SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
Download to read offline
เอกสารติดตั้ง CNED School Server
เรื่อง รูปแบบเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
  (COMPUTER NETWORK FOR EDUCATIONAL DEVELOPMENT MODEL)
                        (CNED MODEL)




                   นายประชุม แรงกสิกรณ
ตําแหนง รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
     สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2
          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                     กระทรวงศึกษาธิการ
คํานํา

           หนังสือเลมนี้ จัดทําเพื่อวัตถุประสงคในการอธิบายรูปแบบการทําเครื่องแมขายที่ใชงานในโรงเรียน (CNED
School server) เพื่อชวยในการเรียนการสอน และเปดโอกาสใหกับเด็กนักเรียนในพื้นที่หางไกลไดมีโอกาสเขาถึงขอมูล
จากการทดลองผิดลองถูก จึงไดรปแบบการใชงานที่ชวยไดทั้งผูพฒนา ผูดูแล และผูใชขอมูลเองมีความสอดคลองกัน
                            ู                              ั                     
มากทีสด เพื่อลดอุปสรรคทางดานเทคนิคลง และการทําใหระบบมีการดูแลใหนอยที่สด
     ่ ุ                                                                 ุ
          เนื้อหาในเลมประกอบดวย กลาวนํา วาภาพกวางของ CNED MODEL บทที่ 1 การติดตั้งระบบปฏิบัติการ
บทที่ 2 การทํา CNED Server เริ่มตน (ดวย Script) บทที่ 3 การทํา CNED School server (ดวย script
setupfc11.3) บทที่ 4 CNED Innovation บทที่ 5 แกไขรหัสผาน ของผูใชใน CNED School server บทที่ 6 ใชงาน
mySQL server เพื่อสราง grant user บทที่ 7 แกไข Network บทที่ 8 ใชงาน ftp server บทที่ 9 ใชงาน
phpMyAdmin เพื่อชวยจัดการ mySQL ผานทางเว็บ 68 สวนการติดตั้ง moodle จะกลาวไวในเอกสารเลมตอไป
           หวังวาเอกสารเลมนีจะเปนเครื่องมือในการใช CNED School server ไดอยางมีประสิทธิภาพประสิทธิผล
                              ้
สามารถพาใหโรงเรียนไดใชขอมูลที่มีใหแลวและพัฒนาตอไป สามารถบริการใหครูผูสอนและนักเรียนไดเขาถึงแหลง
เรียนรูและชวยกันสรางสรรคเนื้อเพิ่มเติมไดอยางรวดเร็วในโอกาสขางหนา หากมีขอบกพรอง หรือมีขอชี้แนะประการใด
ผูเขียนนอมรับฟงดวยความเต็มใจและขอขอบคุณลวงหนามานะโอกาสนี้

                                                                       ผูจัดทํา
                                                                นายประชุม แรงกสิกรณ
                                                                    กรกฎาคม 2554




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                  หนา 1 

 
สารบัญ
คํานํา                                                           1

กลาวนํา                                                         2

บทที่ 1 การติดตั้งระบบปฏิบัติการ                                 3

บทที่ 2 การทํา CNED Server เริ่มตน (ดวย Script)               27

บทที่ 3 การทํา CNED School server (ดวย script setupfc11.3)     38

บทที่ 4 CNED Innovation                                         45

บทที่ 5 แกไขรหัสผาน ของผูใชใน CNED School server            54

บทที่ 6 ใชงาน mySQL server เพื่อสราง grant user               58

บทที่ 7 แกไข Network                                           61

บทที่ 8 ใชงาน ftp server                                       64

บทที่ 9 ใชงาน phpMyAdmin เพื่อชวยจัดการ mySQL ผานทางเว็บ    68




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                      หนา 2 

 
กลาวนํา

CNED
         Computer Network for Educational Development

CNED Concept
         <2007-now>
            Single User Standalone Server

CNED Pattern
- จากการใชงานไดมีการพัฒนาในสวนของขอมูลจํานวนมาก จึงไดออกแบบใหสวนของ Data และ System แยกสวน
จากกัน เพื่องายในการปรับปรุง
- จุดมุงหมายของ Server คือเพือทํารูปแบบระบบเครือขายใหใชงานงาย และเสถียรภาพ จากทรัพยากรทีมีอยูอยาง
                              ่                                                              ่
จํากัด ทั้งสถานที่ใชงานสวนมากเปนสถานที่หางไกล การดูแลรักษา/พัฒนาทําไดยาก
- การพัฒนาขอมูลนั้นไดมีการเพิ่ม และปรับปรุงเรื่อยมาจากการนําระบบไปใชงานในโรงเรียน ซึ่งเปนสวนของผูใชงาน
เอง จากปญหาตางที่เปนอยู ณ ปจจุบัน
         - ปญหาของระบบ Internet
         - ปญหาของการเขาถึงขอมูลผานสื่อตางๆ
         - ขอมูล
         - ตัวผูใชขอมูลเอง
         - ตัวผูพัฒนาขอมูล

เนื้อหาในเอกสาร
- จะมีการแบงออกเปน 4 สวนดังนี้
         1 บทที่ 1 – 4 เปนสวนที่อธิบายรูปแบบของ CNED Server และการปรับแตงเพื่อการใชงาน
         2 บทที่ 5 – 7 เปนหนาที่ของ root ในการดูแลระบบ
         3 บทที่ 8 – 9 เปนหนาที่ของผูดูแลขอมูลดวยสิทธิ์ของผูใชงาน webmaster, phpMyAdmin
         4 บทที่ 10 - … ผูใชงานพัฒนาสื่อการสอน



Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                หนา 3 

 
1 ติดตั้งระบบปฏิบัติการ
        System Partitions:          /boot              100MB
                                    /                  5GB
                                    <swap>             2GB

        Hardware Req: 1 Server (PC or Server on X86 base)
                      2 1 HDD

        Topic: 1.1 สราง Partition สําหรับการติดตั้ง
               1.2 ติดตั้งระบบ
               1.3 ปด selinux

1.1 สราง partition โดยใช Rescue Mode
        1.1.1 ใสแผน FC11 DVD (32bit หรือ 64bit ขึ้นกับระบบที่ใช) แลวเลือกใหเครื่อง boot จากแผนซีดี




        1.1.2 หนาจอของ FC11 Installation ใหเลือก Rescue installed system




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                   หนา 4 

 
1.1.3 ขั้นตอนขางลางนี้ ให TAB ตามในสวนที่วงกลมไว




      1.1.4 สํารวจ Hard disk และ partition ที่มี
                - ดู Hard disk ที่มีอยูในระบบ
                                       
                          1) # ls /dev/sda*

                          จากภาพ มี hard disk เพียงตัวเดียว คือ sda และมีทั้งหมด 6 partitions
               - ดูขอมูลใน partition
                          1) # fdisk /dev/sda <enter>
                          2) พิมพ p <enter>




               - ในกรณีที่ hard disk ถูกทําเปนแบบ CNED อยูแลว (รวมทั้งขนาด partition, ดูขอความในกรอบ)

Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                            หนา 5 

 
ใหขามไปขอ 1.2, ออกจาก rescue mode โดยใชสองคําสั่งขางลางนี้
                          1) พิมพ q <enter>                 เพื่อออกจาก fdisk
                          2) # exit <enter>                  เพื่อออกจาก rescue mode

        1.1.5 ลบ partition ทั้งหมด (ตอจากหัวขอ 1.1.4)
                - หากนอกเหนือจากนี้ (Windows partition) กด d แลวตามดวย partition number, จนหมด
                           1) : d <enter>             Delete partition command
                           2) : 1 <enter>             Delete partition Number 1
                           3) : d <enter>             Do delete again
                           4) : 2 <enter>
                           5) : d <enter>
                           6) : 3 <enter>
                           7) : d <enter>
                           8) : 4 <enter>             Delete Extended partition cause all sub deleted.
                           9) : p <enter>




        1.1.6 สราง System partitions
                          1) : n new partition command                9) : 2
                          2) : p primary partition                    10) : 14
                          4) : 1 partition number 1                   11) : 650
                          5) : 1 First cylinder of partition 1        12) : n Create partition 3
                          6) : 13 Last cylinder of partition 1        13) : p
                          7) : n Create partition 2                   14) : 3
                          8) : p                                      15) : 651
Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                 หนา 6 

 
16) : 905
               - หากผิดพลาดใหทําหัวขอ 1.1.5 ซ้ํา




               - ดู partition ที่สรางไปแลว
                         1) : p <enter>




      1.1.7 เปลี่ยน partition’s system id ของ partition 3 เปน linux swap (id=82)
               - ตอจาก 1.1.6
                          1) : t <enter>                        Change partition command
                          2) : 3 <enter>                        Choose partition number 3
                          3) : 82 <enter>                       Change a choose partition to id = 82




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                               หนา 7 

 
- ดู partition ที่สรางไปแลว
                           1) : p <enter>




        1.1.8 บันทึก partition (ตอจาก 1.1.7)
                           1) : w <enter>




        1.1.9 ออกจาก rescue mode
                           1) #   exit     <enter>
                 - ระบบจะทําการ restart


1.2 ติดตั้งระบบ
          อธิบายการลงระบบปฏิบัติการ การเลือก partition และ โปรแกรมที่ติดตั้ง

        1.2.1 ใสแผน FC11 DVD (32bit หรือ 64bit ขึ้นอยูกับระบบที่ใช) แลวเลือกใหเครื่อง boot จากแผนซีดี




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                       หนา 8 

 
1.2.2 หนาจอของ FC11 Installation ใหเลือก Rescue installed system




      1.2.3 การตรวจสอบแผนกอนติดตั้ง เลือกไมปฏิบัติ




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                   หนา 9 

 
1.2.4 หนาจอติดตั้งของ FC11




Dr.Prachoom Rangkasikorn            หนา 10 

 
1.2.5 เลือกภาษาระหวางการติดตั้ง ใหคลิกที่ปุมถัดไปไดเลย




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                           หนา 11 

 
1.2.6 เลือกคียบอรด ใหคลิกปุมถัดไปไดเลย
                                    




Dr.Prachoom Rangkasikorn                           หนา 12 

 
1.2.7 ตั้งชื่อเครื่อง ใหปลอยคาเดิมไว คลิกปุมถัดไป




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                       หนา 13 

 
1.2.8 เลือกเขตเวลาเปน Bangkok จากแผนที่เลย




Dr.Prachoom Rangkasikorn                            หนา 14 

 
1.2.9 กําหนดรหัสผานใหกับ root
                        1) ในคูมือนี้ใชเปน 123456




                        2) หลังจากคลิกปุมถัดไป เครื่องจะถามดังรูป ใหเลือก ใช




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                          หนา 15 

 
1.2.10 เลือกแบบของ partition ใหเลือก Create custom layout ตามรูป




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                  หนา 16 

 
1.2.11 ทํา Mount Point




                       1) ดับเบิลคลิกที่ /dev/sda1




                                - Click Format as check box
                                - Select to ext3
                                - Choose Mount Point to /boot
                                - Click Ok button


Dr.Prachoom Rangkasikorn                                        หนา 17 

 
2) /dev/sda2 mount to / as ext4




                              3) /dev/sda3 as swap




                              4) คลิกปุม ถัดไป ระบบแจงเตือนการกระทําที่จะทําใหสูญเสียขอมูลใน partition ในสวน
                                       
ที่เลือกไว ใหเลือก Format




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                 หนา 18 

 
5) ยืนยันการเปลื่ยนแปลง เลือก Write changes to disk




      1.2.12 จัดการ boot loader ใหเลือกปุมถัดไปไดเลย
                                          




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                     หนา 19 

 
1.2.13 เลือกติดตั้งแบบกําหนดเอง ใหทําตามวงกลมสีแดงในรูปครับ




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                             หนา 20 

 
1.2.14 เลือก Software applications
                       1) Desktop Environments




                       2) Applications




Dr.Prachoom Rangkasikorn                         หนา 21 

 
3) Servers




                    4) Base System




                            - Packages ที่ตดตั้ง
                                           ิ
                                     DNS Name Server
                                     FTP Server
                                     MySQL Database
                                     Web Server
                                     Windows File Server
                                     Base


Dr.Prachoom Rangkasikorn                                   หนา 22 

 
6) คลิกปุม Next
                                 

      1.2.15 โปรแกรมกําลังดําเนินการติดตั้ง




Dr.Prachoom Rangkasikorn                      หนา 23 

 
1.2.16 โปรแกรมติดตั้งสมบูรณ เลือก Restart




1.3 ปด selinux

         1.3.1 ปรับแกระบบเบื้องตน หลังจากระบบเปดใชงานครั้งแรก (ถามเพียงครั้งเดียว, บางเครื่องก็ไมถาม) ให
เลือก Quit




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                หนา 24 

 
1.3.2 เขาสูระบบดวย root และรหัสผาน 123456




      1.3.3 ปดการใชงาน SeLinux
                       1)   # vi /etc/selinux/config




                       2) กด i แลวทําการแกไข จาก enforcing เปน disabled
                       3) กด Esc key, พิมพ :w แลว Enter




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                     หนา 25 

 
5) กด Esc key, พิมพ :q แลว Enter เพื่อออกจาก vi editor

      1.3.4 Reboot ระบบ
                           1) #   reboot




      1.3.5 เสร็จสมบูรณ




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                              หนา 26 

 
2 CNED Server เริ่มตน, with script
         เครื่องเซิพรเวอรนี้ออกแบบไวสําหรับบริการขอมูลจากแฟมงานทีระบุไวอยางตายตัว ซึ่งการปรับแกขอมูลนั้น
                                                                      ่
ระบุใหผูใชของระบบเปนเจาของขอมูล ผูใชนี้ชื่อ webmaster (uid:gid = 1000:1000)

         CNED Server ตองการโฟลเดอรสองตําแหนง คือ /school/webmaster และ /school/log

         การใชงาน script เพี่อลดขั้นตอนการปรับแกที่ยงยาก ผูใชสามารถลดขั้นตอนในสวนตอไปนี้ไดเลย
                                                      ุ     
                  1 Linux command
                  2 Configure networking
                  3 Linux User and Group
                  4 Configure DHCP Server
                  5 Configure FTP Server
                  6 Configure HTTP Server
                  7 Configure Windows File Server
                  8 Configure DNS cache Server
                  9 Install extend package

         ความเขาใจ
                  1 สิทธิ์ root (uid:gid = 0:0) คือสิทธิสูงสุดในระบบ
                  2 สิทธิ์ webmaster (uid:gid = 1000:1000) เปน user account สูระบบ

         Hardware Requirement (Basic)
                  1 Server with at least 1 NIC
                  2 Client with network interface
                  3 Network Equipment setup Or single cross cable wire

         เปาหมายบริการของ server
                  1 http://school.cned


Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                  หนา 27 

 
2 school
                3 ftp://school.cned
                4 dhcp

      เปาหมายการใชงานโดย webmaster โดยการติดตอจากทางเครื่องลูกขาย
                1 การเขา server ผานทาง FTP ดวยโปรแกรม FileZilla และสงไฟลขึ้น server
                2 การเขา server ผานทาง File Server และสงไฟลขึ้น server
                3 การแก permission
                4 โครงสรางแฟมงานใน webmaster และ service ที่กระทํา
                   /school/webmaster                เปนที่อยูบนระบบ
                         ftp               http://school.cned/ftp       schoolftp
                         media                                          schoolmedia   (ซอนไว)
                         mysql             (เปนแฟม database ของ mysql server)
                         on_ftp            ftp://school.cned (anonymous เขียนไฟลได)
                         php_file (สําหรับเก็บ mysql ไฟล ดวยโปรแกรม phpmyadmin)
                         share                                          schoolshare
                         web               http://school.cned

      เนื้อหา
                2.1 ใชงาน CNED script เพื่อติดตั้ง service และใสรหัสผานใหกบ webmaster
                                                                              ั
                2.2 ใชงาน CNED script เพื่อติดตั้ง Network interface
                2.3 ทดสอบการใชงาน DHCP, HTTP, FTP, Windows file server และแก permission
                2.4 ลูกขายทั่วไปเขียนไฟลใส Server ทาง Windows file server




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                             หนา 28 

 
2.1 Setup CNED Server
       2.1.1 เขาสูระบบดวย root , password: 123456




       2.1.2 Mount CDROM และนํา CNED script ลงเครื่อง
                        1)   # mount /dev/cdrom /mnt

                        2)   # cp -R /mnt/setupfc11.3 /root




       2.1.3 สรางโฟลเดอรใหกบ CNED script
                              ั
                        1)   # mkdir /school

                        2)   # mkdir /school/webmaster

                        3)   # mkdir /school/log


               - ในกรณีติดตั้ง CNED School server ใหทําในหัวขอ 3.1.3 ดวย

       2.1.4 Run setup script
                        1)   # cd /root/setupfc11.3

                        2)   # ./setup

               - รอจนติดตั้งเสร็จ

       2.1.5 ใส password ใหกับ webmaster ดวยรหัสผาน teacher789
               - สรางใหกับระบบ linux
                        1)   # passwd webmaster




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                      หนา 29 

 
2) teacher789 <enter>
                             3) teacher789 <enter>

                   - สรางใหกับ samba
                             1)   # smbpasswd –a webmaster

                             2) teacher789 <enter>
                             3) teacher789 <enter>

2.2 ติดตั้งระบบ Network
         - สวนนี้ตองทําสองขั้นตอน คือ ครั้งแรกเปนการลบคาเกาของระบบ และครั้งที่สองเปนการติดตังระบบ ซึ่ง
                                                                                                  ้
ตองการการรีบูทเครื่องทั้งสองครั้ง
         - ตอจาก 2.1

         2.2.1 ใชคําสั่ง net-reset
                             1)   # ./net-reset

                             2)   # reboot


         2.2.2 ใชคําสั่ง net-setup
                   - หลังจากระบบเริ่มใหมแลว ใหเขาสูระบบดวย root รหัสผาน 123456
                             1)   # cd setupfc11.3

                             2)   # ./net-setup

                             3)   # reboot


         2.2.3 ทดสอบ eth0
                   - เขาสูระบบดวยสิทธิ์ของ root
                   - ดู Network
                             1)   # ifconfig




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                               หนา 30 

 
- ทดสอบการ ping
                         1)   # ping 192.168.10.1




2.3 ทดสอบการใหบริการของ Server ทางลูกขาย
       2.3.1 การรับ DHCP
               - ใหเครื่องทดสอบอยูระบบเนตเดียวกับ eth0 ของ server หรือตอสายตรงกับ server เลย
               - ตั้งเครื่องลูกขายตั้งคาใหรับ DHCP




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                          หนา 31 

 
- ตัวอยาง IP ที่ไดรับจาก DHCP server




Dr.Prachoom Rangkasikorn                              หนา 32 

 
2.3.2 ทดสอบ http และ DNS
                       1) http://school.cned




      2.3.3 ใชงาน Windows file server (samba) ดวยสิทธิ webmaster และการนําไฟลขึ้น
              - เปด explorer
                       1) ที่ address bar พิมพ schoolwebmaster <enter>
                       2) พิมพ teacher789




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                               หนา 33 

 
- โครงสรางของโฟลเดอร




             - นําไฟลใสในโฟลเดอร ftp
                      1) นําไฟลมาวาง




                      2) ดูไฟลทางสิทธิ์ของลูกขายทั่วไป




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                   หนา 34 

 
3) ดูไฟลผานทาง web




      2.3.4 ลูกขายทั่วไปสงไฟลข้น server
                                  ึ
               - ในกรณีที่ webmaster ไมอนุญาติ




Dr.Prachoom Rangkasikorn                          หนา 35 

 
- เขา ftp เพื่อกําหนด permission
                      1) ผูใชชื่อ webmaster รหัส teacher789




                      2) คลิกขวาที่แฟมงาน share แลวเลือก File permissions…




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                       หนา 36 

 
3) คลิกเพิมใน check box ในสวนของผูใชทั่วไป (Public permissions) ตามวงกลมใน
                                     ่
ภาพ แลวคลิก OK




2.4 ลูกขายทั่วไปแกไขไฟลใน server
                  - ลูกขายลองเขา schoolshare อีกครั้ง และทําการแกไข โดยเพิมโฟลเดอรใหม
                                                                                ่




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                           หนา 37 

 
3 CNED School Server
         จากสภาพการใชงานจริงของระบบเครือขายที่โรงเรียน การปรับแกตางๆ นั้นคอนขางลําบาก จึงไดหารูปแบบ
ที่คอนขางยืดหยุนในการปรับการใชงาน ทั้งการดูรักษาแลและการปรับเพิ่มขอมูล โดยพื้นฐานแลว server นั้นซับซอน
                 
ในตัวมันเองอยูแลว CNED pattern จึงไดกําหนดคาหลายๆ อยางใหงายในการพัฒนาตอได ซึ่งผูใชที่สามารถแกระบบ
              
เองไดนั้นสามารถปรับแตงรูปแบบเครื่องใหเปนตามการออกแบบของเขาเองได

         ปริมาณขอมูลทีมากขึ้นจากการรวบรวมของผูใชงาน ทําใหปริมาณความจุที่ตองการมากกวา 2 TB และ
                       ่
เครื่องลูกขายเองที่มประสิทธิภาพสูง ทําใหความตองการทรัพยากรของระบบ Network สูงขึ้นดวย ทั้งนี้ตองคงรูปแบบ
                     ี
ใชงาน,อัพเกรดขอมูล, อัพเกรดระบบเครือขาย, และการเพิ่มความจุใหระบบ ตองงายดวย

         ประสิทธิภาพการสงผานขอมูลจากแหลงเก็บ (Hard disk) เนื่องดวย Hardware setup ที่หลากหลายใน
สินคาประเภท PC การจัดการหนวยเก็บขอมูลแบบ RAID เพื่อเพิ่มความจุนั้น เปนทางเลือกที่ระบบเองตองการการดูแล
มากขึ้น และยุงยากมากหากมีปญหา CNED จึงใชวิธีการกระจายการเก็บขอมูลแยกบน Hard disk แตละตัว โดยการ
                           
mount และ link สูตําแหนงใน webmaster directory ประสิทธิภาพก็เปนของ Hard disk แตละลูกเอง และเวลามี
ปญหาเฉพาะลูก ก็ไมกระทบกับลูกอื่นๆ

         ปจจุบันสื่อการเรียนมีประมาณ 3 TB

         ระบบ network, ที่ความเร็ว 1 Gbps นั้น ชวยในเรื่องเวลาการเขาถึง แตเปนไปไดยากสําหรับ PC และ
อุปกรณทั่วไปที่ใชกัน stream ที่เปนไปไดประมาณ 300 Mbps นั้นก็นับวาเยียมแลว และหลายๆ NIC บน Server ก็
                                                                         ่
ชวยในเรื่อง connection response ได และลด traffic บนระบบ network แตละวงไดมาก

         จํานวนอุปกรณที่เปนแมขายในวงเน็ต เพี่อลดอุปกรณใหมากทีสุด จึงได Server เพียงตัวเดียวในแตละวงที่
                                                                   ่
เปนทั้ง Service Servers และ Internet Gateway ในตัว และยังไดเพิมประสิทธิภาพการใชงาน Internet ดวย
                                                                ่
Transaparent Proxy Caching บวกกับ access log ทั้งหมดนี้ CNED script ไดครอบคุมการจัดการเหลานี้ไวแลว ซึ่ง
ยังตองการการปรับแตง config ไฟลอีก 2 ไฟล (/etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth1, /school/school_firewall)
เพื่อใหบริการ Internet



Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                หนา 38 

 
รูปแบบโครงสราง CNED School server




                                                                     Internet




                                                                                 http://school.cned/dltv/ 
                                                                                 http://school.cned/edltv/ 
                                                                                 schoolftp 



                                                                                http://school.cned/moodle/ 


                                                                                  school 
    192.168.11.0/24    192.168.12.0/24  192.168.13.0/24 192.168.14.0/24           http://school.cned 
                                                                                  ftp://school.cned 
                                                      192.168.10.0/24




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                        หนา 39 

 
3.1 Mount CNED School point
         - สามารทํากอนติดตั้ง script (ติดตั้งใหม) หรือทําหลังจากติดตั้ง Script แลว (
         - กรณีที่ทํากอนการลง script ใหทําการ mount ในชวง หัวขอ 2.1.3 เฉพาะ /school/webmaster และ
/school/log (หากเปน HDD ที่มีขอมูลอยูแลว ใหขามไปหัวขอ 3.1.3 ได)
                               

          3.1.1 สราง partition, CNED ใชความจุให /school/log เปนจํานวน 10 GB และสวนที่เหลือทั้งหมดใหกับ
partition ของ /school/webmaster
                    - เขาโปรแกรม fdisk
                              1) # fdisk /dev/sda
                    - สราง partition ที่ 4 ใหเปน extend
                              1) n                  สราง partition ใหม
                              2) e                  เลือกประเภท extended
                              3) <enter>            ใชคา default ของตําแหนงเริ่มตน
                              4) <enter>            ใชคา default ของตําแหนงสุดทาย (ทั้งลูก)




                            5) p




                  - สราง partition ที่ 5 ดวยความจุ 10 GB
                            1) n
                            2) <enter>



Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                               หนา 40 

 
3) 2121



              - สราง partition ที่ 6 ดวยความจุที่เหลือทั้งหมด
                        1) n
                        2) <enter>
                        3) <enter>




              - ดูที่สรางไว บันทึก และ reboot เครื่อง
                          1) p
                          2) w
                          3) # reboot




      3.1.2 Format partition เปน ext4
               - เขาระบบดวย root/123456
                        1) # mkfs.ext4         /dev/sda5
                        2) # mkfs.ext4         /dev/sda6

      3.1.3 ทําการ Mount ถาวรใหกบระบบ /etc/fstab
                                  ั
                       1) # vi /etc/fstab
                       2) กด i แลวขึ้น cursor ที่บรรทัดใหม
                       3) พิมพตามขอความในกรอบสีแดงตามรูปขางลาง
                                /dev/sda5           /school/log ext4   defaults 1 1
                                /dev/sda6           /school/log ext4   defaults 1 1
                       4) กด <esc> แลวพิมพ :wq <enter>

Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                              หนา 41 

 
5) #   reboot




3.2 Setup IP Internet
                 - Server ตองการอยางนอย 2 NIC
                 - ขอมูล IP ที่ตองการ: DNS, Gateway, eth1_ip, Netmask
                  คา CNED default:
                           IPADDR=192.168.1.8
                           NETMAST=255.255.255.0
                           DNS1=192.168.1.1
                           GATEWAY=192.168.1.1
                 - ขั้นตอน (ดูอางอิงเพิ่มเติมในหัวขอ 7.2)
                           1) ใส NIC ใบที่สองใหกับ Server
                           2) หลังจาก boot เครื่อง เขาระบบดวย root ใช Script
                              # cd /root/setupfc11.3
                              #./net-reset
                              # reboot
                           3) reboot ระบบ เขาระบบใหม และใช Script
                              # cd /root/setupfc11.3
                              #./net-setup
                           4) แกไขไฟลของการด
                              # vi /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth1
                              - กด i และแกไขตามคาจริง




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                          หนา 42 

 
- กด ESC คีย
                             - พิมพ :wq <enter>
                          5) แกไข iptables ของระบบ
                             # vi /root/school_firewall
                             - กด i และแกไขตามคาจริง




                             - กด ESC คียร
                             - พิมพ :wq <enter>
                          6) Reboot เครื่อง
                             # reboot
                          7) เขาระบบดวย root แลวพิมพ # dig “url” จะไดการ resolve ip กลับมา
                             # dig www.google.co.th
                          8) ทดสอบที่ลกขายโดยการเลน Internet
                                      ู

3.3 Mount Data Point
          ตั้งแตโครงสราง setupfc11.3 การใชสวนขยายแฟมงานตางๆ จะใชวิธีการ link แทนการ mount เพราะชวย
ในเรื่องประสิทธิภาพการใชความจุของสวนเก็บ (HDD) ไดมีประสิทธิภาพมากขึ้นแลว ยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของ
เครื่องแมขายในสวนอื่นๆ ไดอีกดวย (I/O)
          Hard disk ขอมูลขยายอื่นๆ จะถูก mount สูแฟมงานตามลําดับดังนี้
                    /schoolhd1
                    /schoolhd2
                    /schoolhd(n+1)

Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                           หนา 43 

 
ขอมูลใน /etc/fstab ตัวอยางเปนดังนี้
                  /dev/sdb           /schoolhd1          ext4     defaults 1 1

3.4 Link Point
         3.4.1 คําสั่ง link ที่ใชใน CNED ใชสําหรับเชื่อมโยงแฟมงานทั้งแฟม
                   ln -sd “source_directory” “target_to_symmetry”

         3.4.2 ตัวอยาง




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                         หนา 44 

 
4 CNED Innovation
4.1 From Client to Server
          4.1.1 ระบบ Internet กอนที่จะมี ADSL Networking สวนมากเปนการทํางานในองคกร หรือ Boot
ระบบปฏิบัติการผาน LAN การใชงานสวนมากใชงานเฉพาะบนเครื่องๆ นั้น
          4.1.2 หลังจากเริ่มมี Internet Hard disk โดยเฉลียของเครื่อง PC คืออยูประมาณนอยกวา 20 GB ในชวงนั้น
                                                         ่
เครื่อง PC เปนรุน Pentium I
          4.1.3 ในชวงที่ Internet เริ่มแพรหลาย การติดตอ Internet ทําผาน Dial up Modem ซึ่ง Maximum อยูที่ 56
kbps และไมเสถียร
                   4.1.3.1 ในชวงนี้ มีโปรเจค Server จาก อ. บุญลือ อยูคง Server 7 ทํางานบน Linux Red Hat 7
การใชงานดวยการให Server connect ทาง Modem และให Server เปน transparent proxy เปนวิธีที่ชวยใหการเลน
Internet มีความราบรื่นขึ้น
                   4.1.3.2 ปญหายังคงอยู เมื่อมีการ connection จากลูกขายมากๆ การใชงานบาง connection ก็คาง
          4.1.4 Internet ยังคงอยูบนพื้นฐานของ Dial up Modem ซึ่งเว็บไซตตางมีการใชงานที่เปนภาพ และ เสียง
มากขึ้น
          4.1.5 Internet สําหรับองคกร ไดมการนํา Lease Line เขาสํานักงาน และโรงเรียนเริ่มมีการใช Internet ผาน
                                           ี
ดาวเทียม ชวงนี้เปนครั้งแรกที่ Internet มีความเร็วอยูที่ 256 kbps
                   การใชงาน Internet เริ่มมีความนาเลนขึ้น ที่ลูกขายหลายๆ เครื่องสามารถเลนพรอมๆ กันได แตก็
เจอปญหาทันที่ลูกขาย
                   4.1.5.1 เพียงแค 1 เครื่องลูกขายมีการ Download
                   4.1.5.2 ดึงหนาเว็บพรอมๆ กัน ประมาณ 4 เครื่อง Internet ถึงกับหยุด
          4.1.6 เริ่มมีการนําเว็บที่ Download มาไวใน Server ที่ใหบริการเปน http อยูแลว ซึงไดผลดีมาก และไดมี
การนําไฟล Multimedia ตางมาใส Server ซึ่งไดผลดีกับโรงเรียนที่มี Internet และไมมี Internet
          4.1.7 Server ที่มี Data ใหบริการ เริ่มทําการใชงานมากขึ้น ชวงนี้ ไดเริ่มทดลอง Red Hat 9 ใชเปน Server
ใหกับสํานักงาน และโรงเรียนเริ่ม Connect มาที่สํานักงาน โดยใช Server 7 ของอาจารยบุญลือ ชวงนี้ Server จริงมี
การโจมตีอยูเปนประจํา จึงมีความคิดที่วาจะใหโรงเรียนเปน Server เองเลย
          4.1.8 ทางกระทรวงไดออก Linux SIS 5.0 ใหโรงเรียนไดใชงาน แต Config และ Concept การใชงานในเวลา

Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                    หนา 45 

 
ตอมานั้น รูปแบบที่ใชในโรงเรียนมีความตองการมากขึ้น และเพื่อตองการลดการกระบวนการในการติดตั้ง จึงเริ่มมี
Script เพื่อชวยในการประแกตาง หลังการติดตั้งตัว Linux SIS แลว ชวงนี้เริ่มมีการนํา Interactive Web มาใชแลว
                  4.1.8.1 Hard disk ในชวงนี้ อยูราวๆ 80 – 250 GB การทํา Software Raid เริ่มมีการใช
                  4.1.8.2 เริ่มทํา School Server เพราะไดรูปแบบที่นิ่ง และระบบ server มีความเสถียรมากขึ้น
          4.1.9 12 May 2008 CNED log diary ใน setup3 เปนการจัดการกับ access log ที่ไดมาจาก Proxy
Server
          4.1.10 12 June 2009 Setup4 เพิ่มการจัดการกับ Network Config เพื่อใหใชงานไดบนทั้ง SIS 5.0 และ
SIS 5.5
          4.1.11 15 June 2009 Setup FC10 เนื่องจากปญหาดาน Hardware ปจจุบัน ที่ไมเขากันไดกบ SIS 5.0
                                                                                               ั
          4.1.12 24 August 2009 Setup FC11 จาก FC10 ที่ไม stable ทางดาน Network จึงปรับมาใช core 11
          4.1.13 28 July 2010 Setup FC11.2 ปรับปรุงการใชงาน net-reset, net-setup, net-chgdev, More
secure in logdiary
          4.1.14 25 June 2011 Setup FC11.3 ปรับปรุง school_firewall, เพิ่ม school.cned ใน
DNS_Caching_Domain, เพิ่ม php-extension module

4.2 Who to manage data
                  เพื่อลดความซับซอน โดยไมจําเปนตองมาปรับแกทาง สิทธิ root จึงไดออกแบบใหมี user ที่
สามารถ connect จากลูกขาย และงาน service สามารถทําไดโดยใช user คนนี้ นั้นคือการออกแบบให service ดึง
งานจาก webmaster’s directory ทั้งหมด วิธีการทํางานคือการจัดการไฟลทาง FTP เปนหลัก และการจัดการ MySQL
Database ทําผานเว็บดวยโปรแกรม phpMyAdmin

4.3 System Administrator
          4.3.1 Network Design
                  4.3.1.1 ระบบเนตเวิรคทั่วไปสําหรับเลน Internet ในระบบตองการ Gateway เพื่อเปนทางออก
สําหรับ IP ที่อยูนอกเหนือจาก IP ในวงภายใน
                  4.3.1.2 DHCP Server เปนเครื่องบริการประเภทหนึ่งที่ไวใหบริการ IP สําหรับลูกขายที่รองขอการ
บริการ โดยจะแจก IP ของเครื่องแมขายที่จําเปน โดยสังเขปดังนี้
                            1) IP Gateway
Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                   หนา 46 

 
2) DNS Server
                            3) WINS Server
                            ขอดีสาหรับบริการประเภทนี้คือ การแจก IP แกลูกขายโดย server
                                  ํ
                            ขอระวัง คือ Server ประเภทนี้ตอวงจะมีไดเพียงตัวเดียว


                  4.3.1.3 DNS Server ทําหนาที่ Resolve IP Name ประเภทของ Server ที่ทําใน CNED นี้เปนแบบ
DNS caching server
                  4.3.1.4 WINS (Windows Internet Name Server) ทําหนาที่ Resolve IP Name ของเครื่องลูกขาย
                  4.3.1.5 Web Server เปน Service port 80 หนาที่คือเปนตัวบริการการรองขอขอมูลบน web
browser ซึ่ง web ในปจจุบันเปนทั้ง บริการขอความเอกสาร และบริการแบบมีเงื่อนไข (Active web) ทํางานรวมกับ
ฐานขอมูล ทําใหเว็บมีการตอบสนองกับผูใช เชน Moodle Joomla Postnuk phpMyAdmin Mambo เปนตน
                  4.3.1.6 FTP Server เปน บริการที่ติดตอทางชอง 21 หนาที่คือจัดการกับไฟลบนเครื่อง Server
ปรับ permission ใหกับไฟลและโฟลเดอร
                  4.3.1.7 Proxy Server เปน บริการสํารองขอมูลของ Website ตางๆ ที่ลูกขายรองขอ เพื่อชวยลด
การติดตองานที่ใชซ้ํา เชน รูปภาพหรืองานเอกสารที่มี html header เดียวกัน การใชงานเปนไดทั้งลูกขายเองตั้งคา
หรือที่อุปกรณ Network Router/Gateway เปลี่ยนเสนทางเอง
                  4.3.1.8 Samba (Windows file server), ในการตั้งคาของ CNED ใหบริการเฉพาะการเขาถึงไฟล
ดวยความสามารถในการ synchronize transfer และความเปน Windows เองใน network-protocol นี้ การดึงไฟล
ตางๆ มาใชงานทําไดรวดเร็ว และไดในปริมาณทีมาก โดยไมรบกวนทรัพยากรระบบของลูกขายและเครื่องบริการ แต
                                            ่
Traffic ในระบบ network นั้นกลับคอนขางมีปริมาณมาก
                  4.3.1.9 Iptables, ใน CNED ไดตั้งคาใหทํางานเปน แกทิศทาง port, เปน Gateway, เปน Firewall
ทั้ง Real IP Server และ Gateway
                  4.3.1.10 ระบบ Internet network ทั่วไป ( [ Internet ] ------ [ ISP device ] ------ [ PC ] )
                  4.3.1.11 ระบบ network องคกรที่มีรูปแบบระบบเปนของตัวเอง ( [ Internet ] ----- [ ISP device ]
----- [ Local server ] ----- [ Local computer ] )
                  4.3.1.12 ยกตัวอยางการติดตอสู Internet Server ( [Target server] ----- [ Target server


Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                   หนา 47 

 
networking ] ----- [ Target server ISP Networking ] ----- [ Global Networking ] ----- [ ISP networking ] ----- [
ISP device ] ----- [ Local computer ] )
                   4.3.1.13 ยกตัวอยางการติดตอสูเครื่องแมขาย ( [ Server ] ----- [ Networking ] ----- [ PC ] )
                   4.3.1.14 ยกตัวอยางการติดตอผาน port 80 เฉพาะ packet เพื่อรองขอไฟล index.html
                            1) client request to server
                            2) server send accept request to client
                            3) client send request data
                            4, n) server send data in separate packet
                            5, n+1) client send receive data successful (packet(n) ==> data)
                            6, n+2) close message connection (server or client first), or error time out.
                            7, n+3) close connection successful (active both with once send acknowledge),
or error with time out.
                   4.3.1.15 จําเปนตองปรับแก layer ที่ต่ํากวา 4 หรือไม ดวยจํานวนกลุมของ IP ที่ใชมีคอนขางนอย
                                                                                        
และงานบริการเปนเฉพาะวงๆ, เปนพื้นที่ไป และเครื่อง Local computer หรือ ลูกขายนั้น ไมไดเกี่ยวของกับเครืองลูก
                                                                                                          ่
ขายอื่นๆ ทั้งที่อยูในพื้นที่เดียวกัน หรือ ตางวงกัน ระบบ networking จึงไมมความจําเปนตองปรับแก layer hardware
                                                                             ี
และแนะนําวาระบบ networking ประเภทนี้ซับซอนกวา CNED server มาก
                   4.3.1.16 IP route, CNED server พยายามหลีกเลียงงานการปรับแก หรือการใชงาน ที่ยุงกับ
                                                               ่
networking layer โดยตรง โดยรูปแบบการใชงานพยายามดึง Service ตางๆ ใหตรงๆ ถึง Server เลย เพื่อลดความ
ซับซอนของระบบเอง และ การดูแลอุปกรณที่มาก

         4.3.2 Limitation
                   4.3.2.1 Network device
                            4.3.2.1.1 Quality of signal
                                      4.3.2.1.1.1 Copper wire, ปญหาหลักของสายนี้คือความไมคงที่ของสัญญาณ
ระยะทางควรนอยกวา 100 เมตร, ไมควรโคงสายประเภทนี้ในรัศมีที่นอยกวา 4 เทาของเสนผาศูนยกลายของสาย, ควร
เดินสายใหหางจะสายไฟหลักของอาคาร หรือเลี่ยงที่จะเดินคูกันเปนระยะทางที่ยาว, ควรเดินในรม
                                                       
                                      4.3.2.1.1.2 Fiber optic wire, ควรใชสายที่ทางผูผลิตจัดเปนชุดขายไว การตัด
                                                                                     

Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                      หนา 48 

 
หรือ เชื่อมตอสายประเภทนี้ใชเครื่องมือมีมีราคาสูงมาก คุณภาพและความคงทีของสัญญาณเทากันตลอดความยาว
                                         ่                             ่
ของสาย
                                        4.3.2.1.1.3 Radio communication (Wi-Fi) จํานวน connection ตอเสาบริการ
สัญญาณเปนตัวลดความเร็วตอลูกขายแตละราย ระยะทางเปนตัวกําหนดความเร็วสูงสุดในการติดตอ นั้นคือคาลาชา
ตอคํารองขอของลูกขาย สําหรับการใชงานที่โรงเรียน การติดตอที่นอยกวา 30 เครื่องตอเสา และการเลนไฟลวดีโอ ที่
                                                                                                        ี
นอยกวา 10 การดูตอชวงเวลาเดียวกัน ระบบที่ใชอุปกรณโดยทัวไปสามารถเลนไดโดยไมมีปญหา แตสาหรับการเลน
                                                           ่                                 ํ
Internet ขึ้นอยูกับหลายปจจัย
                              4.3.2.1.2 Quality of connection
                                        4.3.2.1.2.1 Local Client to Local Server การใชงานแบบนี้ ทุกอุปกรณที่ใชใน
ระบบ networking สามารถดึงประสิทธิภาพจนถึงขีดสุดของอุปกรณตัวใดตัวหนึ่งไดเลย
                                        4.3.2.1.2.2 Local Client to Internet จากการออกแบบ CNED ไดปรับการตั้ง
คาใหใชงาน port 80 ผาน Squid Proxy ทั้งหมด การทดสอบคือหากเลนเน็ตหลังวงของ server ไมได หรือ ไดไมดีนัก
แตเลนโดยใชวงของ ADSL Router หรือ อุปกรณอื่นของแตละ ISP (lease line, IP-star) กลับเลนไดดี ในชวงเวลา
เดียวกัน นั่นสรุปไดเลยวา Server มีปญหาแน ใหดูในหัวขอการแกปญหา ซึ่งสามารถปรับใหไมตอง transparent
proxy ได
                                        4.3.2.1.2.3 Latency of connection by speed
                                                  - If packet per connection is 1500 bytes, each byte is 8 bit so
bit per this connection is 12’000 bits
                                                            - t for 128 kbps = 93.75 ms
                                                            - t for 1 Mbps = 12 ms
                                                            - t for 28 Mbps = 0.429 ms ( wifi at 50% signal )
                                                            - t for 100 Mbps = 0.12 ms
                                                            - Each connection must be finish to each device to
device, ex: ( [ local server ] ----- [ switch hub ] ----- [ wi-fi ] ----- [ client computer ] )
                                                              t_to response = ( (t client to wifi) + (t wifi to sw-hub)
+ (t sw-hub to server) )* 2 = (0.429 + 0.12 + 0.12)*2 = 1.332 ms


Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                        หนา 49 

 
- Example for Internet request 1 MB of content, คิดโดย
สุทธิที่เปนไปไมได (ไมคดรวม connection)
                          ิ
                                                          t = (1 MB * 8 bit/B ) / 1 Mbit/s = 8 sec นั้นคือขนาด
ขอมูลของหนาเว็บโดยทั่วไป ปญหานี้โดยสวนมาก Web browser จึงมีการรวม caching ไวในตัว
                                     4.3.2.1.2.4 Maximum connection per HW device
                                               - 100 Mbps, (100Mbps / 12kpbs/conn) = 8333 connection per
second. (And 1 Gbps will be 83’333 connection per second.)
                                               ! Because of some packet not fill to 1500 bytes, and minimum
can be a message, so > 10’000 packet can reach easily. (And 1 Gbps can reach 100’000)
                                               - อุปกรณ Network (NIC) ของเครื่อง PC โดยทัวไปตั้งคาไวที่ 5000
                                                                                          ่
packets/s ทั้ง 100Mbps และ 1Gbps (limit by IRQ and Kernel setup)
                                               - อุปกรณ Network (switch-hub, ADSL router)ที่หาซื้อไดทั่วไป
ขึ้นอยูกับ CPU และสถาปตยกรรมที่ใชในในวงจร ราวๆประมาณ 500 Mbps of all transmission
                  4.3.2.2 Computer
                            4.3.2.2.1 สถาปตยกรรมของ CPU สวนมากที่ใชคือ X86 base, หนาที่หลักของ CPU คือ
จัดการ Execution data บน Address ตางๆ
                            4.3.2.2.2 สถาปตยกรรมของ Mainboard คือสวนที่รองรับการทํางานของ CPU สวนนี้
ขึ้นอยูกับ Chip set เปนหลักในการออกแบบ ซึ่งหนาที่ของมันคือ จํานวน Bus ที่มีในการติดตออุปกรณแตละตัว
จํานวน Interrupt ที่รองรับ จํานวน Timer ที่มี ความสามารถในการรองขอการ interrupt สู CPU การจัดแจงการสง
ขอมูลจากสวนหนึ่งไปสูอีกสวนหนึ่ง (offset to offset) สวนนี้เองที่เปนการดึงศักยภาพของของระบบออกมาใช วาทําได
แคไหน Server ทํางานกับอุปกรณที่ติดตอเปนหลัก และการเก็บการรองขอหรือ Queue ตางๆ ถูกเก็บในหนวยความจํา
หลัก(หนวยความจําที่อยูบนบอรด) รูปแบบพวกนี้ตองการความกวางของการดึงขอมูล ณ ที่ตางๆ ไมเหมือนกับเครื่อง
                                                                                   
PC ที่ใชงาน การทํางานมักจะทําเฉพาะงาน เชน ดูภาพเคลื่อนไหว หรือ เลนเกมส อุปกรณที่ตดตอสําคัญก็มีแค การด
                                                                                      ิ
จอ สวนอุปกรณอื่นๆ นั้น (เชน การดเสียง หรือ Hard disk) ความลาชาเกิดขึ้นเปนหนวย ms ได
                            4.3.2.2.3 ความนาเชื่อถือของขอมูล คุณภาพที่ใชผลิตเปนสิ่งสําคัญ และขอกําหนดการ
ใชงานเปนตัวออกแบบชนิดของอุปกรณเลย


Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                  หนา 50 

 
4.3.2.2.4 ความไวใจได การออกแบบเปนตัวกําหนดราคาใหกบผลิตภัณฑที่ใชงาน
                                                                                 ั
                            4.3.2.2.5 อายุการใชงาน Integrate Semiconductor ออกแบบใหทํางานไดอยางนอย 10
ป แตสําหรับการทํางานทั่วไป (with Idle state) สามารถทํางานไดถง 20 ป
                                                               ึ
                            4.3.2.2.6 ลักษณะการใชงาน สวนมาก Server จะใชงานในสภาวะที่ เปดตลอดเวลา
สภาพแวดลอมมีแตอุปกรณประเภทเดียวกัน ซึ่งสภาวะนั้นสิ่งแวดลอมในการทํางานมีความหลากหลายมาก และ
ยังคงตองทํางานได การออกแบบจึงตองเผื่อสภาวะตางใหมากที่สด เชน ในกรณีที่ระบบทําความเย็นไมทํางาน หรือ
                                                           ุ
การตกของไฟ จึงทําใหอุปกรณที่ใชตองคงทนมากๆ ดวย
                            4.3.2.2.7 สถานที่ที่ทํางาน การคงสถานะจากสภาวะวิกฤติเชนอากาศนั้น ความรอนใน
ระบบเปนสิ่งที่ตองจํากัดออกใหรวดเร็ว ดังนั้นระบบระบายความรอนจึงคอนขางมโหฬาร สิ่งที่ตามมาคือฝุน และยิ่ง
บวกกับความชืนเปนสิ่งที่ควรจะหลีกเลี่ยง
            ้
                            4.3.2.2.8 ประสิทธิภาพพื้นฐาน
                                      4.3.2.2.8.1 CPU and Memory system in modern Computer are far
enough to think for response, It measure how client capable.
                                      4.3.2.2.8.2 PCI Bus, PC ที่ใชงานทั่วไป บัสนี้มอยูเสนเดียว ที่อตราการสง
                                                                                     ี                 ั
ขอมูลสูงสุดคือ (32bit * 33MHz) = 1056 Mbps, ~132MB/s
                                      4.3.2.2.8.3 PCI-Xpress, Northbridge ของเครื่องสวนมากเปนตัวควบคุมบัสนี้
ถึงแมจะเปน 1X ก็เปนคนละเลนกับบัสอื่นๆ แตประเภทการ Transfer เปน Serial นั้นหมายความวา 10 clock จะได 1
byte ซี่งบัสนี้ทํางานที่ 2.5 GHz จึงไดสูงสุดที่ 250 MB/s แต Serial Interface จําเปนตองมี protocol ในการสงขอมูล
จึงอยูประมาณ 250*0.7 = ~175 MB/s ก็ยังนับวาสูงอยูดี
                                                   
                                      4.3.2.2.8.4 PCI-X, ทํางานที่ 32, 64 bits และที่ 66 หรือ 133 MHz
ความสามารถสูงสุดคือ (133MHz * 64bits) = 8512 Mbps, ~1064 MB/s
                                      4.3.2.2.8.5 คาประสิทธิภาพที่ใชงานไดจริง การตัดสินใจตางๆ อยูที่ CPU ที่
ทํางานบนโปรแกรม ดังนั้นเมื่อ CPU ทํางานไดชา จึงตอบสนองการทํางานทั้งระบบชาไปดวย
                                      4.3.2.2.8.6 อัตราตอบสนองแยสุด (คราวๆ, ไมรวม CPU FSB, real execution
code < 10’000 opcode) ที่เปนไปไดตอ packet ที่ 1500 bytes on cat5 = 0.12 ms, PCI interrupt = 0.000032
ms, PCI transfer = 0.011 ms, CPU execution full page code (64kB) @ 800MHz = 0.082 ms รวมได (0.12 +


Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                    หนา 51 

 
0.000032 + 0.011 + 0.082 + 0.011 + 0.000032 + 0.12) = 0.344 ms นั่นคือ รับ packets ไดสงสุด ที่
                                                                                       ู
(1/0.000344) = 2906 packets. ดังนั้น PCI Bus usage = ((2906packets/s*12000bit/packets)/1056Mbps)*100
= 3.3%
                           4.3.2.2.9 ระบบไฟฟาในเครื่อง, การเลือกใชภาคจายไฟ เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอรที่ใช
มีระบบ Idle mode ในหลายอุปกรณ และหนวยประมวลกลาง (CPU) มีความสามารถในการปรับความเร็วเพื่อลด
ความสิ้นเปลื่องพลังงาน เครื่องจึงใชกําลังไฟทีไมเทากันตลอดเวลา การออกแบบ switching power supply ความ
                                              ่
อิ่มตัวในหมอแปลงเปนสิ่งสําคัญ การเพิ่ม PWM-duration สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการจายไฟไดเกิน 100% เลยที่
เดียว แตสิ่งที่ตามมาคือ ความไมแนนอนของแรงดัน ตรงนี้เปนสิ่งที่อันตรายมากสําหรับอุปกรณทุกชนิด
                  4.3.2.3 Client payload
                           4.3.2.3.1 การใช Front End ดวยจาวา ทําใหหนาเว็บมีการปรับจัดเรียงขอความเองได
แตการเปดโซนที่มากไปทําเครืองที่แสดงผลตองใชกําลังในการประมวลมาก Front End มีขอดีมากในการสรางหนาเว็บ
                            ่
โดยเครื่องแมไมตองมีการสงอะไรก็ตามที่ซ้ําๆ เชน หนาเมนู แถบบารตางๆ การสรางตาราง เปนตน
                           4.3.2.3.2 ตัวเลนเว็บของลูกขายเองชวยในการนําเสนอ ทั้งเอกสาร หรือ ภาพเคลื่อน ไหว
ตางๆ และ ชนิดของงาน, ภาพเคลื่อนไหวความคมชัดสูงนั้นตองการเครื่องที่เลนใชทรัพยากรสูงไปดวย
                           4.3.2.3.3 ความเร็วของ CNED School server กับเครื่องในโรงเรียนคือ 100 Mbps
                           4.3.2.3.4 พฤติกรรมการเลนของผูใชงานของแตละวัย ความสนใจตอชวงเวลา แรง
กระตุนจากสิ่งทีไดเห็น การตอบสนองจากสือที่ใช ทั้งหลายนี้ตองการเวลาในการตัดสินแนวทางการนําเสนอสื่อ
                ่                      ่
CNED ไดพยายามตัดขอจํากัดทางดานเทคโนโลยีออกที่เกียวกับอุปกรณออกไป เพื่อใหเหลือแตการพัฒนาสื่อที่
                                                   ่
เหมาะสม สวนนี้ใชเวลาและบุคลากรที่มาก
                  4.3.2.4 Data payload
                           4.3.2.4.1 File transfer: html, txt, doc, pdf, all-none-stream-play (Good for all type
of connection)
                           4.3.2.4.2 Multimedia file: wmv, flv, mp3, mp4, stream-play-or-sequential (some
good on tcp-80, but almost play good on windows-file)
                           4.3.2.4.3 System file: exe, iso, all-of-program (only windows-file can capable)



Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                 หนา 52 

 
4.4 Feature
           4.4.1 Hardware and Base program
                   4.4.1.1 สําหรับ Server จะมีการปรับเปลี่ยนรุน OS ก็เฉพาะความเขากันไดกับอุปกรณในชางเวลา
นั้น
                   4.4.1.2 CNED pattern สําหรับ School server จะยังคงรูปแบบเดิมไวใหนานทีสุด สวนการทําเปน
                                                                                          ่
multiuser สําหรับองคกร หรือ ปรับไปใชใหเหมาะสมกับงาน เปนไดตามความตองการ
                   4.4.1.3 Active Web จะมีการทดลองใชอยูตลอด CNED School server จะใช Moodle project
                                                        
เปนหลัก

           4.4.2 Data
                   4.4.2.1 ขอมูลทั้งหมดทีมีอยูเปนความตองการของผูใชปลายทางเอง จุดประสงคหลักของ CNED
                                          ่
School server เพื่อนําความรูเหลานี้ไปชวยในการเรียนรู
                   4.4.2.2 อยากใหมีการทําเปน Temporary Electronic Digitally Library สําหรับหนังสือเกาทุก
ประเภทที่เคยเรียนกันมา

           4.4.3 CNED License
                   4.4.3.1 ของสงวนสิทธิ์รูปแบบในหัวขอ CNED Pattern และ CNED School server pattern
                   4.4.3.2 การพัฒนาตางๆ ที่ตอยอดจากนี้ เปนสิทธิ์ของผูใชปลายทางภายใต GNU ของผูสรางสรรค
ผลงานนั้นๆ




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                หนา 53 

 
5 แกไขรหัสผาน
         - สําหรับโรงเรียนที่มี Internet IP หรือที่เรียกกันวา Real IP เปน IP ที่สามารถเขาถึงจากโลกภายนอกได
รหัสผานทั้งหมดจําเปนตองตั้งใหม ที่ตองแกไขมีดังนี้
                   1 root (unix) , connect via: console
                   2 webmaster (unix) , connect via: samba, ftp
                   3 admin (mysql) , connect via: phpMyAdmin

5.1 แกไขรหัสผานใหกับ root
         - ขอระวัง รหัสผานนี้เปนของผูใชสิทธิ์สูงสุดในระบบ ไมควรลืมเด็จขาด
         - เขาสูระบบ ดวย root และรหัสผาน
                    1) # passwd root
                    2) <พิมพรหัสผาน> <enter>
                    3) <พิมพรหัสผาน> <enter>




5.2 แกไขรหัสผานใหกับ webmaster
         - เขาสูระบบดวย root และรหัสผาน
                    1) # passwd webmaster
                    2) <พิมพรหัสผาน> <enter>
                    3) <พิมพรหัสผาน> <enter>

5.3 แกไขรหัสผานใหกับผูใชประเภท grant user ของ mysql
         5.3.1 ใช mysqld โดยไมอางอิงฐานขอมูลเดิม
                   - สามารถดูความชวยเหลือจากไฟลนี้ได # view /root/setupfc11.3/mysql_user
                   1) # service mysqld stop
                   2) # /usr/libexec/mysqld --skip-grant-tables &

Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                   หนา 54 

 
3) <enter>
               4) # mysql




      5.3.2 ใชฐานขอมูล mysql
               1) >   use mysql      <enter>
               2) >   flush privileges;        <enter>




      5.3.3 ดูรายชื่อที่มีอยูในระบบ mysql
               - ตัวอยางการดูรายชื่อทั้งหมด
               1) >   select user, host, grant_priv, password from user;   <enter>




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                    หนา 55 

 
- ตัวอยางการดูรายชื่อเฉพาะผูทมีสิทธิ์เปน grant_privileges
                                               ี่
                1) >   select user, host, grant_priv, password from user where

grant_priv=’Y’;        <enter>




       5.3.4 แกรหัสผานใหกบ user=’root’ host=’localhost’ (ใน CNED School server grant user จะใชชื่อ
                            ั
phpadmin@localhost)
1) > set password for ‘root’@’localhost’ = password(‘mysqladmin’); <enter>
2) > select user, host, grant_priv, password from user where
grant_priv=’Y’;          <enter>




        5.3.5 ออกจาก mysqld และเปดการใชงาน mySQL server
                1) > exit <enter>
                2) # killall mysqld
                3) <enter>




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                        หนา 56 

 
4) #   service mysqld start




Dr.Prachoom Rangkasikorn                   หนา 57 

 
6 การใชงาน mysql เพื่อสราง grant user
          - หนาที่ของ grant user นี้เพื่อเอาไวใชเปน login บนโปรแกรม phpMyAdmin โดยสิทธิ์ที่มีคือทําไดทกอยาง
                                                                                                           ุ
ใน mysql server เชน สรางฐานขอมูล สรางผูใชใหม และการมอบสิทธิใหผใช ใชฐานขอมูล
                                                                          ู
          - CNED School server มี grant user เพียงคนเดียว ชื่อ phpadmin และรหัสผาน phpadmin123 โดยผูใช
อื่นๆ จะถูกลบออกไป
          - ดูเพิ่มเติมไดในไฟล /root/setupfc11.3/mysql_user

6.1 เขา mysql
                           1) # service mysqld stop
                           2) # /usr/libexec/mysqld             --skip-grant-tables &
                           3) <enter>
                           4) # mysql




6.2 ใชฐานขอมูล mysql และทําการดูรายชือผูใชที่มีอยู
                                       ่
                        1) > use mysql
                        2) > flush privileges;




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                 หนา 58 

 
3) >   select user, host from user;




6.3 จะทําการลบชื่อผูใชทั้งหมดจากชื่อในหัวขอขางบน
                            1) > delete from user where       user=’root’;
                            2) > delete from user where       user=’’;
                            3) > select user, host from       user;




6.4 สรางผูใชชอ phpadmin รหัสผาน phpadmin123 พรอมสิทธิ์ grant privileges
                ื่
                          1) > grant all privileges on *.* to
‘phpadmin’@’localhost’ identified by ‘phpadmin123’ with grant option;
                         2) >   select user, host from user;




6.5 ออกจาก mysql และเริ่มระบบใหเหมือนเดิม
                        1) > exit
                        2) # killall mysqld
                        3) <enter>

Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                       หนา 59 

 
4) #   service mysqld start




Dr.Prachoom Rangkasikorn                          หนา 60 

 
7. แกไข Network
7.1 เพิ่ม, ลด การดในระบบ โดยใช CNED script ชวย จะไดจํานวนวงของระบบภายใน ลําดับการดจะเปนดังนี้
                   eth0 local 192.168.10.0/24
                   eth1 to internet IP, สวนมากจะเปนดังนี้
                                   Gateway = 192.168.1.1
                                   DNS = 192.168.1.1
                                   โดย CNED ใช IP ของการดเปนดังนี้ 192.168.1.8/255.255.255.0
                           - หากระบบไดมการแกไขมาแลว คาตางๆ ยังคงอยู
                                        ี
                   eth2 local 192.168.11.0/24
                   eth3 local 192.168.12.0/24
                   eth4 local 192.168.13.0/24
                   eth5 local 192.168.14.0/24

         - วิธีทํา คือ
                            1) จัดแจงอุปกรณในระบบใหเรียบรอย และทําการเปดเครื่อง
                            2) เปดระบบ แลวเขาสูระบบดวย root
                            3) เขาในโฟลเดอร setup และพิมพ
                               # cd /root/setupfc11.3
                               # ./net-reset



                            4) ทําการรีบูทเครื่อง
                               # reboot
                            5) เขาสูระบบดวย root และพิมพ
                               # cd /root/setupfc11.3
                               # ./net-setup



                            6) ทําการรีบูทเครื่อง เมื่อเปดเครื่องขึ้นใหม CNED School server ก็พรอมทํางาน

7.2 ปรับ IP สําหรับเลน Internet CNED ไดใช eth1 เปน IP สําหรับออกสู Internet หรือเปน Real Internet IP ที่ทําให
เครื่อง server นี้สามารถเขาถึงจากโลกภายนอกได
                    - ยกตัวอยาง

Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                                    หนา 61 

 
IP (ที่ CNED School server) = 10.0.0.2
                            Gateway = 10.0.0.1
                            Netmask = 255.255.255.0
                            DNS = 8.8.8.8
         7.2.1 ปรับแก NIC ในระบบดวยตัวอยางขางตน (7.1) Server ที่บริการลูกขายเลน Internet ได ตองการ NIC
อยางนอยสองใบครับ
         7.2.2 แกไขไฟล /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth1 เพื่อแก IP, DNS, Gateway
                            1) # vi /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth1
                            2) กด i แลวแกตามบรรทัดในรูปภาพ
                            3) กด <esc>
                            4) พิมพ :wq <enter>




         7.2.3 แกไข firewall ที่ทําหนาที่เปน router
                            1) # vi /root/school_firewall
                            2) กด i แลวแกตามบรรทัดในรูปภาพ
                            3) กด <esc>
                            4) พิมพ :wq <enter>




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                               หนา 62 

 
7.2.4 Reboot เครื่อง และลองทําการเลน Internet จากลูกขายครับ




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                              หนา 63 

 
8 ใชโปรแกรม ftp
      - โปรแกรม ftp เปนโปรแกรมที่เอาไวตดตอกับ Server เพื่อนําไฟลเขา,ออก และเปลี่ยนสิทธิ์
                                         ิ
      - โปรแกรมที่จะนําเสนอในนี้ ใชโปรแกรม FileZilla หาโหลดไดที่ http://filezilla-project.org/download.php




               A) สวนที่ใช connect สู server
               B) สวนแสดงไฟลของเครื่องลูกขาย
               C) สวนแสดงไฟลของเครื่องแมขายที่เราติดตอ




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                             หนา 64 

 
8.1 ติดตอสู CNED School server
                  1) ใสขอมูล Host=school.cned Username=webmaster Password=teacher789




8.2 การนําไฟลเขา Server
                  1) เลือกที่อยูปลายทาง
                  2) เลือกตําแหนงที่เก็บไฟล
                  3) คลิกขวาที่ตําแหนงไฟล หรือแฟมงาน




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                 หนา 65 

 
4) คลิกที่ Upload เพื่อนําไฟลขึ้นแมขาย




8.3 การนําไฟลออกจาก Server
                 - คลิกขวาที่ไฟลหรือแฟมงาน ในสวนของหนาตางเครื่องแมขาย (1) จะไดแถบตัวเลือกดังภาพ
ขางลาง




                 - เลือก Download จะทําการดึงไฟลหรือแฟมงาน มาใสในสวนที่ (2)
                 - โปรแกรมจะนําไฟล หรือแฟมงาน มาไวที่ปลายทางที่เราเลือกในสวนของลูกขาย (2)

8.4 การเปลี่ยน permission ใหกับแฟมงาน, ไฟล
                 1) คลิกขวาที่ไฟลหรือแฟมงาน ในสวนของหนาตางเครื่องแมขาย (1)
                 2) เลือก File permissions…
                 - ตัวอยาง File permission และ Folder permission




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                            หนา 66 

 
- ในกรอบสีแดง เปนการเพิ่มการทํางานใหทุกไฟลและแฟมงานในสวนนี้ มีการแกไขดวย




Dr.Prachoom Rangkasikorn                                                                       หนา 67 

 
Manual setup cned model
Manual setup cned model
Manual setup cned model
Manual setup cned model
Manual setup cned model
Manual setup cned model
Manual setup cned model

More Related Content

Viewers also liked

หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6sompriaw aums
 
นิทาน ปลาบู่ทอง
นิทาน   ปลาบู่ทองนิทาน   ปลาบู่ทอง
นิทาน ปลาบู่ทองsompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4sompriaw aums
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6sompriaw aums
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1sompriaw aums
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5sompriaw aums
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6sompriaw aums
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShareSlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareSlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareSlideShare
 

Viewers also liked (18)

หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.6
 
นิทาน ปลาบู่ทอง
นิทาน   ปลาบู่ทองนิทาน   ปลาบู่ทอง
นิทาน ปลาบู่ทอง
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.3
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.5
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.4
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.1-3
 
แบบฝึกหัดอาเซียน
แบบฝึกหัดอาเซียนแบบฝึกหัดอาเซียน
แบบฝึกหัดอาเซียน
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 2 ป.1
 
Google apps photos
Google apps photosGoogle apps photos
Google apps photos
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.1
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.5
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการอาเซียนศึกษา หน่วยที่ 1 ป.6
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to Manual setup cned model

วินโดว์ 7
วินโดว์ 7วินโดว์ 7
วินโดว์ 7nan122538
 
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนเกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนbennypong
 
คู่มือการติดตั้ง Cent os
คู่มือการติดตั้ง  Cent osคู่มือการติดตั้ง  Cent os
คู่มือการติดตั้ง Cent osPacharin Ngowpradit
 
Lab c1 1
Lab c1 1Lab c1 1
Lab c1 1binLy
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์Aphison Pukon
 

Similar to Manual setup cned model (20)

Cent os
Cent osCent os
Cent os
 
วินโดว์ 7
วินโดว์ 7วินโดว์ 7
วินโดว์ 7
 
Web dav android (1)
Web dav android (1)Web dav android (1)
Web dav android (1)
 
Web dav android
Web dav androidWeb dav android
Web dav android
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
รูปทรงกลม
รูปทรงกลมรูปทรงกลม
รูปทรงกลม
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Ch02 administrators-tasks
Ch02 administrators-tasksCh02 administrators-tasks
Ch02 administrators-tasks
 
ระบบปฎิบัติการ ปวช
ระบบปฎิบัติการ ปวชระบบปฎิบัติการ ปวช
ระบบปฎิบัติการ ปวช
 
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนเกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
 
คู่มือการติดตั้ง Cent os
คู่มือการติดตั้ง  Cent osคู่มือการติดตั้ง  Cent os
คู่มือการติดตั้ง Cent os
 
Lab c1 1
Lab c1 1Lab c1 1
Lab c1 1
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
Project ii v.2.0
Project ii v.2.0Project ii v.2.0
Project ii v.2.0
 
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
ระบบปฎิบัติการและเตรือข่ายคอม ณัฐพร อภิสันต์
 
Atomymaxsite25
Atomymaxsite25Atomymaxsite25
Atomymaxsite25
 

Manual setup cned model

  • 1. เอกสารติดตั้ง CNED School Server เรื่อง รูปแบบเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา (COMPUTER NETWORK FOR EDUCATIONAL DEVELOPMENT MODEL) (CNED MODEL) นายประชุม แรงกสิกรณ ตําแหนง รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คํานํา หนังสือเลมนี้ จัดทําเพื่อวัตถุประสงคในการอธิบายรูปแบบการทําเครื่องแมขายที่ใชงานในโรงเรียน (CNED School server) เพื่อชวยในการเรียนการสอน และเปดโอกาสใหกับเด็กนักเรียนในพื้นที่หางไกลไดมีโอกาสเขาถึงขอมูล จากการทดลองผิดลองถูก จึงไดรปแบบการใชงานที่ชวยไดทั้งผูพฒนา ผูดูแล และผูใชขอมูลเองมีความสอดคลองกัน ู ั  มากทีสด เพื่อลดอุปสรรคทางดานเทคนิคลง และการทําใหระบบมีการดูแลใหนอยที่สด ่ ุ  ุ เนื้อหาในเลมประกอบดวย กลาวนํา วาภาพกวางของ CNED MODEL บทที่ 1 การติดตั้งระบบปฏิบัติการ บทที่ 2 การทํา CNED Server เริ่มตน (ดวย Script) บทที่ 3 การทํา CNED School server (ดวย script setupfc11.3) บทที่ 4 CNED Innovation บทที่ 5 แกไขรหัสผาน ของผูใชใน CNED School server บทที่ 6 ใชงาน mySQL server เพื่อสราง grant user บทที่ 7 แกไข Network บทที่ 8 ใชงาน ftp server บทที่ 9 ใชงาน phpMyAdmin เพื่อชวยจัดการ mySQL ผานทางเว็บ 68 สวนการติดตั้ง moodle จะกลาวไวในเอกสารเลมตอไป หวังวาเอกสารเลมนีจะเปนเครื่องมือในการใช CNED School server ไดอยางมีประสิทธิภาพประสิทธิผล ้ สามารถพาใหโรงเรียนไดใชขอมูลที่มีใหแลวและพัฒนาตอไป สามารถบริการใหครูผูสอนและนักเรียนไดเขาถึงแหลง เรียนรูและชวยกันสรางสรรคเนื้อเพิ่มเติมไดอยางรวดเร็วในโอกาสขางหนา หากมีขอบกพรอง หรือมีขอชี้แนะประการใด ผูเขียนนอมรับฟงดวยความเต็มใจและขอขอบคุณลวงหนามานะโอกาสนี้ ผูจัดทํา นายประชุม แรงกสิกรณ กรกฎาคม 2554 Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 1   
  • 3. สารบัญ คํานํา 1 กลาวนํา 2 บทที่ 1 การติดตั้งระบบปฏิบัติการ 3 บทที่ 2 การทํา CNED Server เริ่มตน (ดวย Script) 27 บทที่ 3 การทํา CNED School server (ดวย script setupfc11.3) 38 บทที่ 4 CNED Innovation 45 บทที่ 5 แกไขรหัสผาน ของผูใชใน CNED School server 54 บทที่ 6 ใชงาน mySQL server เพื่อสราง grant user 58 บทที่ 7 แกไข Network 61 บทที่ 8 ใชงาน ftp server 64 บทที่ 9 ใชงาน phpMyAdmin เพื่อชวยจัดการ mySQL ผานทางเว็บ 68 Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 2   
  • 4. กลาวนํา CNED Computer Network for Educational Development CNED Concept <2007-now> Single User Standalone Server CNED Pattern - จากการใชงานไดมีการพัฒนาในสวนของขอมูลจํานวนมาก จึงไดออกแบบใหสวนของ Data และ System แยกสวน จากกัน เพื่องายในการปรับปรุง - จุดมุงหมายของ Server คือเพือทํารูปแบบระบบเครือขายใหใชงานงาย และเสถียรภาพ จากทรัพยากรทีมีอยูอยาง ่ ่ จํากัด ทั้งสถานที่ใชงานสวนมากเปนสถานที่หางไกล การดูแลรักษา/พัฒนาทําไดยาก - การพัฒนาขอมูลนั้นไดมีการเพิ่ม และปรับปรุงเรื่อยมาจากการนําระบบไปใชงานในโรงเรียน ซึ่งเปนสวนของผูใชงาน เอง จากปญหาตางที่เปนอยู ณ ปจจุบัน - ปญหาของระบบ Internet - ปญหาของการเขาถึงขอมูลผานสื่อตางๆ - ขอมูล - ตัวผูใชขอมูลเอง - ตัวผูพัฒนาขอมูล เนื้อหาในเอกสาร - จะมีการแบงออกเปน 4 สวนดังนี้ 1 บทที่ 1 – 4 เปนสวนที่อธิบายรูปแบบของ CNED Server และการปรับแตงเพื่อการใชงาน 2 บทที่ 5 – 7 เปนหนาที่ของ root ในการดูแลระบบ 3 บทที่ 8 – 9 เปนหนาที่ของผูดูแลขอมูลดวยสิทธิ์ของผูใชงาน webmaster, phpMyAdmin 4 บทที่ 10 - … ผูใชงานพัฒนาสื่อการสอน Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 3   
  • 5. 1 ติดตั้งระบบปฏิบัติการ System Partitions: /boot 100MB / 5GB <swap> 2GB Hardware Req: 1 Server (PC or Server on X86 base) 2 1 HDD Topic: 1.1 สราง Partition สําหรับการติดตั้ง 1.2 ติดตั้งระบบ 1.3 ปด selinux 1.1 สราง partition โดยใช Rescue Mode 1.1.1 ใสแผน FC11 DVD (32bit หรือ 64bit ขึ้นกับระบบที่ใช) แลวเลือกใหเครื่อง boot จากแผนซีดี 1.1.2 หนาจอของ FC11 Installation ใหเลือก Rescue installed system Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 4   
  • 6. 1.1.3 ขั้นตอนขางลางนี้ ให TAB ตามในสวนที่วงกลมไว 1.1.4 สํารวจ Hard disk และ partition ที่มี - ดู Hard disk ที่มีอยูในระบบ  1) # ls /dev/sda* จากภาพ มี hard disk เพียงตัวเดียว คือ sda และมีทั้งหมด 6 partitions - ดูขอมูลใน partition 1) # fdisk /dev/sda <enter> 2) พิมพ p <enter> - ในกรณีที่ hard disk ถูกทําเปนแบบ CNED อยูแลว (รวมทั้งขนาด partition, ดูขอความในกรอบ) Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 5   
  • 7. ใหขามไปขอ 1.2, ออกจาก rescue mode โดยใชสองคําสั่งขางลางนี้ 1) พิมพ q <enter> เพื่อออกจาก fdisk 2) # exit <enter> เพื่อออกจาก rescue mode 1.1.5 ลบ partition ทั้งหมด (ตอจากหัวขอ 1.1.4) - หากนอกเหนือจากนี้ (Windows partition) กด d แลวตามดวย partition number, จนหมด 1) : d <enter> Delete partition command 2) : 1 <enter> Delete partition Number 1 3) : d <enter> Do delete again 4) : 2 <enter> 5) : d <enter> 6) : 3 <enter> 7) : d <enter> 8) : 4 <enter> Delete Extended partition cause all sub deleted. 9) : p <enter> 1.1.6 สราง System partitions 1) : n new partition command 9) : 2 2) : p primary partition 10) : 14 4) : 1 partition number 1 11) : 650 5) : 1 First cylinder of partition 1 12) : n Create partition 3 6) : 13 Last cylinder of partition 1 13) : p 7) : n Create partition 2 14) : 3 8) : p 15) : 651 Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 6   
  • 8. 16) : 905 - หากผิดพลาดใหทําหัวขอ 1.1.5 ซ้ํา - ดู partition ที่สรางไปแลว 1) : p <enter> 1.1.7 เปลี่ยน partition’s system id ของ partition 3 เปน linux swap (id=82) - ตอจาก 1.1.6 1) : t <enter> Change partition command 2) : 3 <enter> Choose partition number 3 3) : 82 <enter> Change a choose partition to id = 82 Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 7   
  • 9. - ดู partition ที่สรางไปแลว 1) : p <enter> 1.1.8 บันทึก partition (ตอจาก 1.1.7) 1) : w <enter> 1.1.9 ออกจาก rescue mode 1) # exit <enter> - ระบบจะทําการ restart 1.2 ติดตั้งระบบ อธิบายการลงระบบปฏิบัติการ การเลือก partition และ โปรแกรมที่ติดตั้ง 1.2.1 ใสแผน FC11 DVD (32bit หรือ 64bit ขึ้นอยูกับระบบที่ใช) แลวเลือกใหเครื่อง boot จากแผนซีดี Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 8   
  • 10. 1.2.2 หนาจอของ FC11 Installation ใหเลือก Rescue installed system 1.2.3 การตรวจสอบแผนกอนติดตั้ง เลือกไมปฏิบัติ Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 9   
  • 14. 1.2.7 ตั้งชื่อเครื่อง ใหปลอยคาเดิมไว คลิกปุมถัดไป Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 13   
  • 15. 1.2.8 เลือกเขตเวลาเปน Bangkok จากแผนที่เลย Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 14   
  • 16. 1.2.9 กําหนดรหัสผานใหกับ root 1) ในคูมือนี้ใชเปน 123456 2) หลังจากคลิกปุมถัดไป เครื่องจะถามดังรูป ใหเลือก ใช Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 15   
  • 17. 1.2.10 เลือกแบบของ partition ใหเลือก Create custom layout ตามรูป Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 16   
  • 18. 1.2.11 ทํา Mount Point 1) ดับเบิลคลิกที่ /dev/sda1 - Click Format as check box - Select to ext3 - Choose Mount Point to /boot - Click Ok button Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 17   
  • 19. 2) /dev/sda2 mount to / as ext4 3) /dev/sda3 as swap 4) คลิกปุม ถัดไป ระบบแจงเตือนการกระทําที่จะทําใหสูญเสียขอมูลใน partition ในสวน  ที่เลือกไว ใหเลือก Format Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 18   
  • 20. 5) ยืนยันการเปลื่ยนแปลง เลือก Write changes to disk 1.2.12 จัดการ boot loader ใหเลือกปุมถัดไปไดเลย  Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 19   
  • 22. 1.2.14 เลือก Software applications 1) Desktop Environments 2) Applications Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 21   
  • 23. 3) Servers 4) Base System - Packages ที่ตดตั้ง ิ DNS Name Server FTP Server MySQL Database Web Server Windows File Server Base Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 22   
  • 24. 6) คลิกปุม Next  1.2.15 โปรแกรมกําลังดําเนินการติดตั้ง Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 23   
  • 25. 1.2.16 โปรแกรมติดตั้งสมบูรณ เลือก Restart 1.3 ปด selinux 1.3.1 ปรับแกระบบเบื้องตน หลังจากระบบเปดใชงานครั้งแรก (ถามเพียงครั้งเดียว, บางเครื่องก็ไมถาม) ให เลือก Quit Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 24   
  • 26. 1.3.2 เขาสูระบบดวย root และรหัสผาน 123456 1.3.3 ปดการใชงาน SeLinux 1) # vi /etc/selinux/config 2) กด i แลวทําการแกไข จาก enforcing เปน disabled 3) กด Esc key, พิมพ :w แลว Enter Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 25   
  • 27. 5) กด Esc key, พิมพ :q แลว Enter เพื่อออกจาก vi editor 1.3.4 Reboot ระบบ 1) # reboot 1.3.5 เสร็จสมบูรณ Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 26   
  • 28. 2 CNED Server เริ่มตน, with script เครื่องเซิพรเวอรนี้ออกแบบไวสําหรับบริการขอมูลจากแฟมงานทีระบุไวอยางตายตัว ซึ่งการปรับแกขอมูลนั้น ่ ระบุใหผูใชของระบบเปนเจาของขอมูล ผูใชนี้ชื่อ webmaster (uid:gid = 1000:1000) CNED Server ตองการโฟลเดอรสองตําแหนง คือ /school/webmaster และ /school/log การใชงาน script เพี่อลดขั้นตอนการปรับแกที่ยงยาก ผูใชสามารถลดขั้นตอนในสวนตอไปนี้ไดเลย ุ  1 Linux command 2 Configure networking 3 Linux User and Group 4 Configure DHCP Server 5 Configure FTP Server 6 Configure HTTP Server 7 Configure Windows File Server 8 Configure DNS cache Server 9 Install extend package ความเขาใจ 1 สิทธิ์ root (uid:gid = 0:0) คือสิทธิสูงสุดในระบบ 2 สิทธิ์ webmaster (uid:gid = 1000:1000) เปน user account สูระบบ Hardware Requirement (Basic) 1 Server with at least 1 NIC 2 Client with network interface 3 Network Equipment setup Or single cross cable wire เปาหมายบริการของ server 1 http://school.cned Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 27   
  • 29. 2 school 3 ftp://school.cned 4 dhcp เปาหมายการใชงานโดย webmaster โดยการติดตอจากทางเครื่องลูกขาย 1 การเขา server ผานทาง FTP ดวยโปรแกรม FileZilla และสงไฟลขึ้น server 2 การเขา server ผานทาง File Server และสงไฟลขึ้น server 3 การแก permission 4 โครงสรางแฟมงานใน webmaster และ service ที่กระทํา /school/webmaster เปนที่อยูบนระบบ ftp http://school.cned/ftp schoolftp media schoolmedia (ซอนไว) mysql (เปนแฟม database ของ mysql server) on_ftp ftp://school.cned (anonymous เขียนไฟลได) php_file (สําหรับเก็บ mysql ไฟล ดวยโปรแกรม phpmyadmin) share schoolshare web http://school.cned เนื้อหา 2.1 ใชงาน CNED script เพื่อติดตั้ง service และใสรหัสผานใหกบ webmaster ั 2.2 ใชงาน CNED script เพื่อติดตั้ง Network interface 2.3 ทดสอบการใชงาน DHCP, HTTP, FTP, Windows file server และแก permission 2.4 ลูกขายทั่วไปเขียนไฟลใส Server ทาง Windows file server Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 28   
  • 30. 2.1 Setup CNED Server 2.1.1 เขาสูระบบดวย root , password: 123456 2.1.2 Mount CDROM และนํา CNED script ลงเครื่อง 1) # mount /dev/cdrom /mnt 2) # cp -R /mnt/setupfc11.3 /root 2.1.3 สรางโฟลเดอรใหกบ CNED script ั 1) # mkdir /school 2) # mkdir /school/webmaster 3) # mkdir /school/log - ในกรณีติดตั้ง CNED School server ใหทําในหัวขอ 3.1.3 ดวย 2.1.4 Run setup script 1) # cd /root/setupfc11.3 2) # ./setup - รอจนติดตั้งเสร็จ 2.1.5 ใส password ใหกับ webmaster ดวยรหัสผาน teacher789 - สรางใหกับระบบ linux 1) # passwd webmaster Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 29   
  • 31. 2) teacher789 <enter> 3) teacher789 <enter> - สรางใหกับ samba 1) # smbpasswd –a webmaster 2) teacher789 <enter> 3) teacher789 <enter> 2.2 ติดตั้งระบบ Network - สวนนี้ตองทําสองขั้นตอน คือ ครั้งแรกเปนการลบคาเกาของระบบ และครั้งที่สองเปนการติดตังระบบ ซึ่ง ้ ตองการการรีบูทเครื่องทั้งสองครั้ง - ตอจาก 2.1 2.2.1 ใชคําสั่ง net-reset 1) # ./net-reset 2) # reboot 2.2.2 ใชคําสั่ง net-setup - หลังจากระบบเริ่มใหมแลว ใหเขาสูระบบดวย root รหัสผาน 123456 1) # cd setupfc11.3 2) # ./net-setup 3) # reboot 2.2.3 ทดสอบ eth0 - เขาสูระบบดวยสิทธิ์ของ root - ดู Network 1) # ifconfig Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 30   
  • 32. - ทดสอบการ ping 1) # ping 192.168.10.1 2.3 ทดสอบการใหบริการของ Server ทางลูกขาย 2.3.1 การรับ DHCP - ใหเครื่องทดสอบอยูระบบเนตเดียวกับ eth0 ของ server หรือตอสายตรงกับ server เลย - ตั้งเครื่องลูกขายตั้งคาใหรับ DHCP Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 31   
  • 33. - ตัวอยาง IP ที่ไดรับจาก DHCP server Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 32   
  • 34. 2.3.2 ทดสอบ http และ DNS 1) http://school.cned 2.3.3 ใชงาน Windows file server (samba) ดวยสิทธิ webmaster และการนําไฟลขึ้น - เปด explorer 1) ที่ address bar พิมพ schoolwebmaster <enter> 2) พิมพ teacher789 Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 33   
  • 35. - โครงสรางของโฟลเดอร - นําไฟลใสในโฟลเดอร ftp 1) นําไฟลมาวาง 2) ดูไฟลทางสิทธิ์ของลูกขายทั่วไป Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 34   
  • 36. 3) ดูไฟลผานทาง web 2.3.4 ลูกขายทั่วไปสงไฟลข้น server ึ - ในกรณีที่ webmaster ไมอนุญาติ Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 35   
  • 37. - เขา ftp เพื่อกําหนด permission 1) ผูใชชื่อ webmaster รหัส teacher789 2) คลิกขวาที่แฟมงาน share แลวเลือก File permissions… Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 36   
  • 38. 3) คลิกเพิมใน check box ในสวนของผูใชทั่วไป (Public permissions) ตามวงกลมใน ่ ภาพ แลวคลิก OK 2.4 ลูกขายทั่วไปแกไขไฟลใน server - ลูกขายลองเขา schoolshare อีกครั้ง และทําการแกไข โดยเพิมโฟลเดอรใหม ่ Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 37   
  • 39. 3 CNED School Server จากสภาพการใชงานจริงของระบบเครือขายที่โรงเรียน การปรับแกตางๆ นั้นคอนขางลําบาก จึงไดหารูปแบบ ที่คอนขางยืดหยุนในการปรับการใชงาน ทั้งการดูรักษาแลและการปรับเพิ่มขอมูล โดยพื้นฐานแลว server นั้นซับซอน  ในตัวมันเองอยูแลว CNED pattern จึงไดกําหนดคาหลายๆ อยางใหงายในการพัฒนาตอได ซึ่งผูใชที่สามารถแกระบบ  เองไดนั้นสามารถปรับแตงรูปแบบเครื่องใหเปนตามการออกแบบของเขาเองได ปริมาณขอมูลทีมากขึ้นจากการรวบรวมของผูใชงาน ทําใหปริมาณความจุที่ตองการมากกวา 2 TB และ ่ เครื่องลูกขายเองที่มประสิทธิภาพสูง ทําใหความตองการทรัพยากรของระบบ Network สูงขึ้นดวย ทั้งนี้ตองคงรูปแบบ ี ใชงาน,อัพเกรดขอมูล, อัพเกรดระบบเครือขาย, และการเพิ่มความจุใหระบบ ตองงายดวย ประสิทธิภาพการสงผานขอมูลจากแหลงเก็บ (Hard disk) เนื่องดวย Hardware setup ที่หลากหลายใน สินคาประเภท PC การจัดการหนวยเก็บขอมูลแบบ RAID เพื่อเพิ่มความจุนั้น เปนทางเลือกที่ระบบเองตองการการดูแล มากขึ้น และยุงยากมากหากมีปญหา CNED จึงใชวิธีการกระจายการเก็บขอมูลแยกบน Hard disk แตละตัว โดยการ  mount และ link สูตําแหนงใน webmaster directory ประสิทธิภาพก็เปนของ Hard disk แตละลูกเอง และเวลามี ปญหาเฉพาะลูก ก็ไมกระทบกับลูกอื่นๆ ปจจุบันสื่อการเรียนมีประมาณ 3 TB ระบบ network, ที่ความเร็ว 1 Gbps นั้น ชวยในเรื่องเวลาการเขาถึง แตเปนไปไดยากสําหรับ PC และ อุปกรณทั่วไปที่ใชกัน stream ที่เปนไปไดประมาณ 300 Mbps นั้นก็นับวาเยียมแลว และหลายๆ NIC บน Server ก็ ่ ชวยในเรื่อง connection response ได และลด traffic บนระบบ network แตละวงไดมาก จํานวนอุปกรณที่เปนแมขายในวงเน็ต เพี่อลดอุปกรณใหมากทีสุด จึงได Server เพียงตัวเดียวในแตละวงที่ ่ เปนทั้ง Service Servers และ Internet Gateway ในตัว และยังไดเพิมประสิทธิภาพการใชงาน Internet ดวย ่ Transaparent Proxy Caching บวกกับ access log ทั้งหมดนี้ CNED script ไดครอบคุมการจัดการเหลานี้ไวแลว ซึ่ง ยังตองการการปรับแตง config ไฟลอีก 2 ไฟล (/etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth1, /school/school_firewall) เพื่อใหบริการ Internet Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 38   
  • 40. รูปแบบโครงสราง CNED School server     Internet http://school.cned/dltv/  http://school.cned/edltv/  schoolftp  http://school.cned/moodle/  school  192.168.11.0/24  192.168.12.0/24  192.168.13.0/24 192.168.14.0/24 http://school.cned  ftp://school.cned  192.168.10.0/24 Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 39   
  • 41. 3.1 Mount CNED School point - สามารทํากอนติดตั้ง script (ติดตั้งใหม) หรือทําหลังจากติดตั้ง Script แลว ( - กรณีที่ทํากอนการลง script ใหทําการ mount ในชวง หัวขอ 2.1.3 เฉพาะ /school/webmaster และ /school/log (หากเปน HDD ที่มีขอมูลอยูแลว ใหขามไปหัวขอ 3.1.3 ได)  3.1.1 สราง partition, CNED ใชความจุให /school/log เปนจํานวน 10 GB และสวนที่เหลือทั้งหมดใหกับ partition ของ /school/webmaster - เขาโปรแกรม fdisk 1) # fdisk /dev/sda - สราง partition ที่ 4 ใหเปน extend 1) n สราง partition ใหม 2) e เลือกประเภท extended 3) <enter> ใชคา default ของตําแหนงเริ่มตน 4) <enter> ใชคา default ของตําแหนงสุดทาย (ทั้งลูก) 5) p - สราง partition ที่ 5 ดวยความจุ 10 GB 1) n 2) <enter> Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 40   
  • 42. 3) 2121 - สราง partition ที่ 6 ดวยความจุที่เหลือทั้งหมด 1) n 2) <enter> 3) <enter> - ดูที่สรางไว บันทึก และ reboot เครื่อง 1) p 2) w 3) # reboot 3.1.2 Format partition เปน ext4 - เขาระบบดวย root/123456 1) # mkfs.ext4 /dev/sda5 2) # mkfs.ext4 /dev/sda6 3.1.3 ทําการ Mount ถาวรใหกบระบบ /etc/fstab ั 1) # vi /etc/fstab 2) กด i แลวขึ้น cursor ที่บรรทัดใหม 3) พิมพตามขอความในกรอบสีแดงตามรูปขางลาง /dev/sda5 /school/log ext4 defaults 1 1 /dev/sda6 /school/log ext4 defaults 1 1 4) กด <esc> แลวพิมพ :wq <enter> Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 41   
  • 43. 5) # reboot 3.2 Setup IP Internet - Server ตองการอยางนอย 2 NIC - ขอมูล IP ที่ตองการ: DNS, Gateway, eth1_ip, Netmask คา CNED default: IPADDR=192.168.1.8 NETMAST=255.255.255.0 DNS1=192.168.1.1 GATEWAY=192.168.1.1 - ขั้นตอน (ดูอางอิงเพิ่มเติมในหัวขอ 7.2) 1) ใส NIC ใบที่สองใหกับ Server 2) หลังจาก boot เครื่อง เขาระบบดวย root ใช Script # cd /root/setupfc11.3 #./net-reset # reboot 3) reboot ระบบ เขาระบบใหม และใช Script # cd /root/setupfc11.3 #./net-setup 4) แกไขไฟลของการด # vi /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth1 - กด i และแกไขตามคาจริง Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 42   
  • 44. - กด ESC คีย - พิมพ :wq <enter> 5) แกไข iptables ของระบบ # vi /root/school_firewall - กด i และแกไขตามคาจริง - กด ESC คียร - พิมพ :wq <enter> 6) Reboot เครื่อง # reboot 7) เขาระบบดวย root แลวพิมพ # dig “url” จะไดการ resolve ip กลับมา # dig www.google.co.th 8) ทดสอบที่ลกขายโดยการเลน Internet ู 3.3 Mount Data Point ตั้งแตโครงสราง setupfc11.3 การใชสวนขยายแฟมงานตางๆ จะใชวิธีการ link แทนการ mount เพราะชวย ในเรื่องประสิทธิภาพการใชความจุของสวนเก็บ (HDD) ไดมีประสิทธิภาพมากขึ้นแลว ยังสามารถเพิ่มประสิทธิภาพของ เครื่องแมขายในสวนอื่นๆ ไดอีกดวย (I/O) Hard disk ขอมูลขยายอื่นๆ จะถูก mount สูแฟมงานตามลําดับดังนี้ /schoolhd1 /schoolhd2 /schoolhd(n+1) Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 43   
  • 45. ขอมูลใน /etc/fstab ตัวอยางเปนดังนี้ /dev/sdb /schoolhd1 ext4 defaults 1 1 3.4 Link Point 3.4.1 คําสั่ง link ที่ใชใน CNED ใชสําหรับเชื่อมโยงแฟมงานทั้งแฟม ln -sd “source_directory” “target_to_symmetry” 3.4.2 ตัวอยาง Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 44   
  • 46. 4 CNED Innovation 4.1 From Client to Server 4.1.1 ระบบ Internet กอนที่จะมี ADSL Networking สวนมากเปนการทํางานในองคกร หรือ Boot ระบบปฏิบัติการผาน LAN การใชงานสวนมากใชงานเฉพาะบนเครื่องๆ นั้น 4.1.2 หลังจากเริ่มมี Internet Hard disk โดยเฉลียของเครื่อง PC คืออยูประมาณนอยกวา 20 GB ในชวงนั้น ่ เครื่อง PC เปนรุน Pentium I 4.1.3 ในชวงที่ Internet เริ่มแพรหลาย การติดตอ Internet ทําผาน Dial up Modem ซึ่ง Maximum อยูที่ 56 kbps และไมเสถียร 4.1.3.1 ในชวงนี้ มีโปรเจค Server จาก อ. บุญลือ อยูคง Server 7 ทํางานบน Linux Red Hat 7 การใชงานดวยการให Server connect ทาง Modem และให Server เปน transparent proxy เปนวิธีที่ชวยใหการเลน Internet มีความราบรื่นขึ้น 4.1.3.2 ปญหายังคงอยู เมื่อมีการ connection จากลูกขายมากๆ การใชงานบาง connection ก็คาง 4.1.4 Internet ยังคงอยูบนพื้นฐานของ Dial up Modem ซึ่งเว็บไซตตางมีการใชงานที่เปนภาพ และ เสียง มากขึ้น 4.1.5 Internet สําหรับองคกร ไดมการนํา Lease Line เขาสํานักงาน และโรงเรียนเริ่มมีการใช Internet ผาน ี ดาวเทียม ชวงนี้เปนครั้งแรกที่ Internet มีความเร็วอยูที่ 256 kbps การใชงาน Internet เริ่มมีความนาเลนขึ้น ที่ลูกขายหลายๆ เครื่องสามารถเลนพรอมๆ กันได แตก็ เจอปญหาทันที่ลูกขาย 4.1.5.1 เพียงแค 1 เครื่องลูกขายมีการ Download 4.1.5.2 ดึงหนาเว็บพรอมๆ กัน ประมาณ 4 เครื่อง Internet ถึงกับหยุด 4.1.6 เริ่มมีการนําเว็บที่ Download มาไวใน Server ที่ใหบริการเปน http อยูแลว ซึงไดผลดีมาก และไดมี การนําไฟล Multimedia ตางมาใส Server ซึ่งไดผลดีกับโรงเรียนที่มี Internet และไมมี Internet 4.1.7 Server ที่มี Data ใหบริการ เริ่มทําการใชงานมากขึ้น ชวงนี้ ไดเริ่มทดลอง Red Hat 9 ใชเปน Server ใหกับสํานักงาน และโรงเรียนเริ่ม Connect มาที่สํานักงาน โดยใช Server 7 ของอาจารยบุญลือ ชวงนี้ Server จริงมี การโจมตีอยูเปนประจํา จึงมีความคิดที่วาจะใหโรงเรียนเปน Server เองเลย 4.1.8 ทางกระทรวงไดออก Linux SIS 5.0 ใหโรงเรียนไดใชงาน แต Config และ Concept การใชงานในเวลา Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 45   
  • 47. ตอมานั้น รูปแบบที่ใชในโรงเรียนมีความตองการมากขึ้น และเพื่อตองการลดการกระบวนการในการติดตั้ง จึงเริ่มมี Script เพื่อชวยในการประแกตาง หลังการติดตั้งตัว Linux SIS แลว ชวงนี้เริ่มมีการนํา Interactive Web มาใชแลว 4.1.8.1 Hard disk ในชวงนี้ อยูราวๆ 80 – 250 GB การทํา Software Raid เริ่มมีการใช 4.1.8.2 เริ่มทํา School Server เพราะไดรูปแบบที่นิ่ง และระบบ server มีความเสถียรมากขึ้น 4.1.9 12 May 2008 CNED log diary ใน setup3 เปนการจัดการกับ access log ที่ไดมาจาก Proxy Server 4.1.10 12 June 2009 Setup4 เพิ่มการจัดการกับ Network Config เพื่อใหใชงานไดบนทั้ง SIS 5.0 และ SIS 5.5 4.1.11 15 June 2009 Setup FC10 เนื่องจากปญหาดาน Hardware ปจจุบัน ที่ไมเขากันไดกบ SIS 5.0 ั 4.1.12 24 August 2009 Setup FC11 จาก FC10 ที่ไม stable ทางดาน Network จึงปรับมาใช core 11 4.1.13 28 July 2010 Setup FC11.2 ปรับปรุงการใชงาน net-reset, net-setup, net-chgdev, More secure in logdiary 4.1.14 25 June 2011 Setup FC11.3 ปรับปรุง school_firewall, เพิ่ม school.cned ใน DNS_Caching_Domain, เพิ่ม php-extension module 4.2 Who to manage data เพื่อลดความซับซอน โดยไมจําเปนตองมาปรับแกทาง สิทธิ root จึงไดออกแบบใหมี user ที่ สามารถ connect จากลูกขาย และงาน service สามารถทําไดโดยใช user คนนี้ นั้นคือการออกแบบให service ดึง งานจาก webmaster’s directory ทั้งหมด วิธีการทํางานคือการจัดการไฟลทาง FTP เปนหลัก และการจัดการ MySQL Database ทําผานเว็บดวยโปรแกรม phpMyAdmin 4.3 System Administrator 4.3.1 Network Design 4.3.1.1 ระบบเนตเวิรคทั่วไปสําหรับเลน Internet ในระบบตองการ Gateway เพื่อเปนทางออก สําหรับ IP ที่อยูนอกเหนือจาก IP ในวงภายใน 4.3.1.2 DHCP Server เปนเครื่องบริการประเภทหนึ่งที่ไวใหบริการ IP สําหรับลูกขายที่รองขอการ บริการ โดยจะแจก IP ของเครื่องแมขายที่จําเปน โดยสังเขปดังนี้ 1) IP Gateway Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 46   
  • 48. 2) DNS Server 3) WINS Server ขอดีสาหรับบริการประเภทนี้คือ การแจก IP แกลูกขายโดย server ํ ขอระวัง คือ Server ประเภทนี้ตอวงจะมีไดเพียงตัวเดียว 4.3.1.3 DNS Server ทําหนาที่ Resolve IP Name ประเภทของ Server ที่ทําใน CNED นี้เปนแบบ DNS caching server 4.3.1.4 WINS (Windows Internet Name Server) ทําหนาที่ Resolve IP Name ของเครื่องลูกขาย 4.3.1.5 Web Server เปน Service port 80 หนาที่คือเปนตัวบริการการรองขอขอมูลบน web browser ซึ่ง web ในปจจุบันเปนทั้ง บริการขอความเอกสาร และบริการแบบมีเงื่อนไข (Active web) ทํางานรวมกับ ฐานขอมูล ทําใหเว็บมีการตอบสนองกับผูใช เชน Moodle Joomla Postnuk phpMyAdmin Mambo เปนตน 4.3.1.6 FTP Server เปน บริการที่ติดตอทางชอง 21 หนาที่คือจัดการกับไฟลบนเครื่อง Server ปรับ permission ใหกับไฟลและโฟลเดอร 4.3.1.7 Proxy Server เปน บริการสํารองขอมูลของ Website ตางๆ ที่ลูกขายรองขอ เพื่อชวยลด การติดตองานที่ใชซ้ํา เชน รูปภาพหรืองานเอกสารที่มี html header เดียวกัน การใชงานเปนไดทั้งลูกขายเองตั้งคา หรือที่อุปกรณ Network Router/Gateway เปลี่ยนเสนทางเอง 4.3.1.8 Samba (Windows file server), ในการตั้งคาของ CNED ใหบริการเฉพาะการเขาถึงไฟล ดวยความสามารถในการ synchronize transfer และความเปน Windows เองใน network-protocol นี้ การดึงไฟล ตางๆ มาใชงานทําไดรวดเร็ว และไดในปริมาณทีมาก โดยไมรบกวนทรัพยากรระบบของลูกขายและเครื่องบริการ แต ่ Traffic ในระบบ network นั้นกลับคอนขางมีปริมาณมาก 4.3.1.9 Iptables, ใน CNED ไดตั้งคาใหทํางานเปน แกทิศทาง port, เปน Gateway, เปน Firewall ทั้ง Real IP Server และ Gateway 4.3.1.10 ระบบ Internet network ทั่วไป ( [ Internet ] ------ [ ISP device ] ------ [ PC ] ) 4.3.1.11 ระบบ network องคกรที่มีรูปแบบระบบเปนของตัวเอง ( [ Internet ] ----- [ ISP device ] ----- [ Local server ] ----- [ Local computer ] ) 4.3.1.12 ยกตัวอยางการติดตอสู Internet Server ( [Target server] ----- [ Target server Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 47   
  • 49. networking ] ----- [ Target server ISP Networking ] ----- [ Global Networking ] ----- [ ISP networking ] ----- [ ISP device ] ----- [ Local computer ] ) 4.3.1.13 ยกตัวอยางการติดตอสูเครื่องแมขาย ( [ Server ] ----- [ Networking ] ----- [ PC ] ) 4.3.1.14 ยกตัวอยางการติดตอผาน port 80 เฉพาะ packet เพื่อรองขอไฟล index.html 1) client request to server 2) server send accept request to client 3) client send request data 4, n) server send data in separate packet 5, n+1) client send receive data successful (packet(n) ==> data) 6, n+2) close message connection (server or client first), or error time out. 7, n+3) close connection successful (active both with once send acknowledge), or error with time out. 4.3.1.15 จําเปนตองปรับแก layer ที่ต่ํากวา 4 หรือไม ดวยจํานวนกลุมของ IP ที่ใชมีคอนขางนอย  และงานบริการเปนเฉพาะวงๆ, เปนพื้นที่ไป และเครื่อง Local computer หรือ ลูกขายนั้น ไมไดเกี่ยวของกับเครืองลูก ่ ขายอื่นๆ ทั้งที่อยูในพื้นที่เดียวกัน หรือ ตางวงกัน ระบบ networking จึงไมมความจําเปนตองปรับแก layer hardware ี และแนะนําวาระบบ networking ประเภทนี้ซับซอนกวา CNED server มาก 4.3.1.16 IP route, CNED server พยายามหลีกเลียงงานการปรับแก หรือการใชงาน ที่ยุงกับ ่ networking layer โดยตรง โดยรูปแบบการใชงานพยายามดึง Service ตางๆ ใหตรงๆ ถึง Server เลย เพื่อลดความ ซับซอนของระบบเอง และ การดูแลอุปกรณที่มาก 4.3.2 Limitation 4.3.2.1 Network device 4.3.2.1.1 Quality of signal 4.3.2.1.1.1 Copper wire, ปญหาหลักของสายนี้คือความไมคงที่ของสัญญาณ ระยะทางควรนอยกวา 100 เมตร, ไมควรโคงสายประเภทนี้ในรัศมีที่นอยกวา 4 เทาของเสนผาศูนยกลายของสาย, ควร เดินสายใหหางจะสายไฟหลักของอาคาร หรือเลี่ยงที่จะเดินคูกันเปนระยะทางที่ยาว, ควรเดินในรม  4.3.2.1.1.2 Fiber optic wire, ควรใชสายที่ทางผูผลิตจัดเปนชุดขายไว การตัด  Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 48   
  • 50. หรือ เชื่อมตอสายประเภทนี้ใชเครื่องมือมีมีราคาสูงมาก คุณภาพและความคงทีของสัญญาณเทากันตลอดความยาว ่ ่ ของสาย 4.3.2.1.1.3 Radio communication (Wi-Fi) จํานวน connection ตอเสาบริการ สัญญาณเปนตัวลดความเร็วตอลูกขายแตละราย ระยะทางเปนตัวกําหนดความเร็วสูงสุดในการติดตอ นั้นคือคาลาชา ตอคํารองขอของลูกขาย สําหรับการใชงานที่โรงเรียน การติดตอที่นอยกวา 30 เครื่องตอเสา และการเลนไฟลวดีโอ ที่ ี นอยกวา 10 การดูตอชวงเวลาเดียวกัน ระบบที่ใชอุปกรณโดยทัวไปสามารถเลนไดโดยไมมีปญหา แตสาหรับการเลน ่ ํ Internet ขึ้นอยูกับหลายปจจัย 4.3.2.1.2 Quality of connection 4.3.2.1.2.1 Local Client to Local Server การใชงานแบบนี้ ทุกอุปกรณที่ใชใน ระบบ networking สามารถดึงประสิทธิภาพจนถึงขีดสุดของอุปกรณตัวใดตัวหนึ่งไดเลย 4.3.2.1.2.2 Local Client to Internet จากการออกแบบ CNED ไดปรับการตั้ง คาใหใชงาน port 80 ผาน Squid Proxy ทั้งหมด การทดสอบคือหากเลนเน็ตหลังวงของ server ไมได หรือ ไดไมดีนัก แตเลนโดยใชวงของ ADSL Router หรือ อุปกรณอื่นของแตละ ISP (lease line, IP-star) กลับเลนไดดี ในชวงเวลา เดียวกัน นั่นสรุปไดเลยวา Server มีปญหาแน ใหดูในหัวขอการแกปญหา ซึ่งสามารถปรับใหไมตอง transparent proxy ได 4.3.2.1.2.3 Latency of connection by speed - If packet per connection is 1500 bytes, each byte is 8 bit so bit per this connection is 12’000 bits - t for 128 kbps = 93.75 ms - t for 1 Mbps = 12 ms - t for 28 Mbps = 0.429 ms ( wifi at 50% signal ) - t for 100 Mbps = 0.12 ms - Each connection must be finish to each device to device, ex: ( [ local server ] ----- [ switch hub ] ----- [ wi-fi ] ----- [ client computer ] ) t_to response = ( (t client to wifi) + (t wifi to sw-hub) + (t sw-hub to server) )* 2 = (0.429 + 0.12 + 0.12)*2 = 1.332 ms Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 49   
  • 51. - Example for Internet request 1 MB of content, คิดโดย สุทธิที่เปนไปไมได (ไมคดรวม connection) ิ t = (1 MB * 8 bit/B ) / 1 Mbit/s = 8 sec นั้นคือขนาด ขอมูลของหนาเว็บโดยทั่วไป ปญหานี้โดยสวนมาก Web browser จึงมีการรวม caching ไวในตัว 4.3.2.1.2.4 Maximum connection per HW device - 100 Mbps, (100Mbps / 12kpbs/conn) = 8333 connection per second. (And 1 Gbps will be 83’333 connection per second.) ! Because of some packet not fill to 1500 bytes, and minimum can be a message, so > 10’000 packet can reach easily. (And 1 Gbps can reach 100’000) - อุปกรณ Network (NIC) ของเครื่อง PC โดยทัวไปตั้งคาไวที่ 5000 ่ packets/s ทั้ง 100Mbps และ 1Gbps (limit by IRQ and Kernel setup) - อุปกรณ Network (switch-hub, ADSL router)ที่หาซื้อไดทั่วไป ขึ้นอยูกับ CPU และสถาปตยกรรมที่ใชในในวงจร ราวๆประมาณ 500 Mbps of all transmission 4.3.2.2 Computer 4.3.2.2.1 สถาปตยกรรมของ CPU สวนมากที่ใชคือ X86 base, หนาที่หลักของ CPU คือ จัดการ Execution data บน Address ตางๆ 4.3.2.2.2 สถาปตยกรรมของ Mainboard คือสวนที่รองรับการทํางานของ CPU สวนนี้ ขึ้นอยูกับ Chip set เปนหลักในการออกแบบ ซึ่งหนาที่ของมันคือ จํานวน Bus ที่มีในการติดตออุปกรณแตละตัว จํานวน Interrupt ที่รองรับ จํานวน Timer ที่มี ความสามารถในการรองขอการ interrupt สู CPU การจัดแจงการสง ขอมูลจากสวนหนึ่งไปสูอีกสวนหนึ่ง (offset to offset) สวนนี้เองที่เปนการดึงศักยภาพของของระบบออกมาใช วาทําได แคไหน Server ทํางานกับอุปกรณที่ติดตอเปนหลัก และการเก็บการรองขอหรือ Queue ตางๆ ถูกเก็บในหนวยความจํา หลัก(หนวยความจําที่อยูบนบอรด) รูปแบบพวกนี้ตองการความกวางของการดึงขอมูล ณ ที่ตางๆ ไมเหมือนกับเครื่อง  PC ที่ใชงาน การทํางานมักจะทําเฉพาะงาน เชน ดูภาพเคลื่อนไหว หรือ เลนเกมส อุปกรณที่ตดตอสําคัญก็มีแค การด ิ จอ สวนอุปกรณอื่นๆ นั้น (เชน การดเสียง หรือ Hard disk) ความลาชาเกิดขึ้นเปนหนวย ms ได 4.3.2.2.3 ความนาเชื่อถือของขอมูล คุณภาพที่ใชผลิตเปนสิ่งสําคัญ และขอกําหนดการ ใชงานเปนตัวออกแบบชนิดของอุปกรณเลย Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 50   
  • 52. 4.3.2.2.4 ความไวใจได การออกแบบเปนตัวกําหนดราคาใหกบผลิตภัณฑที่ใชงาน ั 4.3.2.2.5 อายุการใชงาน Integrate Semiconductor ออกแบบใหทํางานไดอยางนอย 10 ป แตสําหรับการทํางานทั่วไป (with Idle state) สามารถทํางานไดถง 20 ป ึ 4.3.2.2.6 ลักษณะการใชงาน สวนมาก Server จะใชงานในสภาวะที่ เปดตลอดเวลา สภาพแวดลอมมีแตอุปกรณประเภทเดียวกัน ซึ่งสภาวะนั้นสิ่งแวดลอมในการทํางานมีความหลากหลายมาก และ ยังคงตองทํางานได การออกแบบจึงตองเผื่อสภาวะตางใหมากที่สด เชน ในกรณีที่ระบบทําความเย็นไมทํางาน หรือ ุ การตกของไฟ จึงทําใหอุปกรณที่ใชตองคงทนมากๆ ดวย 4.3.2.2.7 สถานที่ที่ทํางาน การคงสถานะจากสภาวะวิกฤติเชนอากาศนั้น ความรอนใน ระบบเปนสิ่งที่ตองจํากัดออกใหรวดเร็ว ดังนั้นระบบระบายความรอนจึงคอนขางมโหฬาร สิ่งที่ตามมาคือฝุน และยิ่ง บวกกับความชืนเปนสิ่งที่ควรจะหลีกเลี่ยง ้ 4.3.2.2.8 ประสิทธิภาพพื้นฐาน 4.3.2.2.8.1 CPU and Memory system in modern Computer are far enough to think for response, It measure how client capable. 4.3.2.2.8.2 PCI Bus, PC ที่ใชงานทั่วไป บัสนี้มอยูเสนเดียว ที่อตราการสง ี ั ขอมูลสูงสุดคือ (32bit * 33MHz) = 1056 Mbps, ~132MB/s 4.3.2.2.8.3 PCI-Xpress, Northbridge ของเครื่องสวนมากเปนตัวควบคุมบัสนี้ ถึงแมจะเปน 1X ก็เปนคนละเลนกับบัสอื่นๆ แตประเภทการ Transfer เปน Serial นั้นหมายความวา 10 clock จะได 1 byte ซี่งบัสนี้ทํางานที่ 2.5 GHz จึงไดสูงสุดที่ 250 MB/s แต Serial Interface จําเปนตองมี protocol ในการสงขอมูล จึงอยูประมาณ 250*0.7 = ~175 MB/s ก็ยังนับวาสูงอยูดี  4.3.2.2.8.4 PCI-X, ทํางานที่ 32, 64 bits และที่ 66 หรือ 133 MHz ความสามารถสูงสุดคือ (133MHz * 64bits) = 8512 Mbps, ~1064 MB/s 4.3.2.2.8.5 คาประสิทธิภาพที่ใชงานไดจริง การตัดสินใจตางๆ อยูที่ CPU ที่ ทํางานบนโปรแกรม ดังนั้นเมื่อ CPU ทํางานไดชา จึงตอบสนองการทํางานทั้งระบบชาไปดวย 4.3.2.2.8.6 อัตราตอบสนองแยสุด (คราวๆ, ไมรวม CPU FSB, real execution code < 10’000 opcode) ที่เปนไปไดตอ packet ที่ 1500 bytes on cat5 = 0.12 ms, PCI interrupt = 0.000032 ms, PCI transfer = 0.011 ms, CPU execution full page code (64kB) @ 800MHz = 0.082 ms รวมได (0.12 + Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 51   
  • 53. 0.000032 + 0.011 + 0.082 + 0.011 + 0.000032 + 0.12) = 0.344 ms นั่นคือ รับ packets ไดสงสุด ที่ ู (1/0.000344) = 2906 packets. ดังนั้น PCI Bus usage = ((2906packets/s*12000bit/packets)/1056Mbps)*100 = 3.3% 4.3.2.2.9 ระบบไฟฟาในเครื่อง, การเลือกใชภาคจายไฟ เนื่องจากเครื่องคอมพิวเตอรที่ใช มีระบบ Idle mode ในหลายอุปกรณ และหนวยประมวลกลาง (CPU) มีความสามารถในการปรับความเร็วเพื่อลด ความสิ้นเปลื่องพลังงาน เครื่องจึงใชกําลังไฟทีไมเทากันตลอดเวลา การออกแบบ switching power supply ความ ่ อิ่มตัวในหมอแปลงเปนสิ่งสําคัญ การเพิ่ม PWM-duration สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการจายไฟไดเกิน 100% เลยที่ เดียว แตสิ่งที่ตามมาคือ ความไมแนนอนของแรงดัน ตรงนี้เปนสิ่งที่อันตรายมากสําหรับอุปกรณทุกชนิด 4.3.2.3 Client payload 4.3.2.3.1 การใช Front End ดวยจาวา ทําใหหนาเว็บมีการปรับจัดเรียงขอความเองได แตการเปดโซนที่มากไปทําเครืองที่แสดงผลตองใชกําลังในการประมวลมาก Front End มีขอดีมากในการสรางหนาเว็บ ่ โดยเครื่องแมไมตองมีการสงอะไรก็ตามที่ซ้ําๆ เชน หนาเมนู แถบบารตางๆ การสรางตาราง เปนตน 4.3.2.3.2 ตัวเลนเว็บของลูกขายเองชวยในการนําเสนอ ทั้งเอกสาร หรือ ภาพเคลื่อน ไหว ตางๆ และ ชนิดของงาน, ภาพเคลื่อนไหวความคมชัดสูงนั้นตองการเครื่องที่เลนใชทรัพยากรสูงไปดวย 4.3.2.3.3 ความเร็วของ CNED School server กับเครื่องในโรงเรียนคือ 100 Mbps 4.3.2.3.4 พฤติกรรมการเลนของผูใชงานของแตละวัย ความสนใจตอชวงเวลา แรง กระตุนจากสิ่งทีไดเห็น การตอบสนองจากสือที่ใช ทั้งหลายนี้ตองการเวลาในการตัดสินแนวทางการนําเสนอสื่อ ่ ่ CNED ไดพยายามตัดขอจํากัดทางดานเทคโนโลยีออกที่เกียวกับอุปกรณออกไป เพื่อใหเหลือแตการพัฒนาสื่อที่ ่ เหมาะสม สวนนี้ใชเวลาและบุคลากรที่มาก 4.3.2.4 Data payload 4.3.2.4.1 File transfer: html, txt, doc, pdf, all-none-stream-play (Good for all type of connection) 4.3.2.4.2 Multimedia file: wmv, flv, mp3, mp4, stream-play-or-sequential (some good on tcp-80, but almost play good on windows-file) 4.3.2.4.3 System file: exe, iso, all-of-program (only windows-file can capable) Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 52   
  • 54. 4.4 Feature 4.4.1 Hardware and Base program 4.4.1.1 สําหรับ Server จะมีการปรับเปลี่ยนรุน OS ก็เฉพาะความเขากันไดกับอุปกรณในชางเวลา นั้น 4.4.1.2 CNED pattern สําหรับ School server จะยังคงรูปแบบเดิมไวใหนานทีสุด สวนการทําเปน ่ multiuser สําหรับองคกร หรือ ปรับไปใชใหเหมาะสมกับงาน เปนไดตามความตองการ 4.4.1.3 Active Web จะมีการทดลองใชอยูตลอด CNED School server จะใช Moodle project  เปนหลัก 4.4.2 Data 4.4.2.1 ขอมูลทั้งหมดทีมีอยูเปนความตองการของผูใชปลายทางเอง จุดประสงคหลักของ CNED ่ School server เพื่อนําความรูเหลานี้ไปชวยในการเรียนรู 4.4.2.2 อยากใหมีการทําเปน Temporary Electronic Digitally Library สําหรับหนังสือเกาทุก ประเภทที่เคยเรียนกันมา 4.4.3 CNED License 4.4.3.1 ของสงวนสิทธิ์รูปแบบในหัวขอ CNED Pattern และ CNED School server pattern 4.4.3.2 การพัฒนาตางๆ ที่ตอยอดจากนี้ เปนสิทธิ์ของผูใชปลายทางภายใต GNU ของผูสรางสรรค ผลงานนั้นๆ Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 53   
  • 55. 5 แกไขรหัสผาน - สําหรับโรงเรียนที่มี Internet IP หรือที่เรียกกันวา Real IP เปน IP ที่สามารถเขาถึงจากโลกภายนอกได รหัสผานทั้งหมดจําเปนตองตั้งใหม ที่ตองแกไขมีดังนี้ 1 root (unix) , connect via: console 2 webmaster (unix) , connect via: samba, ftp 3 admin (mysql) , connect via: phpMyAdmin 5.1 แกไขรหัสผานใหกับ root - ขอระวัง รหัสผานนี้เปนของผูใชสิทธิ์สูงสุดในระบบ ไมควรลืมเด็จขาด - เขาสูระบบ ดวย root และรหัสผาน 1) # passwd root 2) <พิมพรหัสผาน> <enter> 3) <พิมพรหัสผาน> <enter> 5.2 แกไขรหัสผานใหกับ webmaster - เขาสูระบบดวย root และรหัสผาน 1) # passwd webmaster 2) <พิมพรหัสผาน> <enter> 3) <พิมพรหัสผาน> <enter> 5.3 แกไขรหัสผานใหกับผูใชประเภท grant user ของ mysql 5.3.1 ใช mysqld โดยไมอางอิงฐานขอมูลเดิม - สามารถดูความชวยเหลือจากไฟลนี้ได # view /root/setupfc11.3/mysql_user 1) # service mysqld stop 2) # /usr/libexec/mysqld --skip-grant-tables & Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 54   
  • 56. 3) <enter> 4) # mysql 5.3.2 ใชฐานขอมูล mysql 1) > use mysql <enter> 2) > flush privileges; <enter> 5.3.3 ดูรายชื่อที่มีอยูในระบบ mysql - ตัวอยางการดูรายชื่อทั้งหมด 1) > select user, host, grant_priv, password from user; <enter> Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 55   
  • 57. - ตัวอยางการดูรายชื่อเฉพาะผูทมีสิทธิ์เปน grant_privileges ี่ 1) > select user, host, grant_priv, password from user where grant_priv=’Y’; <enter> 5.3.4 แกรหัสผานใหกบ user=’root’ host=’localhost’ (ใน CNED School server grant user จะใชชื่อ ั phpadmin@localhost) 1) > set password for ‘root’@’localhost’ = password(‘mysqladmin’); <enter> 2) > select user, host, grant_priv, password from user where grant_priv=’Y’; <enter> 5.3.5 ออกจาก mysqld และเปดการใชงาน mySQL server 1) > exit <enter> 2) # killall mysqld 3) <enter> Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 56   
  • 58. 4) # service mysqld start Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 57   
  • 59. 6 การใชงาน mysql เพื่อสราง grant user - หนาที่ของ grant user นี้เพื่อเอาไวใชเปน login บนโปรแกรม phpMyAdmin โดยสิทธิ์ที่มีคือทําไดทกอยาง ุ ใน mysql server เชน สรางฐานขอมูล สรางผูใชใหม และการมอบสิทธิใหผใช ใชฐานขอมูล ู - CNED School server มี grant user เพียงคนเดียว ชื่อ phpadmin และรหัสผาน phpadmin123 โดยผูใช อื่นๆ จะถูกลบออกไป - ดูเพิ่มเติมไดในไฟล /root/setupfc11.3/mysql_user 6.1 เขา mysql 1) # service mysqld stop 2) # /usr/libexec/mysqld --skip-grant-tables & 3) <enter> 4) # mysql 6.2 ใชฐานขอมูล mysql และทําการดูรายชือผูใชที่มีอยู ่ 1) > use mysql 2) > flush privileges; Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 58   
  • 60. 3) > select user, host from user; 6.3 จะทําการลบชื่อผูใชทั้งหมดจากชื่อในหัวขอขางบน 1) > delete from user where user=’root’; 2) > delete from user where user=’’; 3) > select user, host from user; 6.4 สรางผูใชชอ phpadmin รหัสผาน phpadmin123 พรอมสิทธิ์ grant privileges ื่ 1) > grant all privileges on *.* to ‘phpadmin’@’localhost’ identified by ‘phpadmin123’ with grant option; 2) > select user, host from user; 6.5 ออกจาก mysql และเริ่มระบบใหเหมือนเดิม 1) > exit 2) # killall mysqld 3) <enter> Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 59   
  • 61. 4) # service mysqld start Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 60   
  • 62. 7. แกไข Network 7.1 เพิ่ม, ลด การดในระบบ โดยใช CNED script ชวย จะไดจํานวนวงของระบบภายใน ลําดับการดจะเปนดังนี้ eth0 local 192.168.10.0/24 eth1 to internet IP, สวนมากจะเปนดังนี้ Gateway = 192.168.1.1 DNS = 192.168.1.1 โดย CNED ใช IP ของการดเปนดังนี้ 192.168.1.8/255.255.255.0 - หากระบบไดมการแกไขมาแลว คาตางๆ ยังคงอยู ี eth2 local 192.168.11.0/24 eth3 local 192.168.12.0/24 eth4 local 192.168.13.0/24 eth5 local 192.168.14.0/24 - วิธีทํา คือ 1) จัดแจงอุปกรณในระบบใหเรียบรอย และทําการเปดเครื่อง 2) เปดระบบ แลวเขาสูระบบดวย root 3) เขาในโฟลเดอร setup และพิมพ # cd /root/setupfc11.3 # ./net-reset 4) ทําการรีบูทเครื่อง # reboot 5) เขาสูระบบดวย root และพิมพ # cd /root/setupfc11.3 # ./net-setup 6) ทําการรีบูทเครื่อง เมื่อเปดเครื่องขึ้นใหม CNED School server ก็พรอมทํางาน 7.2 ปรับ IP สําหรับเลน Internet CNED ไดใช eth1 เปน IP สําหรับออกสู Internet หรือเปน Real Internet IP ที่ทําให เครื่อง server นี้สามารถเขาถึงจากโลกภายนอกได - ยกตัวอยาง Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 61   
  • 63. IP (ที่ CNED School server) = 10.0.0.2 Gateway = 10.0.0.1 Netmask = 255.255.255.0 DNS = 8.8.8.8 7.2.1 ปรับแก NIC ในระบบดวยตัวอยางขางตน (7.1) Server ที่บริการลูกขายเลน Internet ได ตองการ NIC อยางนอยสองใบครับ 7.2.2 แกไขไฟล /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth1 เพื่อแก IP, DNS, Gateway 1) # vi /etc/sysconfig/network-scripts/ifcfg-eth1 2) กด i แลวแกตามบรรทัดในรูปภาพ 3) กด <esc> 4) พิมพ :wq <enter> 7.2.3 แกไข firewall ที่ทําหนาที่เปน router 1) # vi /root/school_firewall 2) กด i แลวแกตามบรรทัดในรูปภาพ 3) กด <esc> 4) พิมพ :wq <enter> Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 62   
  • 64. 7.2.4 Reboot เครื่อง และลองทําการเลน Internet จากลูกขายครับ Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 63   
  • 65. 8 ใชโปรแกรม ftp - โปรแกรม ftp เปนโปรแกรมที่เอาไวตดตอกับ Server เพื่อนําไฟลเขา,ออก และเปลี่ยนสิทธิ์ ิ - โปรแกรมที่จะนําเสนอในนี้ ใชโปรแกรม FileZilla หาโหลดไดที่ http://filezilla-project.org/download.php A) สวนที่ใช connect สู server B) สวนแสดงไฟลของเครื่องลูกขาย C) สวนแสดงไฟลของเครื่องแมขายที่เราติดตอ Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 64   
  • 66. 8.1 ติดตอสู CNED School server 1) ใสขอมูล Host=school.cned Username=webmaster Password=teacher789 8.2 การนําไฟลเขา Server 1) เลือกที่อยูปลายทาง 2) เลือกตําแหนงที่เก็บไฟล 3) คลิกขวาที่ตําแหนงไฟล หรือแฟมงาน Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 65   
  • 67. 4) คลิกที่ Upload เพื่อนําไฟลขึ้นแมขาย 8.3 การนําไฟลออกจาก Server - คลิกขวาที่ไฟลหรือแฟมงาน ในสวนของหนาตางเครื่องแมขาย (1) จะไดแถบตัวเลือกดังภาพ ขางลาง - เลือก Download จะทําการดึงไฟลหรือแฟมงาน มาใสในสวนที่ (2) - โปรแกรมจะนําไฟล หรือแฟมงาน มาไวที่ปลายทางที่เราเลือกในสวนของลูกขาย (2) 8.4 การเปลี่ยน permission ใหกับแฟมงาน, ไฟล 1) คลิกขวาที่ไฟลหรือแฟมงาน ในสวนของหนาตางเครื่องแมขาย (1) 2) เลือก File permissions… - ตัวอยาง File permission และ Folder permission Dr.Prachoom Rangkasikorn หนา 66