน้มถ่วงของโลก (%ของค่ำg) อำจใช้หน่วย Gal
                                  เพือเป็นเกียรติแก่ กำลิเลโอ (Galileo) ผูคนพบแรงดึงดูดของโลก แต่มขอควรทรำบทีว่ำ ผลลัพธ์ทปรำกฏของ
                                      ่                                   ้ ้                        ี้              ่             ี่
                                  ชั้นดินและชั้นหินจำกแผ่นดินไหวเดียวกัน ระยะเท่ำกันจะให้ผลที่แตกต่ำงกันได้ เช่น ค่ำอัตรำเร่งในหินจะสูง
                                  กว่ำในดิน แต่ควำมเร็วในกำรเคลื่อนที่ในหินจะน้อยกว่ำดิน
                                               อีกตัวแปรหนึง คือ องค์ประกอบด้ำนควำมถี่ (Frequency Content) เพรำะคลืนแผ่นดินไหวประกอบ
                                                            ่                                                          ่
                                  ไปด้วยคลืนสันสะเทือนทีควำมถี่ (Frequency) หรือ คำบ (Period) ต่ำงๆ กัน ผสมกันขึนเป็นคลืนแผ่นดินไหว
                                              ่ ่             ่                                                          ้     ่
                                  ดังนั้น คลื่นแผ่นดินไหวหนึ่งๆ จึงมีควำมสูงของคลื่นสูงสุด ณ ค่ำควำมถี่หรือคำบที่แตกต่ำงกัน นอกจำกนั้น
                                  ยังอำจมีควำมสูงของคลื่น (Amplitude) สูงอยู่ในหลำยช่วงควำมถี่หรือหลำยคำบก็ได้ ซึ่งก็จะให้ผลลัพธ์ของ
                                  กำรสั่นสะเทือนที่แตกต่ำงกันออกไป สิ่งเหล่ำนี้จะมีผลกระทบต่ออำคำรสิ่งก่อสร้ำงแตกต่ำงกันไป เพรำะ
                                  อำคำรแต่ละแบบ แต่ละรูปร่ำงแต่ละวัสดุ จะมีคำบธรรมชำติ (Natural Period) หรือควำมถีธรรมชำติ (Natural
                                                                                                                           ่
                                  Frequency) ของตัวเองที่แตกต่ำงกัน ในควำมเป็นจริงคลื่นแผ่นดินไหวประกอบไปด้วย คลื่นสั่นสะเทือนที่
                                  ควำมถี่สูงและควำมถี่ต�่ำ (คำบสั้นและคำบยำว) คุณสมบัติของคลื่นควำมถี่สูงจะสลำยตัวเร็วไปได้ไม่ไกล
                                  ส่วนคลื่นควำมถี่ต�่ำจะสลำยตัวช้ำมำกและไปได้เป็นระยะทำงไกลๆ
                                               ดังนั้นโอกำสที่อำคำรหรือโครงสร้ำงใดๆ จะเสียหำยหรือไม่ รุนแรงมำกหรือไม่ จึงขึ้นอยู่กับควำม
                                  สอดคล้องของควำมถี่ธรรมชำติของอำคำรและควำมถี่ของแผ่นดินไหว




12
     Vol.12 No.56 May-June 2010
ตัวแปรสุดท้ำยที่จะกล่ำวถึง คือ ช่วงระยะเวลำของกำรสั่น (Duration) ถ้ำเรำถือว่ำ กำรสั่นน้อยๆ
ที่ระดับใดระดับหนึ่งจะไม่ส่งผลกระทบต่ออำคำร ค่ำระดับนั้นก็จะบอกถึงช่วงเวลำที่กำรสั่นจะให้ผลกระทบ
ต่ออำคำรได้ แผ่นดินไหวที่ต่ำงกันจะมีช่วงระยะเวลำของกำรสั่นสั้นยำวไม่เท่ำกัน ช่วงระยะเวลำที่พลังงำน
จำกแผ่นดินไหวกระทบต่ออำคำรนำนมำก ก็มีโอกำสสร้ำงควำมเสียหำยต่ออำคำรได้มำกกว่ำ
          ในควำมเป็นจริงแล้ว กำรสั่นสะเทือน ไม่ใช่มีเพียงเรื่องของแผ่นดินไหวเท่ำนั้น หำกแต่ กำรสั่น
สะเทือนเป็นเรืองใกล้ตว และอยูรำยรอบ มีผลกระทบต่อชีวตประจ�ำวันในด้ำนคุณภำพชีวตและควำมปลอดภัย
              ่         ั        ่                       ิ                           ิ
ซึงจำกกำรส�ำรวจมำตรฐำนเกียวกับกำรวัด กำรทดสอบ กำรสอบเทียบ และมำตรฐำนอืนๆ ทีเ่ กียวข้อง ทีมอยู่
  ่                           ่                                                    ่       ่       ่ ี
ในหลำกหลำยหัวข้อ ก็พอจ�ำแนกแยกประเภท ได้ดังนี้
          1. เครื่องจักรกลอุตสำหกรรม เช่น
                   a. กำรวัดเพื่อกำรตรวจสอบกำรส่งผ่ำนจำกเครื่องจักร
                   b. กำรวัดระดับกำรสั่นสะเทือนในอำคำรโรงงำน
                   c. กำรวัดกำรสั่นสะเทือนเพื่อกำรบ�ำรุงรักษำ และวินิจฉัยสภำพเครื่องจักร (Predictive or
                      Preventive Maintenance)
          2. ผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม เช่น
                   a. กำรทดสอบกำรสั่นสะเทือนเพื่อค�ำนวณอำยุกำรล้ำตัว (Fatigue Life) ของชิ้นงำน และ
                      ผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม
                   b. กำรทดสอบกำรสั่นสะเทือนเพื่อตรวจสอบประสิทธิภำพกำรท�ำงำน (Functional Test)
                   c. กำรวัดและกำรตรวจสอบสภำพพื้นผิวชิ้นงำน (Surface Finish Measurement)
          3. งำนด้ำนสภำวะแวดล้อม เช่น
                   a. กำรตรวจวัดกำรสั่นสะเทือนเพื่อตรวจสอบมลภำวะทำงเสียง
                   b. กำรตรวจวัดกำรสันสะเทือนเพือประเมินสุขภำพของคนงำนทีเ่ กียวข้องกับเครืองจักรนันๆ
                                      ่          ่                             ่             ่       ้




                                                                                                                                       13
                                                                                                          Vol.12 No.56 May-June 2010
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับง�นม�ตรวิทย�ก�รสั่นสะเทือน
                                           ภำรกิจโดยตรงของสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ ด้ำนเสียงและกำรสั่นสะเทือน คือ กำรรักษำ
                                  มำตรฐำนอ้ำงอิงระดับสูงสุดของประเทศและถ่ำยทอดค่ำของมำตรฐำนอ้ำงอิงนันไปยังมำตรฐำนอ้ำงอิงระดับ
                                                                                                          ้
                                  ถัดไปจนถึงเครื่องมือวัดที่ใช้งำนในกิจกรรมต่ำงๆ ประกอบกำรวิเครำะห์ตำมวัตถุประสงค์ของผู้ปฏิบัติงำน
                                  เช่น กำรบ�ำรุงรักษำเครื่องจักร หรือเพื่อกำรควบคุมคุณภำพกำรผลิตให้เป็นไปตำมข้อก�ำหนดจ�ำเพำะ หรือ
                                  กำรประเมินผลด้ำนควำมปลอดภัยของโครงสร้ำงอำคำร ผู้ใช้เครื่องมือต้องตระหนักถึงควำมจ�ำเป็นในกำร
                                  สอบเทียบเครืองมือวัดทีจะใช้วด ตำมช่วงเวลำทีเหมำะสม เพือผลกำรวัดทีถกต้อง และสำมำรถย้อนกลับไป
                                                ่          ่     ั              ่          ่           ู่
                                  ยังมำตรฐำนอ้ำงอิงระดับสูงสุดของประเทศได้
                                           ห้องปฏิบัติกำรกำรสั่นสะเทือนได้จัดหำชุดเครื่องมือมำตรฐำนเพื่อขยำยควำมสำมำรถในกำรให้
                                  บริกำรงำนสอบเทียบหัววัดกำรสั่นสะเทือนควำมถี่ต�่ำ ชุดเครื่องมือดังกล่ำวได้แก่ Primary Calibration
                                  System Very Low Frequency ที่มีขอบข่ำย 0.4 – 160 Hz ในแนวแกนตั้ง และแกนนอน ส�ำหรับหัววัดกำร
                                  สันสะเทือนควำมถีตำน�ำหนักไม่เกิน 900 กรัม โดยระบบกำรวัดนีใช้ได้ทงวิธกำรตำมมำตรฐำน ISO16063-11
                                    ่               ่ �่ ้                                   ้    ั้ ี




14
     Vol.12 No.56 May-June 2010
Methods for the calibration of vibration and shock transducers -- Part 11: Primary vibration calibration
by laser interferometry และ ISO16063-21 Methods for the calibration of vibration and shock
transducers -- Part 21: Vibration calibration by comparison to a reference transducer




หัววัดกำรสั่นสะเทือนควำมถี่ต�่ำและระบบสอบเทียบกำรสั่นสะเทือนควำมถี่ต�่ำ

            อย่ำงไรก็ตำมกำรใช้งำนด้ำนกำรสันสะเทือนควำมถีตำในไทย อำจยังเป็นเพียงช่วงเริมต้นของควำม
                                          ่              ่ �่                          ่
เกี่ยวข้องในกำรสอบเทียบ กำรสอบกลับไปยังมำตรฐำนอ้ำงอิง และมำตรฐำนกำรสั่นสะเทือนควำมถี่ต�่ำ
เท่ำนั้น โดยเป็นกำรบังคับในกำรส่งสินค้ำ หรือกฏหมำยในบำงขอบข่ำยงำน ดังนั้นกำรเข้ำใจถึงหลักกำร
ท�ำงำน วิธกำรใช้งำนทีถกต้อง และกำรบ�ำรุงรักษำอย่ำงเหมำะสม รวมถึงปัจจัยทีจะท�ำให้เกิดควำมคลำดเคลือน
          ี             ู่                                              ่                       ่
ในกำรวัด จะน�ำไปสูกำรใช้งำนได้อย่ำงถูกต้อง ผลกำรวัดทีได้ แม่นย�ำ มีประสิทธิภำพ และบรรลุถงเป้ำหมำย
                      ่                               ่                                  ึ
ตำมที่ได้วำงไว้


     เอกส�รอ้�งอิง
         1. http://en.wikipedia.org/wiki/Richter_magnitude_scale. Retrieved 2010-03-11.
         2. http://www.johnmartin.com/earthquakes/eqsafs/safs_693.htm. Retrieved 2010-03-10.
         3. http://teenet.tei.or.th/tumMenuMain.html Retrieved 2010-03-03.
         4. http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=77 Retrieved 2010-03-03.




                                                                                                                                        15
                                                                                                           Vol.12 No.56 May-June 2010
NIMT ARTICLE


            ผลการเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างประเทศในสาขาการวัด
            RF Attenuation                                            (APMP.EM.RF-K19.CL)
                                           น�ยชัยรัตน์ วิเชียรมงคลกุล, น�งส�วม�ศสินี จันทร์วิจิตรกุล
                                                                                 หองปฏิบัติการคลื่นความถี่สูงและไมโครเวฟ




                                  บทคัดย่อ
                                             กำรเปรียบเทียบผลกำรวัดเป็นกิจกรรมหนึงเพือยืนยันควำมเท่ำเทียมกันของมำตรฐำนกำรวัด
                                                                                   ่ ่
                                  และผลกำรวัด รวมถึงใช้แสดงขีดควำมสำมำรถในกำรวัดของแต่ละห้องปฏิบตกำรทีรวมกำรเปรียบเทียบ
                                                                                                           ั ิ ่่
                                  สถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติจงให้ควำมส�ำคัญกับกิจกรรมดังกล่ำวตลอดมำ และได้เข้ำร่วมเปรียบเทียบ
                                                              ึ
                                  ผลกำรวัดระหว่ำงประเทศในสำขำกำรวัด RF Attenuation ระหว่ำงสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติของ
                                  ประเทศและเขตเศรษฐกิจที่เป็นสมำชิกขององค์กำรควำมร่วมมือทำงมำตรวิทยำของเอเชีย-แปซิฟิค
                                  อีก 8 สถำบันหรือที่เรียกว่ำ APMP attenuation key comparison (APMP.EM.RF-K19.CL) โดยมี
                                  สถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติสำธำรณรัฐประชำชนจีน (National Institute of Metrology (NIM), China)
                                  ท�ำหน้ำที่เป็นห้องปฏิบัติกำรอ้ำงอิง กำรเปรียบเทียบผลกำรวัดนี้ได้เริ่มต้นในเดือนตุลำคม 2007 และ
                                  สินสุดในเดือนพฤศจิกำยน 2008 โดยใช้ Agilent8496H Programmable Step Attenuator เป็นมำตรฐำน
                                    ้
                                  อ้ำงอิง (Artifact)

                                     บทนำ�
                                             CCEM (Consultative Committee for Electricity and Magnetism) attenuation key
                                  comparison ได้ถูกจัดขึ้นระหว่ำงปี 2002 – 2007 โดย National Physical Laboratory (NPL), United
                                  Kingdom ท�ำหน้ำที่เป็นห้องปฏิบัติกำรอ้ำงอิง ร่ำงรำยงำนผลกำรเปรียบเทียบผลกำรวัดฉบับ B ได้ถูก
                                  เผยแพร่เมื่อปี 2009 ส�ำหรับย่ำนของกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด คือ 0 dB ถึง 100 dB, step ละ 20 dB
                                  ณ ควำมถี่ 60 MHz และ 5 GHz
                                             เพื่อที่จะเชื่อมโยงค่ำอ้ำงอิงของ CCEM attenuation เข้ำกับค่ำมำตรฐำน RF Attenuation
                                  ของประเทศในกลุมภูมภำคเอเชีย-แปซิฟค (APMP) ส�ำหรับสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติของบำงประเทศ
                                                      ่ ิ                   ิ
                                  ในกลุมทีไม่ได้เข้ำร่วม CCEM attenuation key comparison ดังนันกำรประชุมคณะกรรมกำรวิชำกำรทำง
                                        ่ ่                                                   ้
                                  ด้ำนแรงดันไฟฟ้ำและแม่เหล็กของ APMP (Technical Committee on Electrical and Magnetism : TCEM)
                                  เมื่อปี 2004 ณ กรุงปักกิ่ง NIM ได้เสนอให้มีกำรเปรียบเทียบผลกำรวัดระหว่ำงประเทศในสำขำกำรวัด
                                  RF Attenuation ขึ้น ซึ่งต่อมำได้มีกำรก�ำหนดหมำยเลขอ้ำงอิงให้แก่กำรเปรียบเทียบผลกำรวัดนี้ คือ
                                  APMP.EM.RF-K19.CL ส�ำหรับวิธีด�ำเนินกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด (Protocol) ได้รับกำรตรวจสอบ
                                  จำก TCEM และ CCEM Working Group on Radiofrequency Quantities (GT-RF) ในปี 2007 กำร
                                  เปรียบเทียบผลกำรวัดเริ่มต้นในเดือนตุลำคม 2007 และสิ้นสุดในเดือนพฤศจิกำยน 2008 ส�ำหรับย่ำน
                                  กำรวัดและควำมถี่ของกำรเปรียบเทียบผลกำรวัดนี้จะเป็นเช่นเดียวกับ CCEM attenuation key
                                  comparison กำรเปรียบเทียบผลกำรวัดครั้งนี้มีสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติจ�ำนวน 9 สถำบันเข้ำร่วม
                                  โดย NIM ท�ำหน้ำที่เป็นห้องปฏิบัติกำรอ้ำงอิง

16
     Vol.12 No.56 May-June 2010
สถ�บันม�ตรวิทย�แห่งช�ติที่เข้�ร่วมเปรียบเทียบผลก�รวัด
         รำยนำมสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด
แสดงได้ดังตำรำงที่ 1.

ตำรำงที่ 1. สถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกำรร่วมเปรียบเทียบผลกำรวัด
      สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ                  ประเทศ                  บุคคล
 National Institute of Metrology (NIM)               China        GAO Qiulai, LIANG Weijun
 Korea Research Institute of Standards and           Korea        Joo Gwang Lee
 Science (KRISS)
 National Metrology Institute of Japan (NMIJ)        Japan        Anton Widarta
 Standards and Calibration Laboratory (SCL)       Hong Kong,      Michael W K Chow
                                                     China
 National Metrology Center (NMC)                   Singapore      Thomas Wu
 National Measurement Institute, Australia          Australia     Stephen Grady
 (NMIA)
 National Metrology Institute of South Africa     South Africa    Mariesa Prozesky, Erik Dressler
 (NMISA)
 National Physical Laboratory, India (NMLI)         India         Kamlesh Patel,P.S. Negi
 National Institute of Metrology, Thailand         Thailand       Chairat Wichianmongkonkun
 (NIMT)                                                           Massinee Chanvichitkul
*NML-SIRIM (Malaysia) ถอนตัวกำรเข้ำร่วมเปรียบเทียบผลกำรวัดเมื่อต้นปี 2008



   ม�ตรฐ�นอ้�งอิง (Artifact)
          มำตรฐำนอ้ำงอิงทีใช้ในกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด คือ Agilent8496H Programmable Step
                          ่
Attenuator, S/N: MY42141577 ทีมยำนกำรวัดตังแต่ 0 dB ถึง 110 dB ใน 10 dB steps และมำตรฐำน
                               ่ ี่         ้
อ้ำงอิงจะถูกควบคุมด้วย Agilent11713A Attenuator / Switch Driver, S/N: 3748A07600 ดังรูปที่ 1.




                                                                                                    17
                                                                      Vol.12 No.56 May-June 2010
รูปที่ 1. มำตรฐำนอ้ำงอิงที่ใช้ในกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด (Agilent8496H Programmable Step Attenuator and
                                       Agilent11713A Attenuator / Switch Driver)
                                       ในกำรขนส่งมำตรฐำนอ้ำงอิงทั้ง Programmable Step Attenuator และ Attenuator / Switch Driver จะถูก
                             บรรจุไว้ในกล่องบรรจุแข็ง

                                  วิธีดำ�เนินก�รเปรียบเทียบผลก�รวัด (Comparison Protocol)
                                      มำตรฐำนอ้ำงอิงจะถูกส่งไปทีสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ แต่ละสถำบันมีระยะเวลำในกำรด�ำเนิน กำรวัด 20 วัน
                                                                ่
                             และหลังจำกนั้นมำตรฐำนอ้ำงอิงจะถูกส่งไปยังสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติล�ำดับถัดไป ห้องปฏิบัติกำรอ้ำงอิงจะวัดค่ำ
                             ของมำตรฐำนอ้ำงอิงก่อนและหลังสิ้นสุดของกำรวัด
                                      ย่ำนกำรวัดของมำตรฐำนอ้ำงอิงในกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด ได้แก่ 0 dB ถึง 20 dB, 0 dB ถึง 40 dB, 0 dB
                             ถึง 60 dB, 0 dB ถึง 80 dB และ 0 dB ถึง 100 dB ณ ควำมถี่ 60 MHz และ 5 GHz

                             ตำรำงที่ 2. ระยะเวลำในกำรวัดของแต่ละสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ
                                              สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ                                     ระยะเวลา
                               National Institute of Metrology (NIM)                                4/11/2007 – 24/11/2007
                               Korea Research Institute of Standards and Science (KRISS)            2/12/2007 – 22/12/2007
                               National Metrology Institute of Japan (NMIJ)                         4/1/2008 – 24/1/2008
                               Standards and Calibration Laboratory (SCL)                           1/2/2008 – 21/2/2008
                               Standards and Industrial Research Institute of Malaysia (SIRIM)      1/3/2008 – 21/3/2008 (withdrew)
                               National Metrology Center (NMC)                                      1/4/2008 – 21/4/2008
                               National Measurement Institute, Australia (NMIA)                     1/5/2008 – 21/5/2008
                               National Metrology Institute of South Africa (NMISA)                 1/6/2008 – 21/6/2008
                               National Physical Laboratory, India (NMLI)                           1/7/2008 – 21/7/2008
                               National Institute of Metrology, Thailand (NIMT)                     1/8/2008 – 21/8/2008
                               National Institute of Metrology, China (NIM)                         1/9/2008 – 21/9/2008

                                  ม�ตรฐ�นก�รวัดและวิธีก�รวัด
                                     มำตรฐำนกำรวัด (Measurement Standard) และวิธีกำรวัด (Measurement Techniques) ของแต่ละสถำบัน
                             มำตรวิทยำแห่งชำติที่ใช้ในกำรเปรียบเทียบผลกำรวัดสำมำรถแสดงได้ดังตำรำงที่ 3



18
     Vol.12 No.56 May-June 2010
ตำรำงที่ 3. มำตรฐำนกำรวัดและวิธีกำรวัดของแต่ละสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ
  สถาบันมาตรวิทยา                       60 MHz                                5 GHz
      แห่งชาติ              วิธีการวัด      มาตรฐานการวัด         วิธีการวัด        มาตรฐานการวัด
  NIM (China)           AF Substitution Inductive Voltage AF Substitution           Inductive Voltage
                                            Divider                                 Divider
  KRISS (Korea)         RF Substitution DC Voltage            RF Substitution       DC Voltage
  NMIJ (Japan)          Voltage Ratio & Inductive Voltage Voltage Ratio &           Inductive Voltage
                        IF Substitution     Divider           IF Substitution       Divider
  SCL (Hong Kong) IF Substitution           WBCO attenuator IF Substitution         WBCO attenuator
  NMC (Singapore) Voltage Ratio & Inductive Voltage Voltage Ratio &                 Inductive Voltage
                        IF Substitution     Divider           IF Substitution       Divider
  NIMA (Australia)      IF Substitution     WBCO attenuator IF Substitution         WBCO attenuator
  NMISA                 Measuring           WBCO attenuator Measuring receiver WBCO attenuator
  (South Africa)        receiver                              and microwave
                                                              mixer
  NPLI (India)          IF Substitution     WBCO attenuator IF Substitution         WBCO attenuator
  NIMT (Thailand)       IF Substitution     Calibrated        IF Substitution       Calibrated
                                            attenuator                              attenuator

   ผลก�รวัด (Measurement Results)
            เพื่อให้ผลกำรเปรียบเทียบผลกำรวัดนี้สอดคล้องกับร่ำงรำยงำนผลกำรเปรียบเทียบกำรวัดฉบับ B ของ CCEM
attenuation key comparison ดังนั้น
            1. ผลกำรวัดและควำมไม่แน่นอนของกำรวัดจะถูกรำยงำนในหน่วย dB
            2. สถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติสำมำรถเลือกค่ำ attenuation ที่ 20 dB, 40 dB, 60 dB, 80 dB, 100 dB ในกำร
เปรียบเทียบผลกำรวัดนี้ (NIMT จะวัดค่ำ attenuation ที่ 20 dB, 40 dB, 60 dB เท่ำนั้น)
            3. มำตรฐำนอ้ำงอิงที่ใช้ใน CCEM attenuation key comparison จะประกอบด้วย HP84907L ที่มีย่ำนกำรวัด
ตั้งแต่ 0 ถึง 70 dB ใน 10 dB steps ซึ่งถูกก�ำหนดให้เป็นมำตรฐำนอ้ำงอิงใน K19.CL/1 และ HP8496H ที่มีย่ำนกำรวัด
ตั้งแต่ 0 ถึง 110 dB ใน 10 dB steps ซึ่งถูกก�ำหนดให้เป็นมำตรฐำนอ้ำงอิงใน K19.CL/2 ส�ำหรับ APMP attenuation
key comparison จะใช้ Agilent8496H เป็นมำตรฐำนอ้ำงอิงในกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด ดังนั้นผลกำรวัดใน APMP
attenuation key comparison จะถูกค�ำนวณเชื่อม (Linking Calculation) กับผลกำรวัดของ HP8496H ใน CCEM
attenuation key comparison




                                                                                                                19
                                                                                  Vol.12 No.56 May-June 2010
รูปที่ 2. Linked result for 20 dB at 60 MHz                            รูปที่ 3. Linked result for 60 dB at 60 MHz




     รูปที่ 4. Linked result for 20 dB at 5 GHz                          รูปที่ 5. Linked result for 60 dB at 5 GHz


                                   บทสรุป
                                      กำรเปรียบเทียบผลกำรวัดในสำขำกำรวัด RF Attenuation ได้ด�ำเนินกำรจนเสร็จสิ้น ผลกำรวัดของสถำบัน
                              มำตรวิทยำแห่งชำติแต่ละประเทศแสดงควำมสอดคล้องกัน โดยเฉพำะผลกำรวัดของ SCL, NPLI, NIMT และ KRISS
                              ยกเว้นผลกำรวัดของ NPLI’s ที่ attenuation 20 dB ณ ควำมถี่ 60 MHz

                                   เอกส�รอ้�งอิง
                                      GAO Qiulai, Draft A Report of Pilot Laboratory APMP Attenuation Key Comparison (APMP.EM.RF-
                              K19.CL) Attenuation at 60 MHz and 5 GHz using a type N step attenuator, October 2009.



20
      Vol.12 No.56 May-June 2010
NIMT ACTIVITIES

ประมวลภาพกิจกรรม
        Thailand Industrial Fair 2010 (4-7 กุมภาพันธ์ 2553)
                   มว. ร่วมกับหน่วยงำนจำกภำครัฐ และเอกชน รวม 17 หน่วยงำน จัดสัมมนำวิชำกำร
        ด้ำนมำตรวิทยำ เพือถ่ำยทอดควำมรู้ และช่วยสนับสนุนกลุมผูประกอบกำรในกลุมอุตสำหกรรม และ
                           ่                                  ่ ้                    ่
        กลุ่มธุรกิจด้ำนมำตรวิทยำ พร้อมจัดนิทรรศกำร กำรให้ค�ำปรึกษำ และ Workshop กำรสอบเทียบ
        เครื่องมือวัดด้วยตนเอง ภำยในงำน “Thailand Industrial Fair 2010” ณ ศูนย์กำรประชุม ไบเทค
        บำงนำ กรุงเทพฯ
        Thailand Industrial Fair 2010 (February 4-7, 2010)
                   NIMT together with 17 organizations from government and private sector organized
        a seminar to disseminate knowledge to industrial sector and metrology business. NIMT also
        hold an exhibition a consult service and a workshop for self calibration in Thailand Industrial
        Fair 2010 at BITEC, Bangna, Bangkok.




        ตรวจประเมิน (8-10 มีนาคม 2553)
                   นำยสมศักดิ์ ฉำกเขียน รองผู้อ�ำนวยกำร มว. ให้กำรต้อนรับ Mr. Toshiyuki Takatsuji,
        Deputy Director/ Head of Length and Dimensions Division/Head of Dimensional Standards
        Section จำก National Metrology Institute of Japan (NMIJ), National Institute of Advanced
        Industrial Science and Technology (AIST) ประเทศญี่ปุ่น และนำยญำณพัฒน์ อู่ทองทรัพย์ จำก
        Thai Laboratory Accreditation Scheme (TLAS) ประเทศไทย พร้อมคณะทีมงำน ในโอกำสเดินทำง
        มำตรวจประเมินห้องปฏิบัติกำรด้ำนมิติ ณ อำคำรผดุงมำตร มว.
        Assessment (March 8-10, 2010)
                   Mr. Somsak Charkkian, Deputy Director, NIMT welcomed Dr. Toshiyuki Takatsuji,
        Deputy Director/ Head of Length and Dimensions Division/Head of Dimensional Standards
        Section from National Metrology Institute of Japan (NMIJ), National Institute of Advanced
        Industrial Science and Technology (AIST), Japan, Mr. Yannapat Uthongsap, Thai Laboratory
        Accreditation Scheme (TLAS), Thailand, and his teams on the occasion of coming to do
        accreditation assessment Dimensional laboratory at Phadungmat Building, NIMT.



        มว. ลงนามกับ TOT (10 มีนาคม 2553)
                  พล.อ.ต. ดร. เพียร โตท่ำโรง ผู้อ�ำนวยกำร มว. และ นำยวรุธ สุวกร กรรมกำรผู้จัดกำรใหญ่
        บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหำชน) ร่วมลงนำมในบันทึกข้อตกลงว่ำด้วยควำมร่วมมือกำรถ่ำยทอดเวลำ
        มำตรฐำนประเทศไทยผ่ำนโทรศัพท์พื้นฐำน เพื่อให้บริกำรงำนด้ำนมำตรวิทยำเวลำได้อย่ำงถูกต้อง
        แม่นย�ำแก่ภำคอุตสำหกรรม และประชำชนทั่วไป ณ บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหำชน)
        Signing MOU (March 10, 2010)
                  AVM Dr. Pian Totarong, Director, NIMT and Mr.Varut Suvakorn, President, TOT
        Public Company Limited signed in MOU for the cooperation on the establishment of Thailand
        time standard by telephone for service to government and private sector at TOT Public
        Company Limited.


                                                                                                      21
                                                                         Vol.12 No.56 May-June 2010
วารสาร Metrology Info ปีที่12 ฉบับที่56 ประจำเดือน พฤษภาคม-มิถุนายน 2553
วารสาร Metrology Info ปีที่12 ฉบับที่56 ประจำเดือน พฤษภาคม-มิถุนายน 2553
วารสาร Metrology Info ปีที่12 ฉบับที่56 ประจำเดือน พฤษภาคม-มิถุนายน 2553

More Related Content

More from NIMT

NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีNIMT
 
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemA Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
NIMT
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque Standards
NIMT
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
NIMT
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
NIMT
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud ComputingNIMT
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศNIMT
 
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleCCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
NIMT
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าNIMT
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยNIMT
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 NIMT
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 NIMT
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยNIMT
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]NIMT
 
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1NIMT
 
Single-Cell Analysis
Single-Cell AnalysisSingle-Cell Analysis
Single-Cell Analysis
NIMT
 
Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3
Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3
Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3NIMT
 
Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553
Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553
Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553NIMT
 
Imeko
ImekoImeko
ImekoNIMT
 

More from NIMT (20)

NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
 
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemA Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque Standards
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
 
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleCCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
 
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
ประมวลภาพ โครงการแข่งขันทักษะมาตรวิทยาด้านมิติ ครั้งที่ 1
 
Single-Cell Analysis
Single-Cell AnalysisSingle-Cell Analysis
Single-Cell Analysis
 
Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3
Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3
Interesting Book : มาตรวิทยา-ฉบับย่อ ฉบับแก้ไขปรับปรุงครั้งที่ 3
 
Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553
Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553
Rhythm of time : จังหวะของเวลามหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2553
 
Imeko
ImekoImeko
Imeko
 

วารสาร Metrology Info ปีที่12 ฉบับที่56 ประจำเดือน พฤษภาคม-มิถุนายน 2553

  • 1. May-June 2010 No.56 WORLD METROLOGY BIPM : Bureau International des Poids et Mesures WORLD METROLOGY Criteria for Membership of a Consultative Committee NIMT ARTICLE ผลการเปรียบเทียบผลการวัดระหวาง ประเทศในสาขาการวัด RF Attenuation (APMP.EM.RF-K19.CL) NIMT NEWS ความรวมมือมาตรวิทยา ประเทศไทย - สปป. ลาว NIMT NEWS การแขงขันทักษะมาตรวิทยาดานมิติ 2.0 Richter 0.5 Richter 3.0 Richter 4.0 Richter 3.0 Richter 7.0 Richter 5.6 Richter 1.0 Richter 13.0 Richter 8.0 Richter แผนดินสะเทือน ความหวั่นไหวไมไกลตัว
  • 2. 4 WORLD METROLOGY BIPM : Bureau International des Poids et Mesures สารบัญ 6 WORLD METROLOGY Criteria for Membership of a Consultative Committee Content 8 SPECIAL SCOOP แผ่ น ดิ น สะเทื อ น ความหวั่ น ไหวไม่ ไ กลตั ว 16 NIMT ARTICLE ผลการเปรี ย บเที ย บผลการวั ด ระหว่ า ง ประเทศในสาขาการวั ด RF Attenuation (APMP.EM.RF-K19.CL) 21 METROLOGY ACTIVITIES ประมวลภาพกิ จ กรรม May-June 2010 No.56 22 NIMT NEWS ความร่ ว มมื อ มาตรวิ ท ยา ประเทศไทย - สปป. ลาว WORLD METROLOGY BIPM : Bureau International des Poids et Mesures WORLD METROLOGY Criteria for Membership of a Consultative Committee NIMT ARTICLE ผลการเปรียบเทียบผลการวัดระหวาง ประเทศในสาขาการวัด RF Attenuation (APMP.EM.RF-K19.CL) NIMT NEWS ความรวมมือมาตรวิทยา ประเทศไทย - สปป. ลาว NIMT NEWS การแขงขันทักษะมาตรวิทยาดานมิติ 24 NIMT NEWS การแข่ ง ขั น ทั ก ษะมาตรวิ ท ยาด า นมิ ติ 2.0 Richter 0.5 Richter 3.0 Richter 4.0 Richter 3.0 Richter 7.0 Richter 5.6 Richter 1.0 Richter 13.0 Richter 8.0 Richter แผนดินสะเทือน ความหวั่นไหวไมไกลตัว Metrology Info จัดท�ำขึนเพือเผยแพร่ขำวสำรควำมรูดำนมำตรวิทยำ เพือให้เกิดประโยชน์ ้ ่ ่ ้ ้ ่ ในกำรพัฒนำระบบมำตรวิทยำของประเทศ และสร้ำงควำมตระหนัก (Awareness) ให้สำธำรณชน ได้เห็นถึงควำมส�ำคัญของมำตรวิทยำต่อเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ควำมคิดเห็นและข้อควำม ต่ำงๆ เป็นทัศนะของผู้เขียนเท่ำนั้น 2 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 3. EDITOR'S NOTE ช่วงนีขำวต่ำงๆ ทังในประเทศและต่ำงประเทศเป็นทีนำติดตำมกันอย่ำงใกล้ชด ทำงเรำมีขอมูล ้่ ้ ่ ่ ิ ้ ที่ น ่ ำ ติ ด ตำมมำฝำกกั น ด้ ว ยเช่ น กั น เป็ น ควำมรู ้ เ กี่ ย วกั บ มำตรวิ ท ยำด้ ำ นกำรสั่ น สะเทื อ น เรื่ อ ง “แผ่นดินสะเทือน ความหวันไหวไม่ไกลตัว” ซึงน่ำจะเป็นข่ำวสำรทีทกท่ำนให้ควำมสนใจอยูในขณะนี้ ่ ่ ่ ุ ่ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งภัยทำงธรรมชำติอย่ำงแผ่นดินไหว อันเป็นผลกระทบจำกแรงสั่นสะเทือนที่เกิดขึ้น โดยไม่รู้สำเหตุที่เกิดขึ้นนั้น ต้นเหตุที่แท้จริงแล้วพวกมนุษย์เรำมีส่วนร่วมเป็นต้นเหตุด้วยหรือเปล่ำ 0.5 Richter 3.0 Richter 4.0 Richter 2.0 Richter 3.0 Richter ถึงจะอย่ำงไรเมือเกิดขึนแล้วเรำก็ตองป้องกัน โดยเฉพำะควำมรูทนำจะเป็นข้อมูลให้ได้ศกษำทังทำงด้ำน ่ ้ ้ ้ ี่ ่ ึ ้ 1.0 Richter 5.6 Richter 7.0 Richter มำตรวิทยำและสำขำอื่นๆ ท่ำนสมำชิกครับลองเข้ำไปอ่ำนในคอลัมน์สกู๊ปพิเศษนะครับ 13.0 Richter 8.0 Richter อีกหนึ่งควำมรู้ที่น่ำสนใจที่จะได้รู้จักกับองค์กรมำตรวิทยำระดับโลกที่ท�ำหน้ำที่เป็นสถำบัน มำตรวิทยำระหว่ำงประเทศที่มีชื่อคุ้นหูในวงกำรมำตรวิทยำว่ำ “BIPM” มีชื่อเต็มภำษำฝรั่งเศสเรียกว่ำ “Bureau International des Poids et Mesures” และภำษำอังกฤษเรียกว่ำ “International Bureau of Weights and Measures” หรือภำษำไทยเรียกว่ำ “ส�านักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ” เพื่อจะได้ เข้ำใจบทบำทขององค์กรนีว่ำมีทมำทีไปเป็นอย่ำงไร ในฐำนะพวกเรำชำวมำตรวิทยำทีควรต้องรูกนครับ ้ ี่ ่ ่ ้ั รับรองจะได้เพิ่มพูนควำมรู้ในมำตรวิทยำระดับสำกลได้เป็นอย่ำงดี ส�ำหรับบ้ำนพีเ่ มืองน้องที่ มว. ได้รวมมือกับ สถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ สำธำรณรัฐประชำธิปไตย ่ ประชำชนลำว (สปป. ลำว) ซึ่งจะมีชื่อเป็นภำษำท้องถิ่นที่ สปป.ลำว เรียกว่ำ “สถาบันวัดแทก” ถ้ำไป แล้วก็ควรเรียกให้ถูก ไม่เช่นนั้นก็อำจหำไม่เจอหรืออำจไม่รู้จักก็ได้นะครับ เป็นเกร็ดควำมรู้มำเล่ำสู่กัน ฟัง ในควำมร่วมมือครังนีได้มกจกรรมมำกมำย ได้แก่ พิธลงนำมควำมร่วมมือวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี ้ ้ ีิ ี กำรจัดสัมมนำวิชำกำร กำรให้ค�ำปรึกษำ กำรจัดติดตั้งนำฬิกำมำตรฐำน และกำรจัดนิทรรศกำรด้ำน มำตรวิทยำ อันจะเป็นประโยชน์ตอกำรพัฒนำด้ำนมำตรวิทยำและสร้ำงสัมพันธ์อนดีระหว่ำง สปป. ลำว ่ ั กับ ประเทศไทย บ้ำนพี่เมืองน้องกันอย่ำงต่อเนื่อง เรำจึงได้น�ำภำพบรรยำกำศและรำยงำนสรุปควำม ประทับใจมำให้ชวนติดตำมกันในคอลัมน์เกำะติดข่ำวครับ ท้ำยนี้ขอให้พวกเรำรู้รักสำมัคคีกันไว้ให้มำกๆๆ เพื่อจะท�ำให้บ้ำนเรำมีควำมสุขกันทุกคนและ ถ้วนหน้ำกันนะครับ...ขอให้รักกันมำกๆๆ นะครับ...สวัสดีครับ ประสิทธิ์ บุบผาวรรณา บรรณาธิการ คณะผู้จัดทำ� Advisors AVM Pian TOTARONG, Somsak CHARKKIAN, Maj. Gen. Chainarong CHERDCHU, Veera TULASOMBAT, Ajchara CHAROENSOOK, Gp. Capt. Piya BHUSAKAEW, Prawet MAHARATTANASAKUL, Virat PLANGSANGMAS, Flt.Lt. Tawat CHANGPAN, Somchai NUAMSETTEE, Maj. Arkom KRACHANGMOL, Dongkamol VIROONUDOMPHOL, Nattanit PONGIJEERAKUMCHORN Editor Prasit BUBPAWANNA Assistant Editors Janwalee DANTANASAKORN, Pattarachai SUKEEWONG, Watchareeporn KLINKHACHORN Publisher Public Relations Section, Policy and Strategy Department, National Institute Metrology (Thailand), Ministry of Science and Technology 3/4–5 Moo 3, Klong 5, Klong Luang, Pathumthani 12120, Thailand Tel: 0 2577 5100 Fax: 0 2577 2877, 0 2577 2859 E-mail: nimt@nimt.or.th Website: http://www.nint.or.th 3 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 4. WORLD METROLOGY BIPM Bureau International des Poids et Mesures ประสิทธิ์ บุบผ�วรรณ� ส่วนประชาสัมพันธ์ BIPM มีชื่อเต็มภำษำฝรั่งเศสเรียกว่ำ “Bureau International des Poids et Mesures” และภำษำอังกฤษเรียกว่ำ “International Bureau of Weights and Measures” หรือภำษำไทยเรียกว่ำ “ส�านักงานชั่งตวงวัดระหว่างประเทศ” ซึ่งเป็น องค์ ก รมำตรวิ ท ยำระดั บ โลกที่ ท� ำ หน้ำ ที่ เ ป็ น สถำบั น มำตรวิ ท ยำระหว่ ำ งประเทศ เหมือนกับเป็นส�ำนักงำนเลขำธิกำร เพือด�ำเนินงำนทำงด้ำนวิชำกำรให้กบทีประชุมใหญ่ ่ ั ่ ของสนธิสัญญำเมตริกและมีประเทศต่ำงๆ เป็นสมำชิกทั้งหมด 54 ประเทศ รวมทั้ง ประเทศไทยด้วย ในกำรค้ำขำยแลกเปลี่ยนสินค้ำระหว่ำงประเทศจะเป็นไปอย่ำงรำบรื่น ทุกประเทศก็ต้องใช้ระบบหน่วยวัดเดียวกันที่เป็นสำกล ซึ่งเป็นที่มำของควำมตกลง ระหว่ำงประเทศ ว่ำด้วย มำตรกำรวัดปริมำณทำงกำยภำพ ซึ่งเป็นพื้นฐำนที่ส�ำคัญยิ่ง ต่อกำรค้ำขำยแลกเปลียนระหว่ำงประเทศ นับตังแต่มกำรลงนำมในสนธิสญญำเมตริก ่ ้ ี ั (Metric Treaty) ในปี ค.ศ. 1875 ได้ท�ำให้มีกำรพัฒนำกลไกซึ่งท�ำให้เกิดควำมเชื่อมั่น ในควำมเท่ำเทียมกันของมำตรฐำนกำรวัดทำงกำยภำพระหว่ำงประเทศ และน�ำไปสู่ กำรก่อตั้งห้องปฏิบัติกำรระหว่ำงชำติขึ้นหนึ่งแห่ง กับคณะกรรมกำรระหว่ำงชำติอีก หลำยคณะ สนธิสญญำเมตริก ก�ำหนดให้จดตังคณะกรรมกำรเพือควบคุมขึน 2 คณะ คือ ั ั ้ ่ ้ General Conference for Weights and Measures (CGPM) และ International Committee for Weights and Measures (CIPM) พร้อมห้องปฏิบัติกำรระหว่ำงชำติ อีกหนึ่งแห่ง คือ International Bureau of Weights and Measures (BIPM) ส�ำนักงำน  ชังตวงวัดระหว่ำงประเทศ ซึงมีทตงอยูทเี่ มือง Sevres ใกล้กบกรุงปำรีส ประเทศฝรังเศส ่ ่ ี่ ั้ ่ ั ่ พร้อมทั้งคณะกรรมกำรที่ปรึกษำอีกหลำยคณะซึ่งได้รับกำรจัดตั้งภำยหลังมีหน้ำที่ให้   ค�ำปรึกษำในสำระทำงวิชำกำรแก่ CIPM ในมำตรวิทยำหลำยสำขำ เช่น คณะกรรมกำร ที่ปรึกษำด้ำนไฟฟ้ำ (Consultative Committee on Electricity, CCE) คณะกรรมกำร ที่ปรึกษำด้ำนอุณหภูมิ (Consultative Committee on Temperature, CCT) และคณะ กรรมกำรอื่นๆ อีกหลำยสำขำ    สมำชิกของคณะกรรมกำรที่ปรึกษำได้รับกำรคัดเลือกมำจำกห้องปฏิบัติกำร แห่งชำติของประเทศสมำชิกทีมควำมกระตือรือล้นในกำรวิจยมำตรฐำนกำรวัดในสำขำ ่ ี ั   ทีเ่ กียวข้อง ในขณะทีหองปฏิบตกำรมำตรฐำนแห่งชำติของประเทศสมำชิกอืนๆ ก็มสทธิ ่ ่ ้ ั ิ ่ ีิ ที่จะให้เสนอข้อเสนอแนะแก่คณะกรรมกำรที่ปรึกษำได้เช่นกัน SI Units 4 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 5. ส�ำนักงำนชั่งตวงวัดระหว่ำงประเทศ (BIPM) ประเทศฝรั่งเศส ส�ำหรับ International Bureau of Weights and Measures (BIPM) ส�ำนักงำน ชั่งตวงวัดระหว่ำงประเทศ ซึ่งเป็นห้องปฏิบัติกำรระหว่ำงชำติมีควำมรับผิดชอบที่ เกี่ยวข้องกับมำตรฐำนกำรวัด 3 ประกำรคือ 1. กำรเปรียบเทียบผลกำรวัดระหว่ำงกัน (International Comparison) ของ ประเทศสมำชิก 2. กำรส่งเสริม ประสำนงำน และจัดท�ำเอกสำรเพือกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด ่ ระหว่ำงกัน 3. กำรวิจย ในสำขำของมำตรวิทยำทีเ่ ลือกสรรแล้วภำยใต้กำรอ�ำนวยกำรของ ั CIPM ส�ำหรับผูทสนใจสำมำรถเข้ำไปในเว็บไซด์ www.bipm.fr จะให้ควำมรูเ้ กียวกับ ้ ี่ ่ กำรวัดในระดับนำนำชำติ เช่น ประวัติควำมเป็นมำของ Metre Convention และ BIPM ควำมหมำยและควำมส�ำคัญของมำตรวิทยำ (Metrology) กำรสอบกลับได้ของกำรวัด (Traceability) รำยละเอียดเกี่ยวกับหน่วยวัด SI Units และข้อตกลงกำรยอมรับร่วมกัน (Global Mutual Recognition Arrangement -MRA) ตลอดจน เอกสำรผลงำนกำรวิจย ั และกำรพัฒนำด้ำนกำรวัด เป็นต้น นอกจำกนี้ ท่ำนยังสำมำรถรับทรำบข้อมูลกำรสร้ำงกำรยอมรับในระดับ นำนำชำติ (Global MRA) ของสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ (ประเทศไทย) ซึ่งเป็นหนึ่ง ในสมำชิ ก ของ BIPM ที่ ไ ด้ ร ่ ว มน� ำ ผลกำรเปรี ย บเที ย บด้ ำ นกำรวั ด บรรจุ ล งใน Appendix B (Key and Supplementary Comparisons) และปัจจุบนขีดควำมสำมำรถ ั ด้ำนกำรสอบเทียบและกำรวัด (Calibration and Measurement Capability : CMC) รวม 4 สำขำได้แก่ สำขำไฟฟ้ำ สำขำมวล สำขำควำมดัน และสำขำอุณหภูมิ ได้บรรจุไว้ ใน Appendix C ของ BIPM Database และเผยแพร่ใน www.bipm.fr อีกด้วย www.bipm.fr ที่มา : หนังสือมาตรวิทยาเบื้องต้น www.bipm.fr 5 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 6. WORLD METROLOGY Criteria for Membership of a Consultative Committee พล.ต. ดร. ชัยณรงค์ เชิดชู ผูเชี่ยวชาญ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ The Consultative Committees (CCs) operate under the authority of the International Committee for Weights and Measures (CIPM). The CIPM appoints the President of each CC, who is expected to chair each CC meeting and report to the CIPM. The President is normally chosen amongst the members of the CIPM. With the exception of the Consultative Committee for Units (CCU), which has different membership criteria, membership of the CCs is decided by the CIPM in accordance with the following established criteria. Membership of a Consultative Committee is open to institutions of Member States of the BIPM that are recognized internationally as most expert in the field. This normally requires that they: • be national laboratories charged with establishing national standards in the field; • be active in research and have a record of recent publications in research journals of international repute; • have demonstrated competence by a record of participation in international comparisons organized either by the Consultative Committee, the BIPM or a regional metrology organization. In addition the CCs may include as Members: • relevant intergovernmental organizations, international bodies and scientific unions whose participation would advance the work of the CC; • named individuals when their knowledge and competence are highly valuable to the CC, even if they come from an institute that does not fulfil the membership criteria. 6 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 7. • Any BIPM Member State NMI or designated institute with an interest in the The International Committee for Weights particular scientific field may apply for membership by writing to the Director of the BIPM and Measures (CIPM) has ten Consultative and presenting its case for membership. The Director will then normally consult the CC Committees (CCs). President who in turn may consult the CC. If deemed appropriate, at the next meeting of CCAUV : Consultative Committee for the CIPM the CC President, with the support of the Director of the BIPM, will ask the CIPM Acoustics, Ultrasound and Vibration to approve Member status. CCEM : Consultative Committee for • Observer status on a CC may be granted to those institutes of Member States Electricity and Magnetism and to intergovernmental organizations, international bodies and scientific unions that CCL : Consultative Committee for actively participate in the activities organized under the auspices of the CC and its working Length groups but do not yet fulfil all the criteria for membership. Observer status is decided by CCM : Consultative Committee for the CIPM. Mass and Related Quantities • The Director of the BIPM is a Member ex officio of each CC and there is CCPR : Consultative Committee for usually at least one other BIPM staff member present at each meeting. Photometry and Radiometry CCQM : Consultative Committee for • Members and Observers are generally metrology laboratories and specialized Amount of Substance - Metrology in institutes, or international organizations, each of which sends a delegate of their choice Chemistry in response to the convocation issued by the Director of the BIPM on behalf of the CC CCRI : Consultative Committee for President. Member institutions may also send technical experts to support their delegate. Ionizing Radiation The number of such experts, typically one or two, is decided by the CC President and CCT : Consultative Committee for is printed on the convocation. The delegate of an Observer may not send an additional Thermometry technical expert without the prior approval of the CC President. CCTF : Consultative Committee for • The President of a CC may invite other persons to attend a meeting of the Time and Frequency CC as Guests. Guests have the same status as Observers for the meeting to which they CCU : Consultative Committee for are invited, but they are invited as a Guest on an individual, one-off basis. Units • The CIPM will carry out a formal review of the membership of the CCs every four years in the year following a meeting of the CGPM although the CC President may propose changes at each CIPM meeting. • The CIPM may decide to remove Member status, change Member status to Observer status, or remove Observer status. • The list of CC Members and Observers is detailed in the Directory of Consultative Committees and on the CC pages on the BIPM website. 7 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 8. SPECIAL SCOOP แผ่นดินสะเทือน ความหวั่นไหวไม่ไกลตัว เบญจวรรณ ธรรมวุฒิ ฝ่ายมาตรวิทยาเสียงและการสั่นสะเทือน ภำยหลังจำกเหตุกำรณ์แผ่นดินไหวที่สุมำตรำ และสึนำมิที่เกิดขึ้นเมื่อปี 2547 ข่ำวสำร เรื่องแผ่นดินไหวเกือบจะเป็นข่ำวรำยสัปดำห์ ไล่ตั้งแต่ต้นปีที่เฮติ ตำมมำด้วยชิลี เร็วๆ นี้ที่ญี่ปุ่น ไต้หวัน และล่ำสุดตุรกี ค�ำถำมต่ำงๆ เกี่ยวกับเรื่องกำรสั่นสะเทือน แผ่นดินไหว และผลกระทบจำก แรงสั่นสะเทือน เกิดขึ้นอย่ำงมำกมำย เมื่อคนไทยเริ่มมีควำมเชื่อว่ำแผ่นดินไหวอำจมีผลกระทบต่อ ประเทศไทยได้จริง และเป็นเรื่องใกล้ชิดเรำมำกกว่ำที่คิด บทควำมนี้เขียนจำกบรรดำค�ำถำมหลักๆ จำกบุคคลต่ำงๆ เพื่อน�ำเสนอเรื่องรำวของกำรสั่นสะเทือนควำมถี่ต�่ำโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในเรื่องของ แผ่นดินไหว อะไรเป็นส�เหตุของแผ่นดินไหว ควำมสันสะเทือนของพืนดินเกิดได้ทงจำกกำรกระท�ำของธรรมชำติและจำกมนุษย์ ณ ทีนี้ ่ ้ ั้ ่ ขอกล่ำวเฉพำะภัยจำกธรรมชำติ อันได้แก่ กำรเคลื่อนที่ของเปลือกโลกโดยฉับพลัน ตำมแนวขอบ ของแผ่นเปลือกโลก หรือตำมแนวรอยเลือน กำรระเบิดของภูเขำไฟ กำรยุบตัวของโพรงใต้ดน แผ่นดิน ่ ิ ถล่ม อุกำบำตขนำดใหญ่ตก เป็นต้น ภัยจ�กแผ่นดินไหว ภัยจำกแผ่นดินไหวเกิดขึ้นได้ทั้งทำงตรงและทำงอ้อม เช่น พื้นดินแยก ภูเขำไฟระเบิด อำคำรสิงก่อสร้ำงพังทลำยเนืองจำกแรงสันสะเทือน ไฟไหม้ คลืนสึนำมิ แผ่นดินถล่มเส้นทำงคมนำคม ่ ่ ่ ่ เสียหำย ควำมสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สิน ควำมตื่นตระหนกของประชำกร อันมีผลต่อกำรค้ำ กำรลงทุน รวมถึงธุรกิจประกันภัยซึ่งน�ำไปสู่ควำมเสียหำยทำงเศรษฐกิจองค์รวมในประเทศ แผ่นดินไหวขน�ดเท่�ใดจึงจะเกิดภัยพิบัติ ขนำดและควำมรุนแรงทีเ่ กิด จะถูกพิจำรณำจำก พลังงำนทีเ่ กิดขึนจำกแผ่นดินไหว ซึงเป็น ้ ่ พลังงำนที่เกิดจำกกำรสะสมตัวจำกกำรเคลื่อนที่ของมวลหิน เมื่อสะสมอยู่มำกกว่ำควำมแกร่งของ หินก็จะท�ำให้หินเกิดกำรฉีกขำด ปลดปล่อยพลังงำนออกมำในรูปของกำรสั่นสะเทือน ควำมร้อน เสียง หรืออืนๆ อย่ำงทันทีทนใดทีเ่ รียกว่ำ แผ่นดินไหว – Earthquake หรือ Seismic – คลืนสันสะเทือน ่ ั ่ ่ ที่จริงแล้วกำรเคลื่อนที่ของมวลหินอำจจะค่อยๆ ปล่อยพลังงำนออกมำ โดยไม่เกิดเป็นแผ่นดินไหว ซึ่งเรียกว่ำ Aseismic คือไม่มีคลื่นสั่นสะเทือนนั่นเอง 8 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 9. ขน�ดคว�มรุนแรงของแผ่นดินไหว กำรเรียกขนำดควำมรุนแรงของแผ่นดินไหวซึ่งตรงกับค�ำว่ำ SIZE ในภำษำอังกฤษนั้น สำมำรถบอกได้ 2 วิธี วิธีแรก เป็นกำรบอก ความรุนแรง ของแผ่นดินไหวที่เรียกว่ำ Intensity เป็นกำรบอกควำมรุนแรงที่เกิดขึ้นของแผ่นดินไหว โดยมีตำรำง บรรยำยเปรียบเทียบเรียงล�ำดับจำกควำมรับรู้ของคน หรือผลกระทบที่มีต่อสิ่งปลูกสร้ำงหรือพื้นดิน เรียงล�ำดับควำมเสียหำยจำกน้อยไปมำก รวมถึง สภำพทำงธรณีวิทยำที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งมำตรำบอกควำมรุนแรงที่นิยมใช้คือมำตรำเมอร์แคลลี่ (Modified Mercalli Intensity) ซึ่งแบ่งออกเป็น 12 อันดับ ดังนี้ I. Instrumental Not felt by many people unless in favourable conditions. II. Feel able Felt only by a few people at best, especially on the upper floors of buildings. Delicately suspended objects may swing. Felt quite noticeably by people indoors, especially on the upper floors of buildings. Many do not recognize it as an III. Slight earthquake. Standing motor cars may rock slightly. Vibration similar to the passing of a truck. Duration estimated. Felt indoors by many people, outdoors by few people during the day. At night, some awakened. Dishes, windows, IV. Moderate doors disturbed; walls make cracking sound. Sensation like heavy truck striking building. Standing motor cars rock noticeably. Dishes and windows rattle alarmingly. Felt outside by most, may not be felt by some outside in non-favourable conditions. Dishes and windows may break V. Rather Strong and large bells will ring. Vibrations like large train passing close to house. Felt by all; many frightened and run outdoors, walk unsteadily. Windows, dishes, glassware broken; books fall off VI. Strong shelves; some heavy furniture moved or overturned; a few instances of fallen plaster. Damage slight. Difficult to stand; furniture broken; damage negligible in building of good design and construction; slight to moderate VII. Very Strong in well-built ordinary structures; considerable damage in poorly built or badly designed structures; some chimneys broken. Noticed by people driving motor cars. Damage slight in specially designed structures; considerable in ordinary substantial buildings with partial collapse. VIII. Destructive Damage great in poorly built structures. Fall of chimneys, factory stacks, columns, monuments, walls. Heavy furniture moved. General panic; damage considerable in specially designed structures, well designed frame structures thrown out of IX. Ruinous plumb. Damage great in substantial buildings, with partial collapse. Buildings shifted off foundations. Some well built wooden structures destroyed; most masonry and frame structures destroyed with foundation. Rails X. Disastrous bent. XI. Very Disastrous Few, if any masonry structures remain standing. Bridges destroyed. Rails bent greatly. Total damage - Everything is destroyed. Total destruction. Lines of sight and level distorted. Objects thrown into the XII. Catastrophic air. The ground moves in waves or ripples. Large amounts of rock move position. 9 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 10. ส่วนวิธีที่ 2 เป็นกำรบอกขนาด – Magnitude ของแผ่นดินไหวจำกพลังงำนของแผ่นดินไหวที่ปลด ปล่อยออกมำ มำตรำที่ใช้ในกำรวัดมีหลำยมำตรำแต่ที่รู้จักกันดี คือ มำตรำของริกเตอร์ (Richter Scale) ซึ่งตั้ง เป็นเกียรติแก่นักวิทยำศำสตร์ชำวอเมริกัน ชำร์ล ฟรำนซิส ริกเตอร์ (Charles Francis Richter) ผู้คิดค้นวิธี ค�ำนวณขนำดแผ่นดินไหวจำกขนำดของควำมสูงของคลื่นแผ่นดินไหว ที่ตรวจวัดได้ด้วยเครื่องมือตรวจ แผ่นดินไหว เพื่อบ่งบอกขนำดของแผ่นดินไหว ณ ต�ำแหน่งทีเ่ กิดหรือทีเ่ รียกว่ำ “ศูนย์กลางแผ่นดินไหว” โดยทำง วิชำกำรแผ่นดินไหว (Seismology) ใช้วิธีกำรบอกขนำดแผ่นดินไหวว่ำ “แผ่นดินไหวขนาด X” เท่ำนั้น แต่ ประชำชนทั่วไปมักใช้ว่ำ “แผ่นดินไหวขนาด X ริกเตอร์” Richter Approximate Approximate TNT for Joule Seismic Energy equivalent Example Magnitude Yield 0.0 1 kg (2.2 lb) 4.2 MJ 0.5 5.6 kg (12.4 lb) 23.5 MJ Large hand grenade 1.0 32 kg (70 lb) 132.3 MJ Construction site blast 1.5 178 kg (392 lb) 744.0 MJ WWII conventional bombs 2.0 1 metric ton 4.18 GJ Late WWII conventional bombs 2.5 5.6 metric tons 23.5 GJ WWII blockbuster bomb 3.0 31.6 metric tons 132.3 GJ Massive Ordnance Air Blast bomb 3.5 178 metric tons 747.6 GJ Chernobyl nuclear disaster, 1986 4.0 1 kiloton 4.18 TJ Small atomic bomb 4.5 5.6 kilotons 23.5 TJ Nagasaki atomic bomb (actual seismic yield was 5.0 31.6 kilotons 134.4 TJ negligible since it detonated in the atmosphere) Lincolnshire earthquake (UK), 2008 Little Skull Mtn. earthquake (NV, USA), 1992 5.5 178 kilotons 747.6 TJ Alum Rock earthquake (CA, USA), 2007 2008 Chino Hills earthquake (Los Angeles, USA) 6.0 1 megaton 4.18 PJ Double Spring Flat earthquake (NV, USA), 1994 Caracas (Venezuela), 1967 Rhodes (Greece), 2008 6.5 5.6 megatons 23.5 PJ Eureka Earthquake (Humboldt County CA, USA), 2010 6.7 11.2 megatons 46.9 PJ Northridge earthquake (CA, USA), 1994 6.9 22.4 megatons 93.7 PJ San Francisco Bay Area earthquake (CA, USA), 1989 Java earthquake (Indonesia), 2009 7.0 31.6 megatons 132.3 PJ 2010 Haiti Earthquake 10 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 11. Richter Approximate Approximate TNT for Joule Seismic Energy equivalent Example Magnitude Yield Energy released is equivalent to that of Tsar Bomba (50 megatons, 210 PJ), the largest thermonuclear 7.1 44.7 megatons 186.9 PJ weapon ever tested 1944 San Juan earthquake Kashmir earthquake (Pakistan), 2005 7.5 178 megatons 744.0 PJ Antofagasta earthquake (Chile), 2007 Tangshan earthquake (China), 1976 7.8 501 megatons 2.10 EJ Hawke’s Bay earthquake (New Zealand), 1931) San Francisco earthquake (CA, USA), 1906 Queen Charlotte earthquake (BC, Canada), 1949 México City earthquake (Mexico), 1985 8.0 1 gigaton 4.18 EJ Gujarat earthquake (India), 2001 Chincha Alta earthquake (Peru), 2007 Sichuan earthquake (China), 2008 1894 San Juan earthquake Toba eruption[citation needed] 75,000 years ago; 8.5 5.6 gigatons 23.5 EJ the largest known volcanic event Sumatra earthquake (Indonesia), 2007 8.8 15.8 gigatons 66.3 EJ Chile earthquake, 2010 9.0 31.6 gigatons 132.3 EJ Lisbon Earthquake (Lisbon, Portugal), All Saints Day, 1755 9.2 63.1 gigatons 264.0 EJ Anchorage earthquake (AK, USA), 1964 9.3 89.1 gigatons 372.9 EJ Indian Ocean earthquake, 2004 9.5 178 gigatons 744.0 EJ Valdivia earthquake (Chile), 1960 10.0 1 teraton 4.18 ZJ Never recorded by humans Yucatán Peninsula impact (causing Chicxulub crater) 13.0 108 megatons 372.9 ZJ 65 Ma ago (108 megatons = 100 teratons; almost 5x1030 ergs = 500 ZJ) 11 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 12. ส�ำหรับระดับควำมรุนแรงของแผ่นดินไหวขึนอยูกบสองตัวแปรหลัก ตัวแปรแรก คือ ขนำดแผ่นดินไหว ้ ่ั เพรำะแผ่นดินไหวยิ่งมีขนำดใหญ่ก็แสดงว่ำมีพลังงำนมำกตำมไปด้วย ส่วนตัวแปรที่สอง คือ ระยะห่ำงจำก จุดรับรู้แผ่นดินไหวกับจุดก�ำเนิดแผ่นดินไหว (Epicenter Distance) ขนำดคลื่นที่เล็กกว่ำ และเวลำที่ช้ำกว่ำ ควำมรุนแรงทีได้รบ ณ จุดทีอยูไกลออกไปจำกจุดก�ำเนิดแผ่นดินไหวโดยปกติจะน้อยลง (Magnitude เป็นกำร ่ ั ่ ่ ค�ำนวณใน Log Scale) คลื่นแผ่นดินไหว สำมำรถวัดได้ในรูปแบบต่ำงๆ เช่น วัดอัตรำเร่งสูงสุดของพื้นดิน (Peak Ground Acceleration, PGA) ซึ่งเป็นค่ำที่มีควำมส�ำคัญในกำรออกแบบเชิงวิศวกรรมของอำคำร สิ่งปลูกสร้ำงใน บริเวณที่มีควำมเสี่ยงภัยแผ่นดินไหว จำกกฎข้อที่ 2 ของนิวตัน แรงเป็นสัดส่วนโดยตรงกับมวลและอัตรำเร่ง จึงเข้ำใจได้งำยๆ ว่ำ อัตรำเร่งสูงจำกแผ่นดินไหวขนำดใหญ่กว่ำจะให้แรงทีมำกกว่ำ แต่ในบำงครังแผ่นดินไหว ่ ่ ้ ที่ขนำดใหญ่กว่ำ ก็ไม่จ�ำเป็นที่ค่ำอัตรำเร่งสูงสุดจะมำกกว่ำก็ได้ อัตรำเร่งสูงสุดนี้ มีหน่วยเป็น ฟุต/วินำที2 หรือ เซนติเมตร/วินำที2 หรือเป็นสัดส่วนค่ำอัตรำเร่งของแรงโน้มถ่วงของโลก (%ของค่ำg) อำจใช้หน่วย Gal เพือเป็นเกียรติแก่ กำลิเลโอ (Galileo) ผูคนพบแรงดึงดูดของโลก แต่มขอควรทรำบทีว่ำ ผลลัพธ์ทปรำกฏของ ่ ้ ้ ี้ ่ ี่ ชั้นดินและชั้นหินจำกแผ่นดินไหวเดียวกัน ระยะเท่ำกันจะให้ผลที่แตกต่ำงกันได้ เช่น ค่ำอัตรำเร่งในหินจะสูง กว่ำในดิน แต่ควำมเร็วในกำรเคลื่อนที่ในหินจะน้อยกว่ำดิน อีกตัวแปรหนึง คือ องค์ประกอบด้ำนควำมถี่ (Frequency Content) เพรำะคลืนแผ่นดินไหวประกอบ ่ ่ ไปด้วยคลืนสันสะเทือนทีควำมถี่ (Frequency) หรือ คำบ (Period) ต่ำงๆ กัน ผสมกันขึนเป็นคลืนแผ่นดินไหว ่ ่ ่ ้ ่ ดังนั้น คลื่นแผ่นดินไหวหนึ่งๆ จึงมีควำมสูงของคลื่นสูงสุด ณ ค่ำควำมถี่หรือคำบที่แตกต่ำงกัน นอกจำกนั้น ยังอำจมีควำมสูงของคลื่น (Amplitude) สูงอยู่ในหลำยช่วงควำมถี่หรือหลำยคำบก็ได้ ซึ่งก็จะให้ผลลัพธ์ของ กำรสั่นสะเทือนที่แตกต่ำงกันออกไป สิ่งเหล่ำนี้จะมีผลกระทบต่ออำคำรสิ่งก่อสร้ำงแตกต่ำงกันไป เพรำะ อำคำรแต่ละแบบ แต่ละรูปร่ำงแต่ละวัสดุ จะมีคำบธรรมชำติ (Natural Period) หรือควำมถีธรรมชำติ (Natural ่ Frequency) ของตัวเองที่แตกต่ำงกัน ในควำมเป็นจริงคลื่นแผ่นดินไหวประกอบไปด้วย คลื่นสั่นสะเทือนที่ ควำมถี่สูงและควำมถี่ต�่ำ (คำบสั้นและคำบยำว) คุณสมบัติของคลื่นควำมถี่สูงจะสลำยตัวเร็วไปได้ไม่ไกล ส่วนคลื่นควำมถี่ต�่ำจะสลำยตัวช้ำมำกและไปได้เป็นระยะทำงไกลๆ ดังนั้นโอกำสที่อำคำรหรือโครงสร้ำงใดๆ จะเสียหำยหรือไม่ รุนแรงมำกหรือไม่ จึงขึ้นอยู่กับควำม สอดคล้องของควำมถี่ธรรมชำติของอำคำรและควำมถี่ของแผ่นดินไหว 12 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 13. ตัวแปรสุดท้ำยที่จะกล่ำวถึง คือ ช่วงระยะเวลำของกำรสั่น (Duration) ถ้ำเรำถือว่ำ กำรสั่นน้อยๆ ที่ระดับใดระดับหนึ่งจะไม่ส่งผลกระทบต่ออำคำร ค่ำระดับนั้นก็จะบอกถึงช่วงเวลำที่กำรสั่นจะให้ผลกระทบ ต่ออำคำรได้ แผ่นดินไหวที่ต่ำงกันจะมีช่วงระยะเวลำของกำรสั่นสั้นยำวไม่เท่ำกัน ช่วงระยะเวลำที่พลังงำน จำกแผ่นดินไหวกระทบต่ออำคำรนำนมำก ก็มีโอกำสสร้ำงควำมเสียหำยต่ออำคำรได้มำกกว่ำ ในควำมเป็นจริงแล้ว กำรสั่นสะเทือน ไม่ใช่มีเพียงเรื่องของแผ่นดินไหวเท่ำนั้น หำกแต่ กำรสั่น สะเทือนเป็นเรืองใกล้ตว และอยูรำยรอบ มีผลกระทบต่อชีวตประจ�ำวันในด้ำนคุณภำพชีวตและควำมปลอดภัย ่ ั ่ ิ ิ ซึงจำกกำรส�ำรวจมำตรฐำนเกียวกับกำรวัด กำรทดสอบ กำรสอบเทียบ และมำตรฐำนอืนๆ ทีเ่ กียวข้อง ทีมอยู่ ่ ่ ่ ่ ่ ี ในหลำกหลำยหัวข้อ ก็พอจ�ำแนกแยกประเภท ได้ดังนี้ 1. เครื่องจักรกลอุตสำหกรรม เช่น a. กำรวัดเพื่อกำรตรวจสอบกำรส่งผ่ำนจำกเครื่องจักร b. กำรวัดระดับกำรสั่นสะเทือนในอำคำรโรงงำน c. กำรวัดกำรสั่นสะเทือนเพื่อกำรบ�ำรุงรักษำ และวินิจฉัยสภำพเครื่องจักร (Predictive or Preventive Maintenance) 2. ผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม เช่น a. กำรทดสอบกำรสั่นสะเทือนเพื่อค�ำนวณอำยุกำรล้ำตัว (Fatigue Life) ของชิ้นงำน และ ผลิตภัณฑ์อุตสำหกรรม b. กำรทดสอบกำรสั่นสะเทือนเพื่อตรวจสอบประสิทธิภำพกำรท�ำงำน (Functional Test) c. กำรวัดและกำรตรวจสอบสภำพพื้นผิวชิ้นงำน (Surface Finish Measurement) 3. งำนด้ำนสภำวะแวดล้อม เช่น a. กำรตรวจวัดกำรสั่นสะเทือนเพื่อตรวจสอบมลภำวะทำงเสียง b. กำรตรวจวัดกำรสันสะเทือนเพือประเมินสุขภำพของคนงำนทีเ่ กียวข้องกับเครืองจักรนันๆ ่ ่ ่ ่ ้ 13 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 14. กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับง�นม�ตรวิทย�ก�รสั่นสะเทือน ภำรกิจโดยตรงของสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ ด้ำนเสียงและกำรสั่นสะเทือน คือ กำรรักษำ มำตรฐำนอ้ำงอิงระดับสูงสุดของประเทศและถ่ำยทอดค่ำของมำตรฐำนอ้ำงอิงนันไปยังมำตรฐำนอ้ำงอิงระดับ ้ ถัดไปจนถึงเครื่องมือวัดที่ใช้งำนในกิจกรรมต่ำงๆ ประกอบกำรวิเครำะห์ตำมวัตถุประสงค์ของผู้ปฏิบัติงำน เช่น กำรบ�ำรุงรักษำเครื่องจักร หรือเพื่อกำรควบคุมคุณภำพกำรผลิตให้เป็นไปตำมข้อก�ำหนดจ�ำเพำะ หรือ กำรประเมินผลด้ำนควำมปลอดภัยของโครงสร้ำงอำคำร ผู้ใช้เครื่องมือต้องตระหนักถึงควำมจ�ำเป็นในกำร สอบเทียบเครืองมือวัดทีจะใช้วด ตำมช่วงเวลำทีเหมำะสม เพือผลกำรวัดทีถกต้อง และสำมำรถย้อนกลับไป ่ ่ ั ่ ่ ู่ ยังมำตรฐำนอ้ำงอิงระดับสูงสุดของประเทศได้ ห้องปฏิบัติกำรกำรสั่นสะเทือนได้จัดหำชุดเครื่องมือมำตรฐำนเพื่อขยำยควำมสำมำรถในกำรให้ บริกำรงำนสอบเทียบหัววัดกำรสั่นสะเทือนควำมถี่ต�่ำ ชุดเครื่องมือดังกล่ำวได้แก่ Primary Calibration System Very Low Frequency ที่มีขอบข่ำย 0.4 – 160 Hz ในแนวแกนตั้ง และแกนนอน ส�ำหรับหัววัดกำร สันสะเทือนควำมถีตำน�ำหนักไม่เกิน 900 กรัม โดยระบบกำรวัดนีใช้ได้ทงวิธกำรตำมมำตรฐำน ISO16063-11 ่ ่ �่ ้ ้ ั้ ี 14 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 15. Methods for the calibration of vibration and shock transducers -- Part 11: Primary vibration calibration by laser interferometry และ ISO16063-21 Methods for the calibration of vibration and shock transducers -- Part 21: Vibration calibration by comparison to a reference transducer หัววัดกำรสั่นสะเทือนควำมถี่ต�่ำและระบบสอบเทียบกำรสั่นสะเทือนควำมถี่ต�่ำ อย่ำงไรก็ตำมกำรใช้งำนด้ำนกำรสันสะเทือนควำมถีตำในไทย อำจยังเป็นเพียงช่วงเริมต้นของควำม ่ ่ �่ ่ เกี่ยวข้องในกำรสอบเทียบ กำรสอบกลับไปยังมำตรฐำนอ้ำงอิง และมำตรฐำนกำรสั่นสะเทือนควำมถี่ต�่ำ เท่ำนั้น โดยเป็นกำรบังคับในกำรส่งสินค้ำ หรือกฏหมำยในบำงขอบข่ำยงำน ดังนั้นกำรเข้ำใจถึงหลักกำร ท�ำงำน วิธกำรใช้งำนทีถกต้อง และกำรบ�ำรุงรักษำอย่ำงเหมำะสม รวมถึงปัจจัยทีจะท�ำให้เกิดควำมคลำดเคลือน ี ู่ ่ ่ ในกำรวัด จะน�ำไปสูกำรใช้งำนได้อย่ำงถูกต้อง ผลกำรวัดทีได้ แม่นย�ำ มีประสิทธิภำพ และบรรลุถงเป้ำหมำย ่ ่ ึ ตำมที่ได้วำงไว้ เอกส�รอ้�งอิง 1. http://en.wikipedia.org/wiki/Richter_magnitude_scale. Retrieved 2010-03-11. 2. http://www.johnmartin.com/earthquakes/eqsafs/safs_693.htm. Retrieved 2010-03-10. 3. http://teenet.tei.or.th/tumMenuMain.html Retrieved 2010-03-03. 4. http://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=77 Retrieved 2010-03-03. 15 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 16. NIMT ARTICLE ผลการเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างประเทศในสาขาการวัด RF Attenuation (APMP.EM.RF-K19.CL) น�ยชัยรัตน์ วิเชียรมงคลกุล, น�งส�วม�ศสินี จันทร์วิจิตรกุล หองปฏิบัติการคลื่นความถี่สูงและไมโครเวฟ บทคัดย่อ กำรเปรียบเทียบผลกำรวัดเป็นกิจกรรมหนึงเพือยืนยันควำมเท่ำเทียมกันของมำตรฐำนกำรวัด ่ ่ และผลกำรวัด รวมถึงใช้แสดงขีดควำมสำมำรถในกำรวัดของแต่ละห้องปฏิบตกำรทีรวมกำรเปรียบเทียบ ั ิ ่่ สถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติจงให้ควำมส�ำคัญกับกิจกรรมดังกล่ำวตลอดมำ และได้เข้ำร่วมเปรียบเทียบ ึ ผลกำรวัดระหว่ำงประเทศในสำขำกำรวัด RF Attenuation ระหว่ำงสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติของ ประเทศและเขตเศรษฐกิจที่เป็นสมำชิกขององค์กำรควำมร่วมมือทำงมำตรวิทยำของเอเชีย-แปซิฟิค อีก 8 สถำบันหรือที่เรียกว่ำ APMP attenuation key comparison (APMP.EM.RF-K19.CL) โดยมี สถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติสำธำรณรัฐประชำชนจีน (National Institute of Metrology (NIM), China) ท�ำหน้ำที่เป็นห้องปฏิบัติกำรอ้ำงอิง กำรเปรียบเทียบผลกำรวัดนี้ได้เริ่มต้นในเดือนตุลำคม 2007 และ สินสุดในเดือนพฤศจิกำยน 2008 โดยใช้ Agilent8496H Programmable Step Attenuator เป็นมำตรฐำน ้ อ้ำงอิง (Artifact) บทนำ� CCEM (Consultative Committee for Electricity and Magnetism) attenuation key comparison ได้ถูกจัดขึ้นระหว่ำงปี 2002 – 2007 โดย National Physical Laboratory (NPL), United Kingdom ท�ำหน้ำที่เป็นห้องปฏิบัติกำรอ้ำงอิง ร่ำงรำยงำนผลกำรเปรียบเทียบผลกำรวัดฉบับ B ได้ถูก เผยแพร่เมื่อปี 2009 ส�ำหรับย่ำนของกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด คือ 0 dB ถึง 100 dB, step ละ 20 dB ณ ควำมถี่ 60 MHz และ 5 GHz เพื่อที่จะเชื่อมโยงค่ำอ้ำงอิงของ CCEM attenuation เข้ำกับค่ำมำตรฐำน RF Attenuation ของประเทศในกลุมภูมภำคเอเชีย-แปซิฟค (APMP) ส�ำหรับสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติของบำงประเทศ ่ ิ ิ ในกลุมทีไม่ได้เข้ำร่วม CCEM attenuation key comparison ดังนันกำรประชุมคณะกรรมกำรวิชำกำรทำง ่ ่ ้ ด้ำนแรงดันไฟฟ้ำและแม่เหล็กของ APMP (Technical Committee on Electrical and Magnetism : TCEM) เมื่อปี 2004 ณ กรุงปักกิ่ง NIM ได้เสนอให้มีกำรเปรียบเทียบผลกำรวัดระหว่ำงประเทศในสำขำกำรวัด RF Attenuation ขึ้น ซึ่งต่อมำได้มีกำรก�ำหนดหมำยเลขอ้ำงอิงให้แก่กำรเปรียบเทียบผลกำรวัดนี้ คือ APMP.EM.RF-K19.CL ส�ำหรับวิธีด�ำเนินกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด (Protocol) ได้รับกำรตรวจสอบ จำก TCEM และ CCEM Working Group on Radiofrequency Quantities (GT-RF) ในปี 2007 กำร เปรียบเทียบผลกำรวัดเริ่มต้นในเดือนตุลำคม 2007 และสิ้นสุดในเดือนพฤศจิกำยน 2008 ส�ำหรับย่ำน กำรวัดและควำมถี่ของกำรเปรียบเทียบผลกำรวัดนี้จะเป็นเช่นเดียวกับ CCEM attenuation key comparison กำรเปรียบเทียบผลกำรวัดครั้งนี้มีสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติจ�ำนวน 9 สถำบันเข้ำร่วม โดย NIM ท�ำหน้ำที่เป็นห้องปฏิบัติกำรอ้ำงอิง 16 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 17. สถ�บันม�ตรวิทย�แห่งช�ติที่เข้�ร่วมเปรียบเทียบผลก�รวัด รำยนำมสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด แสดงได้ดังตำรำงที่ 1. ตำรำงที่ 1. สถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติและบุคคลที่เกี่ยวข้องกับกำรร่วมเปรียบเทียบผลกำรวัด สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ประเทศ บุคคล National Institute of Metrology (NIM) China GAO Qiulai, LIANG Weijun Korea Research Institute of Standards and Korea Joo Gwang Lee Science (KRISS) National Metrology Institute of Japan (NMIJ) Japan Anton Widarta Standards and Calibration Laboratory (SCL) Hong Kong, Michael W K Chow China National Metrology Center (NMC) Singapore Thomas Wu National Measurement Institute, Australia Australia Stephen Grady (NMIA) National Metrology Institute of South Africa South Africa Mariesa Prozesky, Erik Dressler (NMISA) National Physical Laboratory, India (NMLI) India Kamlesh Patel,P.S. Negi National Institute of Metrology, Thailand Thailand Chairat Wichianmongkonkun (NIMT) Massinee Chanvichitkul *NML-SIRIM (Malaysia) ถอนตัวกำรเข้ำร่วมเปรียบเทียบผลกำรวัดเมื่อต้นปี 2008 ม�ตรฐ�นอ้�งอิง (Artifact) มำตรฐำนอ้ำงอิงทีใช้ในกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด คือ Agilent8496H Programmable Step ่ Attenuator, S/N: MY42141577 ทีมยำนกำรวัดตังแต่ 0 dB ถึง 110 dB ใน 10 dB steps และมำตรฐำน ่ ี่ ้ อ้ำงอิงจะถูกควบคุมด้วย Agilent11713A Attenuator / Switch Driver, S/N: 3748A07600 ดังรูปที่ 1. 17 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 18. รูปที่ 1. มำตรฐำนอ้ำงอิงที่ใช้ในกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด (Agilent8496H Programmable Step Attenuator and Agilent11713A Attenuator / Switch Driver) ในกำรขนส่งมำตรฐำนอ้ำงอิงทั้ง Programmable Step Attenuator และ Attenuator / Switch Driver จะถูก บรรจุไว้ในกล่องบรรจุแข็ง วิธีดำ�เนินก�รเปรียบเทียบผลก�รวัด (Comparison Protocol) มำตรฐำนอ้ำงอิงจะถูกส่งไปทีสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ แต่ละสถำบันมีระยะเวลำในกำรด�ำเนิน กำรวัด 20 วัน ่ และหลังจำกนั้นมำตรฐำนอ้ำงอิงจะถูกส่งไปยังสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติล�ำดับถัดไป ห้องปฏิบัติกำรอ้ำงอิงจะวัดค่ำ ของมำตรฐำนอ้ำงอิงก่อนและหลังสิ้นสุดของกำรวัด ย่ำนกำรวัดของมำตรฐำนอ้ำงอิงในกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด ได้แก่ 0 dB ถึง 20 dB, 0 dB ถึง 40 dB, 0 dB ถึง 60 dB, 0 dB ถึง 80 dB และ 0 dB ถึง 100 dB ณ ควำมถี่ 60 MHz และ 5 GHz ตำรำงที่ 2. ระยะเวลำในกำรวัดของแต่ละสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ระยะเวลา National Institute of Metrology (NIM) 4/11/2007 – 24/11/2007 Korea Research Institute of Standards and Science (KRISS) 2/12/2007 – 22/12/2007 National Metrology Institute of Japan (NMIJ) 4/1/2008 – 24/1/2008 Standards and Calibration Laboratory (SCL) 1/2/2008 – 21/2/2008 Standards and Industrial Research Institute of Malaysia (SIRIM) 1/3/2008 – 21/3/2008 (withdrew) National Metrology Center (NMC) 1/4/2008 – 21/4/2008 National Measurement Institute, Australia (NMIA) 1/5/2008 – 21/5/2008 National Metrology Institute of South Africa (NMISA) 1/6/2008 – 21/6/2008 National Physical Laboratory, India (NMLI) 1/7/2008 – 21/7/2008 National Institute of Metrology, Thailand (NIMT) 1/8/2008 – 21/8/2008 National Institute of Metrology, China (NIM) 1/9/2008 – 21/9/2008 ม�ตรฐ�นก�รวัดและวิธีก�รวัด มำตรฐำนกำรวัด (Measurement Standard) และวิธีกำรวัด (Measurement Techniques) ของแต่ละสถำบัน มำตรวิทยำแห่งชำติที่ใช้ในกำรเปรียบเทียบผลกำรวัดสำมำรถแสดงได้ดังตำรำงที่ 3 18 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 19. ตำรำงที่ 3. มำตรฐำนกำรวัดและวิธีกำรวัดของแต่ละสถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติ สถาบันมาตรวิทยา 60 MHz 5 GHz แห่งชาติ วิธีการวัด มาตรฐานการวัด วิธีการวัด มาตรฐานการวัด NIM (China) AF Substitution Inductive Voltage AF Substitution Inductive Voltage Divider Divider KRISS (Korea) RF Substitution DC Voltage RF Substitution DC Voltage NMIJ (Japan) Voltage Ratio & Inductive Voltage Voltage Ratio & Inductive Voltage IF Substitution Divider IF Substitution Divider SCL (Hong Kong) IF Substitution WBCO attenuator IF Substitution WBCO attenuator NMC (Singapore) Voltage Ratio & Inductive Voltage Voltage Ratio & Inductive Voltage IF Substitution Divider IF Substitution Divider NIMA (Australia) IF Substitution WBCO attenuator IF Substitution WBCO attenuator NMISA Measuring WBCO attenuator Measuring receiver WBCO attenuator (South Africa) receiver and microwave mixer NPLI (India) IF Substitution WBCO attenuator IF Substitution WBCO attenuator NIMT (Thailand) IF Substitution Calibrated IF Substitution Calibrated attenuator attenuator ผลก�รวัด (Measurement Results) เพื่อให้ผลกำรเปรียบเทียบผลกำรวัดนี้สอดคล้องกับร่ำงรำยงำนผลกำรเปรียบเทียบกำรวัดฉบับ B ของ CCEM attenuation key comparison ดังนั้น 1. ผลกำรวัดและควำมไม่แน่นอนของกำรวัดจะถูกรำยงำนในหน่วย dB 2. สถำบันมำตรวิทยำแห่งชำติสำมำรถเลือกค่ำ attenuation ที่ 20 dB, 40 dB, 60 dB, 80 dB, 100 dB ในกำร เปรียบเทียบผลกำรวัดนี้ (NIMT จะวัดค่ำ attenuation ที่ 20 dB, 40 dB, 60 dB เท่ำนั้น) 3. มำตรฐำนอ้ำงอิงที่ใช้ใน CCEM attenuation key comparison จะประกอบด้วย HP84907L ที่มีย่ำนกำรวัด ตั้งแต่ 0 ถึง 70 dB ใน 10 dB steps ซึ่งถูกก�ำหนดให้เป็นมำตรฐำนอ้ำงอิงใน K19.CL/1 และ HP8496H ที่มีย่ำนกำรวัด ตั้งแต่ 0 ถึง 110 dB ใน 10 dB steps ซึ่งถูกก�ำหนดให้เป็นมำตรฐำนอ้ำงอิงใน K19.CL/2 ส�ำหรับ APMP attenuation key comparison จะใช้ Agilent8496H เป็นมำตรฐำนอ้ำงอิงในกำรเปรียบเทียบผลกำรวัด ดังนั้นผลกำรวัดใน APMP attenuation key comparison จะถูกค�ำนวณเชื่อม (Linking Calculation) กับผลกำรวัดของ HP8496H ใน CCEM attenuation key comparison 19 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 20. รูปที่ 2. Linked result for 20 dB at 60 MHz รูปที่ 3. Linked result for 60 dB at 60 MHz รูปที่ 4. Linked result for 20 dB at 5 GHz รูปที่ 5. Linked result for 60 dB at 5 GHz บทสรุป กำรเปรียบเทียบผลกำรวัดในสำขำกำรวัด RF Attenuation ได้ด�ำเนินกำรจนเสร็จสิ้น ผลกำรวัดของสถำบัน มำตรวิทยำแห่งชำติแต่ละประเทศแสดงควำมสอดคล้องกัน โดยเฉพำะผลกำรวัดของ SCL, NPLI, NIMT และ KRISS ยกเว้นผลกำรวัดของ NPLI’s ที่ attenuation 20 dB ณ ควำมถี่ 60 MHz เอกส�รอ้�งอิง GAO Qiulai, Draft A Report of Pilot Laboratory APMP Attenuation Key Comparison (APMP.EM.RF- K19.CL) Attenuation at 60 MHz and 5 GHz using a type N step attenuator, October 2009. 20 Vol.12 No.56 May-June 2010
  • 21. NIMT ACTIVITIES ประมวลภาพกิจกรรม Thailand Industrial Fair 2010 (4-7 กุมภาพันธ์ 2553) มว. ร่วมกับหน่วยงำนจำกภำครัฐ และเอกชน รวม 17 หน่วยงำน จัดสัมมนำวิชำกำร ด้ำนมำตรวิทยำ เพือถ่ำยทอดควำมรู้ และช่วยสนับสนุนกลุมผูประกอบกำรในกลุมอุตสำหกรรม และ ่ ่ ้ ่ กลุ่มธุรกิจด้ำนมำตรวิทยำ พร้อมจัดนิทรรศกำร กำรให้ค�ำปรึกษำ และ Workshop กำรสอบเทียบ เครื่องมือวัดด้วยตนเอง ภำยในงำน “Thailand Industrial Fair 2010” ณ ศูนย์กำรประชุม ไบเทค บำงนำ กรุงเทพฯ Thailand Industrial Fair 2010 (February 4-7, 2010) NIMT together with 17 organizations from government and private sector organized a seminar to disseminate knowledge to industrial sector and metrology business. NIMT also hold an exhibition a consult service and a workshop for self calibration in Thailand Industrial Fair 2010 at BITEC, Bangna, Bangkok. ตรวจประเมิน (8-10 มีนาคม 2553) นำยสมศักดิ์ ฉำกเขียน รองผู้อ�ำนวยกำร มว. ให้กำรต้อนรับ Mr. Toshiyuki Takatsuji, Deputy Director/ Head of Length and Dimensions Division/Head of Dimensional Standards Section จำก National Metrology Institute of Japan (NMIJ), National Institute of Advanced Industrial Science and Technology (AIST) ประเทศญี่ปุ่น และนำยญำณพัฒน์ อู่ทองทรัพย์ จำก Thai Laboratory Accreditation Scheme (TLAS) ประเทศไทย พร้อมคณะทีมงำน ในโอกำสเดินทำง มำตรวจประเมินห้องปฏิบัติกำรด้ำนมิติ ณ อำคำรผดุงมำตร มว. Assessment (March 8-10, 2010) Mr. Somsak Charkkian, Deputy Director, NIMT welcomed Dr. Toshiyuki Takatsuji, Deputy Director/ Head of Length and Dimensions Division/Head of Dimensional Standards Section from National Metrology Institute of Japan (NMIJ), National Institute of Advanced Industrial Science and Technology (AIST), Japan, Mr. Yannapat Uthongsap, Thai Laboratory Accreditation Scheme (TLAS), Thailand, and his teams on the occasion of coming to do accreditation assessment Dimensional laboratory at Phadungmat Building, NIMT. มว. ลงนามกับ TOT (10 มีนาคม 2553) พล.อ.ต. ดร. เพียร โตท่ำโรง ผู้อ�ำนวยกำร มว. และ นำยวรุธ สุวกร กรรมกำรผู้จัดกำรใหญ่ บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหำชน) ร่วมลงนำมในบันทึกข้อตกลงว่ำด้วยควำมร่วมมือกำรถ่ำยทอดเวลำ มำตรฐำนประเทศไทยผ่ำนโทรศัพท์พื้นฐำน เพื่อให้บริกำรงำนด้ำนมำตรวิทยำเวลำได้อย่ำงถูกต้อง แม่นย�ำแก่ภำคอุตสำหกรรม และประชำชนทั่วไป ณ บริษัท ทีโอที จ�ำกัด (มหำชน) Signing MOU (March 10, 2010) AVM Dr. Pian Totarong, Director, NIMT and Mr.Varut Suvakorn, President, TOT Public Company Limited signed in MOU for the cooperation on the establishment of Thailand time standard by telephone for service to government and private sector at TOT Public Company Limited. 21 Vol.12 No.56 May-June 2010