SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Major Airlines of
Southeast Asia
สายการบินประจาชาติของ
ประเทศสมาชิก อาเซียน
ที่มาและความสาคัญ
สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East
Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า
ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ความเป็น ประชาคมอาเซียน ซึ่งจะ
ประกอบด้วยสามด้าน คือ ประชาคมอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง ประชาคม เศรษฐกิจ
อาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 จากการกล่าวมาในข้างต้น
ทาให้เกิด แนวคิดที่จะต้องพัฒนาความรู้ ซึ่งไม่ใช่แค่เพียงในตารา แต่ต้องมีความรู้ที่จะต้องมี
ประดับไว้ในตัวเองและสามรถ นาไปใช้ในภายภาคหน้าได้ โดยมีสาระเนื้อหาเป็นที่น่าสนใจ เป็น
เหตุให้เกิดการทาโครงงานเรื่อง สายการบินประจา ชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งเป็นเรื่อง
ที่น่าสนใจ ไม่น่าเบื่อและควรมีไว้เป็นความรู้รอบตัว
วัตถุประสงค์
1.เพื่อทราบสายการบินประจาชาติของอาเซียน
2.เพื่อฝึกทักษะในการพัฒนาภาษาด้านภาษาเขียน
3.เพื่อให้ทันโลกและทันเหตุการณ์
4.เพื่อเปิดโลกทัศน์ให้กว้างขึ้น
สัญลักษณ์อาเซียน
ความหมายของสัญลักษณ์อาเซียน
– ต้นข้าวสีเหลือง 10 ต้นมัดรวมกันไว้ หมายถึงประเทศสมาชิกรวมกันเพื่อมิตรภาพและ
ความเป็นน้้าหนึ่งใจเดียวกัน
– สีนาเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง
– สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า
– สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์
– สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
อาเซียน (ASEAN) เป็นการรวมตัวกันของ 10 ประเทศ ในทวีปเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ผู้น้าอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฎิญญาว่าด้วย ความร่วมมืออาเซียน
เห็นชอบ ให้จัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ เป็นองค์กรระหว่าง
ประเทศ ระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคม
อาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่วมมือกันทาง
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ด้าเนินการ ไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงักลงเนื่องจาก
ความผกผันทางการเมือง ระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟื้นฟู
สัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างสองประเทศ
จึงได้มีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกันอีกครั้ง และส้าเร็จภายในปี พ.ศ. 2563
(ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาได้ตกลงร่นระยะเวลาจัดตั้งให้เสร็จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในปี
นั้นเองจะมีการเปิดกว้างให้ประชาชนในแต่ละประเทศสามารถเข้าไปท้างานในประเทศ อื่น ๆ
ในประชาคมอาเซียนได้อย่างเสรี เสมือนดังเป็นประเทศเดียวกัน
ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพและการมีงานท้าของคนไทย ควรท้าความ
เข้าใจในเรื่องนี้จึงเป็นสิ่งส้าคัญส้าหรับทุกคน
“อาเซียน” สู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี 2558
ปัจจุบัน บริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ท้าให้อาเซียนต้องเผชิญ สิ่งท้าทายใหม่ๆ อาทิ โรค
ระบาด การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ สิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติ อีกทั้ง ยังมี
ความจ้าเป็นต้องรวมตัวกันเพื่อเพิ่มอ้านาจต่อรองและขีดความสามารถทางการแข่งขันกับประเทศ
ในภูมิภาคใกล้เคียง และในเวทีระหว่างประเทศ ผู้น้าอาเซียนจึงเห็นพ้องกันว่า อาเซียนควรจะ
ร่วมมือกันให้เหนียวแน่น เข้มแข็ง และมั่นคงยิ่งขึ้น จึงได้ประกาศ “ปฏิญญาว่าด้วยความ
ร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2” (Declaration of ASEAN Concord II) ซึ่งก้าหนดให้มีการ
สร้างประชาคมอาเซียนที่ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่...
- ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and
Security Community - APSC)
มุ่งให้ประเทศกลุ่มสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข แก้ไขปัญหาระหว่างกัน
โดยสันติวิธี มีเสถียรภาพและความมั่นคงรอบด้าน เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของ
เหล่าประชาชน
- ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC)
มุ่งเน้นให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และความสะดวกในการติดต่อ
ค้าขายระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆได้โดย
ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural
Community - ASCC)
มุ่งหวังให้ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคงทาง
สังคม มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน และมีสังคมแบบเอื้ออาร โดยจะมีแผนงานสร้าง
ความร่วมมือ 6 ด้าน คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการ
สังคม สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัต
ลักษณ์อาเซียน การลดช่องว่างทางการพัฒนา
ซึ่งต่อมาผู้น้าอาเซียนได้ตกลงให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้แล้ว
เสร็จเร็วขึ้นมาเป็นภายในปี 2558
ประเทศไทยจะได้ประโยชน์อะไรจาก AEC
(ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน)
ประชาคมอาเซียนที่จะถือก้าเนิดในปี 2558 นั้น คนไทยจะได้ประโยชน์อะไร แน่นอนเราคงอยาก
ทราบ แต่ในชั้นนี้ขอจ้ากัดเฉพาะทางเศรษฐกิจก่อน..
ประการแรก ไทยจะ “มีหน้ามีตาและฐานะ” เด่นขึ้นประชาคมอาเซียนจะท้าให้เศรษฐกิจ “ของ
เรา” มีมูลค่ารวมกัน 1.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ และมีขนาดใหญ่อันดับ 9 ของโลก ยังประโยชน์
แก่คนไทยทุกคนที่จะได้ยืนอย่างสง่างาม “ยิ้มสยาม” จะคมชัดขึ้น
ประการที่สอง การค้าระหว่างไทยกับประเทศอาเซียนจะคล่องและขยายตัวมากขึ้น ก้าแพงภาษี
จะลดลงจนเกือบจะหมดไป เพราะ 10 ตลาดกลายเป็นตลาดเดียว ผู้ผลิตจะส่งสินค้าไปขายใน
ตลาดนี้และขยับขยายธุรกิจของตนง่ายขึ้น ขณะเดียวกันผู้บริโภคก็จะมีทางเลือกมากขึ้นราคา
สินค้าจะถูกลง
ประการที่สาม ตลาดของเราจะใหญ่ขึ้น แทนที่จะเป็นตลาดของคน 67 ล้านคน ก็จะกลายเป็น
ตลาดของคน 590 ล้านคน ซึ่งจะท้าให้ไทยกลายเป็นแหล่งลงทุนที่น่าสนใจ เพราะสินค้าที่ผลิตใน
ประเทศไทยสามารถส่งออกไปยังอีกเก้าประเทศได้ราวกับส่งไปขายต่างจังหวัด ซึ่งก็จะช่วยให้เรา
สามารถแข่งขันกับจีนและอินเดียในการดึงดูดการลงทุนได้มากขึ้น
ประการที่สี่ความเป็นประชาคมจะท้าให้มีการพัฒนาเครือข่ายการสื่อสารคมนาคมระหว่างกัน
เพื่อประโยชน์ด้านการค้าและการลงทุน แต่ก็ยังผลพลอยได้ในแง่การไปมาหาสู่กัน ซึ่งก็จะช่วยให้
คนในอาเซียนมีปฏิสัมพันธ์กัน รู้จักกัน และสนิทแน่นแฟ้นกันมากขึ้น เป็นผลดีต่อสันติสุข ความ
เข้าใจอันดีและความร่วมมือกันโดยรวม นับเป็นผลทางสร้างสรรค์ในหลายมิติด้วยกัน
ประการที่ห้า โดยที่ ไทยตั้งอยู่ในจุดกึ่งกลางบนภาคพื้นแผ่นดินใหญ่อาเซียน ประเทศไทยย่อม
ได้รับประโยชน์จากปริมาณการคมนาคมขนส่งที่จะเพิ่มขึ้นในอาเซียนและระหว่างอาเซียนกับจีน
(และอินเดีย) มากยิ่งกว่าประเทศอื่นๆ
บริษัทด้านขนส่ง คลังสินค้า ปั๊มน้้ามัน ฯลฯ จะได้รับประโยชน์อย่างชัดเจน จริงอยู่
ประชาคมอาเซียนจะยังผลทั้งด้านบวกและลบต่อประเทศไทย ขึ้นอยู่กับพวกเราคนไทยจะเตรียม
ตัวอย่างไร แต่ผลทางบวกนั้นจะชัดเจน เป็นรูปธรรมและจับต้องได้
ผลกระทบของประเทศไทยจากการเป็น
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC
1. การเปิดตลาดเสรีการค้าและบริการย่อมจะส่งผลกระทบต่อ
อุตสาหกรรมและผู้ประกอบการในประเทศที่มีขีดความสามารถใน
การแข่งขันต่้า
2. อุตสาหกรรมและผู้ประกอบการในประเทศต้องเร่งปรับตัว
8 อาชีพเสรีในอาเซียน
เพื่อส่งเสริมให้เป็นตลาดและฐานผลิตเดียวที่มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และการ
ลงทุน แรงงานฝีมือ และเงินทุนอย่างเสรี ทั้งนี้ได้กาหนดเป้าหมายให้เป็นปีที่มีลักษณะของการ
รวมกลุ่มประเทศเปลี่ยน เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทาให้เกิดผลกระทบด้านต่าง ๆ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านแรงงาน จะมีการถ่ายเทแรงงานด้านฝีมือเพื่อให้สามารถทางานในประเทศ
สมาชิกได้ง่ายขึ้นใน 8 สาขาอาชีพ คือ 1. วิศวกรรม 2. การสารวจ
3. สถาปัตยกรรม 4. แพทย์
5. ทันตแพทย์ 6. พยาบาล
7. บัญชี 8. การบริการ/การท่องเที่ยว
การรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขานาร่อง
การรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขาน้าร่อง ถือว่าเป็นการเปิดเสรีด้านการค้า
และบริการ เพื่อส่งเสริมการแบ่งงานกันผลิตสินค้าและบริการภายในอาเซียนด้วยกัน โดย
จะเน้นใช้วัตถุดิบภายในอาเซียนเป็นหลัก ตามความถนัด เนื่องจากแต่ละประเทศมีวัตถุดิบที่ไม่
เหมือนกัน ถ้าจะให้ผลิตทุกอย่าง จะเป็นการเพิ่มต้นทุนสินค้าแบบเสียเปล่า
สาหรับ 11 สาขานาร่องมีดังนี 1. สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร
2. สาขาประมง
3. สาขาผลิตภัณฑ์ยาง
4. สาขาสิ่งทอ
5. สาขายานยนต์
6. สาขาผลิตภัณฑ์ไม้
7. สาขาอิเล็กทรอนิกส์
8. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
9. สาขาสุขภาพ
10. สาขาท่องเที่ยว
11. สาขาการบิน
อย่างไรก็ตาม ภายหลังได้เพิ่มสาขาที่ 12 ได้แก่ สาขาโลจิสติกส์ เพื่อท้าให้การขนส่ง
วัตถุดิบต่าง ๆ ท้าได้สะดวกมากขึ้น
เมื่อแบ่งทัง 12 สาขา ตามประเทศที่รับผิดชอบ สามารถแบ่งได้ ดังนี
1. พม่า สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร และสาขาประมง
2. มาเลเซีย สาขาผลิตภัณฑ์ยาง และสาขาสิ่งทอ
3. อินโดนีเซีย สาขายานยนต์ และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้
4. ฟิลิปปินส์ สาขาอิเล็กทรอนิกส์
5. สิงคโปร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุขภาพ
6. ไทย สาขาการท่องเที่ยวและสาขาการบิน
7. เวียดนาม สาขาโลจิสติกส์
สายการบินประจาชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
ประเทศฟิลิปปินส์
ประเทศเวียดนาม
ประเทศสิงคโปร์
ประเทศอินโดนีเซีย
Thai Airway International
เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ท้าหน้าที่ด้าเนินธุรกิจการบิน
พาณิชย์ ในฐานะสายการบินแห่งชาติของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29
มีนาคม พ.ศ. 2503โดยปฏิบัติการบินจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นหลัก ทั้งนี้
การบินไทยยังได้ร่วมก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรการบิน สตาร์อัลไลแอนซ์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่
ในสายการบินนกแอร์ และเปิดตัวสายการบินลูก ไทยสมายล์ อีกด้วย
ปัจจุบันการบินไทยบินตรงสู่ 78 ที่หมายใน 5 ทวีป 35 ประเทศทั่วโลก
จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด้วยฝูงบินกว่า 80 ล้า การบินไทยเป็นสายการบิน
ล้าดับต้นในเอเชีย ที่ท้าการบินในเส้นทางกรุงเทพ – ลอนดอน (ท่าอากาศยานฮีท
โธรว์) นอกจากนี้ การบินไทยได้รับรางวัลยอดเยี่ยมจากองค์การอนามัยโลกว่าด้วย
สุขอนามัยบนเครื่องบินอีกด้วย
Royal Brunei Airlines
Royal Brunei Airlines
Royal Brunei Airlines is the flag carrier airline of the
Sultnate of Brunei, headquartered in the RBA Plaza in Bandar Seri Begawan.
It is wholly owned by the government of Brunei. Its hub is Brunei International
Airport in Berakas, just to the north of Bandar Seri Begawan, the capital of
Brunei.
Formed in 1974 with an initial fleet of two aircraft, serving Singapore,
Hong Kong, Kota Kinabalu and Kuching, Royal Brunei Airlines now operates
a fleet of 10 aircraft to 16 destinations in Southeast Asia, the Middle East,
Europe, and Australia. Its fleet and type numbers increased dramatically in the
1990s, with great expectations as to the next destinations.
Royal Brunei Airlines won ‘Best Foreign Airline’ award in the
category “Award For Best Airlines” at the Sabah Tourism Awards 2011.RB
have the distinction of operating the youngest long haul fleet in the world with
the recent deliveries of the Dreamliners.
Myanmar Airways International
Myanmar Airways International
Myanmar Airways International is the international flag
carrier of Myanmar, headquartered in Yangon.It operates
scheduled international services to destinations mainly in
Southeast Asia. The carrier is based at Yangon International
Airport. Myanmar Airways International is the sponsor of the 2013
SEA Games.
Philippine Airlines
Philippine Airlines
Philippine Air Lines, is the flag carrier of the Philippines.
Headquartered at the PNB Financial Center in Pasay City,the airline was
founded in 1941 and is the first and oldest commercial airline in Asia operating
under its original name. Out of its hubs at Ninoy Aquino International
Airport of Manila and Mactan-Cebu International Airport of Cebu, Philippine
Airlines serves 31 destinations in the Philippines and 36 overseas destinations
in Southeast Asia, East Asia, Middle East, Oceania, North America and Europe.
Formerly one of the largest Asian airlines, PAL was severely affected
by the 1997 Asian Financial Crisis. In one of the Philippines' biggest corporate
failures, PAL was forced to downsize its international operations by completely
cutting flights to Europe and Middle East, cutting virtually all domestic flights
except routes operated from Manila, reducing the size of its fleet, and laying off
thousands of employees.
Philippine Airlines
The airline was placed under receivership in 1998, and gradually
restored operations to many destinations. PAL exited receivership in 2007, and
following the brief management takeover by the San Miguel group from 2012 to
2014, has been taking steps towards reestablishing itself as one of Asia's
premier carriers.
Cambodia Angkor Air
Cambodia Angkor Air
Cambodia Angkor Air is the national flag carrier airline
of Cambodia, headquartered in Phnom Penh. It commenced
operations on 28 July 2009. The airline is owned by the Cambodian
government (51%) and Vietnam Airlines (49%), the latter allowing
for codeshare flights.
Malaysia Airlines
Malaysia Airlines
Malaysia Airlines is a major airline operating flights from Kuala
Lumpur International Airport and from secondary hubs in Kota
Kinabalu and Kuching to destinations throughout Asia as well as a handful of
destinations in Europe and Oceania. Malaysia Airlines is the flag carrier of
Malaysia and a member of the Oneworld airline alliance.
The company's headquarters are located on the grounds of Sultan
Abdul Aziz Shah Airport in Subang, Selangor, Greater Kuala Lumpur. In
August 2014, the Malaysian government's sovereign wealth fund Khazanah
Nasional—which then owned 69.37% of the airline—announced its intention to
purchase remaining ownership from minority shareholders and de-list the
airline from Malaysia's stock exchange, thereby renationalising the airline.
Malaysia Airlines
Malaysia Airlines owns two subsidiary airlines:
Firefly and MASwings. Firefly operates scheduled flights from its two home
basesPenang International Airport and Subang International Airport. The
airline focuses on tertiary cities. MASwings focuses on inter-Borneo flights.
Malaysia Airlines has a freighter fleet operated by MASkargo, which manages
freighter flights and aircraft cargo-hold capacity for all Malaysia Airlines'
passenger flights. Malaysia Airlines also provides aircraft maintenance, repair
and overhaul (MRO), and aircraft handling services to other companies.
Laos Airlines
Laos Airlines
Lao Airlines State Enterprise is the national airline of Laos,
headquartered in Vientiane. It operates domestic as well as international
services to countries such as Cambodia, China, Thailand, Vietnam,
and Singapore. Its main operating base is Wattay International Airport in
Vientiane. It is subordinate to the Ministry of Public Works and Transport.
เป็นสายการบินแห่งชาติของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ให้บริการทั้งเที่ยวบินภายในประเทศและเที่ยวบินระหว่างประเทศ โดยใช้ท่าอากาศ
ยานนานาชาติวัตไต นครหลวงเวียงจันทน์ เป็นฐานการบินหลัก และใช้ท่าอากาศ
ยานนานาชาติหลวงพระบาง แขวงหลวงพระบาง เป็นฐานการบินรอง
Vietnam Airlines
Vietnam Airlines
เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศเวียดนาม เดิมเป็นหน่วยงานของรัฐ
ก่อนที่จะแปรรูปกิจการมาเป็นเวียดนาม แอร์ไลน์ คอร์ปอเรชั่น ในปีพ.ศ. 2538
จากการจัดอันดับของสกายแทร็กให้อยู่ในระดับ 3 ดาว
ในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2553 เข้าร่วมเป็นสมาชิกพันธมิตรสายการบิน
สกายทีม นับเป็นสายการบินเดียวจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เข้าเป็น
สมาชิก
Singapore Airlines Limited
Singapore Airlines Limited
Singapore Airlines Limited (SIA) is the flag carrier of Singapore
which operates from its hub at Changi Airport and has a strong presence in the
Southeast Asia, East Asia, South Asia, and "Kangaroo Route" markets.
Singapore Airlines was the launch customer of Airbus A380, currently
the world's largest passenger aircraft. SIA has diversified airline-related
businesses, such as aircraft handling and engineering. Its wholly owned
subsidiary SilkAir manages regional flights to secondary cities with short-haul
aircraft. Subsidiary Singapore Airlines Cargo operates SIA's dedicated freighter
fleet, and manages the cargo-hold capacity in SIA's passenger aircraft.
Subsidiary Scoot operates in the low-cost carrier sector, along with minority-
owned Tigerair.
Singapore Airlines Limited
It ranks amongst the top 15 carriers worldwide in terms of revenue
passenger kilometres, and 10th in the world for international passengers
carried. On 15 December 2010, Singapore Airlines was announced by
the International Air Transport Association as the second largest airline in the
world by market capitalisation with a worth of 14 billion US dollars. Singapore
Airlines utilises the Singapore Girl as its central figure in its corporate branding.
Garuda Indonesia
Garuda Indonesia
Garuda Indonesia is the flag carrier of Indonesia. Named after the
holy bird Garuda of Hinduism and Buddhism, the airline is headquartered
at Soekarno-Hatta International Airport in Tangerang, near Jakarta.
Founded in 1949 as KLM Interinsulair Bedrijf, the airline is now one
of the world's leading airlines and the 20th member of the global airline
alliance SkyTeam. It operates regular scheduled flights to a number of
destinations in Southeast Asia, East Asia, Australia and Europe from its main
hub in Jakarta, Soekarno-Hatta International Airport, as well as services to
Australia and Asia from Ngurah Rai International Airport (Bali) and a large
number of domestic flights from both Sultan Hasanuddin International
Airport (Makassar) and Kuala Namu International Airport (Medan).
Garuda Indonesia
After a series of financial and operational difficulties in the late 1990s
and early 2000s, the airline undertook a five year modernization plan in 2009
known as the Quantum Leap, which brought with it a new livery, logo,
uniforms and brand, as well as newer, more modern aircraft and facilities and a
renewed focus on international markets.
• The airline also operated a budget subsidiary Citilink which provides low-
cost flights to multiple Indonesian destinations and was spun-off in 2012.
• On 11 December 2014, Garuda was announced as a 5-star airline by Skytrax.
รายชื่อสมาชิก
นายชนวิชญ์ เมธา เลขที่ 21
นางสาวธรทอภัค จรัสกมลธร เลขที่ 22
ชัน มัธยมศึกษาปีที่ 6/3

More Related Content

Viewers also liked

ทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียsocialrnm
 
ความรู้รอบตัวเกี่ยวกับทวีปต่างๆ
ความรู้รอบตัวเกี่ยวกับทวีปต่างๆความรู้รอบตัวเกี่ยวกับทวีปต่างๆ
ความรู้รอบตัวเกี่ยวกับทวีปต่างๆleemeanshun minzstar
 
ทวีปทั้ง7
ทวีปทั้ง7ทวีปทั้ง7
ทวีปทั้ง7Karn JantaJak
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.Mod Haha
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบินความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบินMint NutniCha
 
Long-haul Low-cost Airline Operations
Long-haul Low-cost Airline OperationsLong-haul Low-cost Airline Operations
Long-haul Low-cost Airline OperationsSimon Riha, MSc, MBA
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001Thidarat Termphon
 

Viewers also liked (10)

ทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชีย
 
ความรู้รอบตัวเกี่ยวกับทวีปต่างๆ
ความรู้รอบตัวเกี่ยวกับทวีปต่างๆความรู้รอบตัวเกี่ยวกับทวีปต่างๆ
ความรู้รอบตัวเกี่ยวกับทวีปต่างๆ
 
นำเสนอทวีปเอเชีย
นำเสนอทวีปเอเชียนำเสนอทวีปเอเชีย
นำเสนอทวีปเอเชีย
 
ทวีปทั้ง7
ทวีปทั้ง7ทวีปทั้ง7
ทวีปทั้ง7
 
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
ภูมิศาสตร์ทวีปเอเชีย.
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบินความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับธุรกิจการบิน
 
Geography ppt-m3
Geography ppt-m3Geography ppt-m3
Geography ppt-m3
 
Long-haul Low-cost Airline Operations
Long-haul Low-cost Airline OperationsLong-haul Low-cost Airline Operations
Long-haul Low-cost Airline Operations
 
Types Of Airline Services
Types Of Airline ServicesTypes Of Airline Services
Types Of Airline Services
 
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
สังคมศึกษา ม.ต้น สค21001
 

More from Chanawit Winn

สายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
สายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนสายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
สายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนChanawit Winn
 
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2Chanawit Winn
 
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physicsฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physicsChanawit Winn
 
Biology เฉลย
Biology เฉลยBiology เฉลย
Biology เฉลยChanawit Winn
 
7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษChanawit Winn
 
7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคมChanawit Winn
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทยChanawit Winn
 
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลยChanawit Winn
 
วิชาเคมี
วิชาเคมีวิชาเคมี
วิชาเคมีChanawit Winn
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญChanawit Winn
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ(พร้อมเฉลย)
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ(พร้อมเฉลย)คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ(พร้อมเฉลย)
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ(พร้อมเฉลย)Chanawit Winn
 

More from Chanawit Winn (20)

Supplementary food
Supplementary foodSupplementary food
Supplementary food
 
สายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
สายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนสายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
สายการบินประจำชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน6
ใบงาน6ใบงาน6
ใบงาน6
 
ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงาน5
ใบงาน5ใบงาน5
ใบงาน5
 
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
เฉลย 7 วิชาสามัญ ภาษาอังกฤษ edit2
 
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physicsฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
 
Biology เฉลย
Biology เฉลยBiology เฉลย
Biology เฉลย
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ7 สามัญ อังกฤษ
7 สามัญ อังกฤษ
 
7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม7 สามัญ สังคม
7 สามัญ สังคม
 
7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย7 สามัญ ภาษาไทย
7 สามัญ ภาษาไทย
 
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
7 สามัญ ฟิสิกส์ เฉลย
 
วิชาเคมี
วิชาเคมีวิชาเคมี
วิชาเคมี
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญคณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ
 
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ(พร้อมเฉลย)
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ(พร้อมเฉลย)คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ(พร้อมเฉลย)
คณิตศาสตร์ 7 วิชาสามัญ(พร้อมเฉลย)
 

Major airlines

  • 1. Major Airlines of Southeast Asia สายการบินประจาชาติของ ประเทศสมาชิก อาเซียน
  • 2. ที่มาและความสาคัญ สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South East Asian Nations) หรือ อาเซียน (ASEAN) เป็นองค์การทางภูมิรัฐศาสตร์และเศรษฐกิจในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ กัมพูชา ไทย บรูไน พม่า ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย ลาว เวียดนาม สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ความเป็น ประชาคมอาเซียน ซึ่งจะ ประกอบด้วยสามด้าน คือ ประชาคมอาเซียนด้านการเมืองและความมั่นคง ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 จากการกล่าวมาในข้างต้น ทาให้เกิด แนวคิดที่จะต้องพัฒนาความรู้ ซึ่งไม่ใช่แค่เพียงในตารา แต่ต้องมีความรู้ที่จะต้องมี ประดับไว้ในตัวเองและสามรถ นาไปใช้ในภายภาคหน้าได้ โดยมีสาระเนื้อหาเป็นที่น่าสนใจ เป็น เหตุให้เกิดการทาโครงงานเรื่อง สายการบินประจา ชาติของประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งเป็นเรื่อง ที่น่าสนใจ ไม่น่าเบื่อและควรมีไว้เป็นความรู้รอบตัว
  • 5. ความหมายของสัญลักษณ์อาเซียน – ต้นข้าวสีเหลือง 10 ต้นมัดรวมกันไว้ หมายถึงประเทศสมาชิกรวมกันเพื่อมิตรภาพและ ความเป็นน้้าหนึ่งใจเดียวกัน – สีนาเงิน หมายถึง สันติภาพและความมั่นคง – สีแดง หมายถึง ความกล้าหาญและความก้าวหน้า – สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ – สีเหลือง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรือง
  • 6. อาเซียน (ASEAN) เป็นการรวมตัวกันของ 10 ประเทศ ในทวีปเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ผู้น้าอาเซียนได้ร่วมลงนามในปฎิญญาว่าด้วย ความร่วมมืออาเซียน เห็นชอบ ให้จัดตั้ง ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) คือ เป็นองค์กรระหว่าง ประเทศ ระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีจุดเริ่มต้นโดยประเทศไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ได้ร่วมกันจัดตั้ง สมาคม อาสา (Association of South East Asia) เมื่อเดือน ก.ค.2504 เพื่อการร่วมมือกันทาง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม แต่ด้าเนินการ ไปได้เพียง 2 ปี ก็ต้องหยุดชะงักลงเนื่องจาก ความผกผันทางการเมือง ระหว่างประเทศอินโดนีเซียและประเทศมาเลเซีย จนเมื่อมีการฟื้นฟู สัมพันธ์ทางการฑูตระหว่างสองประเทศ จึงได้มีการแสวงหาหนทางความร่วมมือกันอีกครั้ง และส้าเร็จภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แต่ต่อมาได้ตกลงร่นระยะเวลาจัดตั้งให้เสร็จในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ในปี นั้นเองจะมีการเปิดกว้างให้ประชาชนในแต่ละประเทศสามารถเข้าไปท้างานในประเทศ อื่น ๆ ในประชาคมอาเซียนได้อย่างเสรี เสมือนดังเป็นประเทศเดียวกัน ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการประกอบอาชีพและการมีงานท้าของคนไทย ควรท้าความ เข้าใจในเรื่องนี้จึงเป็นสิ่งส้าคัญส้าหรับทุกคน
  • 7. “อาเซียน” สู่การเป็นประชาคมอาเซียน ในปี 2558 ปัจจุบัน บริบททางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม รวมทั้งความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ท้าให้อาเซียนต้องเผชิญ สิ่งท้าทายใหม่ๆ อาทิ โรค ระบาด การก่อการร้าย ยาเสพติด การค้ามนุษย์ สิ่งแวดล้อม ภัยพิบัติ อีกทั้ง ยังมี ความจ้าเป็นต้องรวมตัวกันเพื่อเพิ่มอ้านาจต่อรองและขีดความสามารถทางการแข่งขันกับประเทศ ในภูมิภาคใกล้เคียง และในเวทีระหว่างประเทศ ผู้น้าอาเซียนจึงเห็นพ้องกันว่า อาเซียนควรจะ ร่วมมือกันให้เหนียวแน่น เข้มแข็ง และมั่นคงยิ่งขึ้น จึงได้ประกาศ “ปฏิญญาว่าด้วยความ ร่วมมือในอาเซียน ฉบับที่ 2” (Declaration of ASEAN Concord II) ซึ่งก้าหนดให้มีการ สร้างประชาคมอาเซียนที่ประกอบไปด้วย 3 เสาหลัก ได้แก่...
  • 8. - ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน (ASEAN Political and Security Community - APSC) มุ่งให้ประเทศกลุ่มสมาชิกอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข แก้ไขปัญหาระหว่างกัน โดยสันติวิธี มีเสถียรภาพและความมั่นคงรอบด้าน เพื่อความมั่นคงปลอดภัยของ เหล่าประชาชน - ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community - AEC) มุ่งเน้นให้เกิดการรวมตัวกันทางเศรษฐกิจ และความสะดวกในการติดต่อ ค้าขายระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศสมาชิกสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นๆได้โดย
  • 9. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio - Cultural Community - ASCC) มุ่งหวังให้ประชากรอาเซียนมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดี มีความมั่นคงทาง สังคม มีการพัฒนาในทุกๆ ด้าน และมีสังคมแบบเอื้ออาร โดยจะมีแผนงานสร้าง ความร่วมมือ 6 ด้าน คือ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การคุ้มครองและสวัสดิการ สังคม สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม ความยั่งยืนด้านสิ่งแวดล้อม การสร้างอัต ลักษณ์อาเซียน การลดช่องว่างทางการพัฒนา ซึ่งต่อมาผู้น้าอาเซียนได้ตกลงให้มีการจัดตั้งประชาคมอาเซียนให้แล้ว เสร็จเร็วขึ้นมาเป็นภายในปี 2558
  • 10. ประเทศไทยจะได้ประโยชน์อะไรจาก AEC (ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน) ประชาคมอาเซียนที่จะถือก้าเนิดในปี 2558 นั้น คนไทยจะได้ประโยชน์อะไร แน่นอนเราคงอยาก ทราบ แต่ในชั้นนี้ขอจ้ากัดเฉพาะทางเศรษฐกิจก่อน.. ประการแรก ไทยจะ “มีหน้ามีตาและฐานะ” เด่นขึ้นประชาคมอาเซียนจะท้าให้เศรษฐกิจ “ของ เรา” มีมูลค่ารวมกัน 1.8 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ และมีขนาดใหญ่อันดับ 9 ของโลก ยังประโยชน์ แก่คนไทยทุกคนที่จะได้ยืนอย่างสง่างาม “ยิ้มสยาม” จะคมชัดขึ้น ประการที่สอง การค้าระหว่างไทยกับประเทศอาเซียนจะคล่องและขยายตัวมากขึ้น ก้าแพงภาษี จะลดลงจนเกือบจะหมดไป เพราะ 10 ตลาดกลายเป็นตลาดเดียว ผู้ผลิตจะส่งสินค้าไปขายใน ตลาดนี้และขยับขยายธุรกิจของตนง่ายขึ้น ขณะเดียวกันผู้บริโภคก็จะมีทางเลือกมากขึ้นราคา สินค้าจะถูกลง
  • 11. ประการที่สาม ตลาดของเราจะใหญ่ขึ้น แทนที่จะเป็นตลาดของคน 67 ล้านคน ก็จะกลายเป็น ตลาดของคน 590 ล้านคน ซึ่งจะท้าให้ไทยกลายเป็นแหล่งลงทุนที่น่าสนใจ เพราะสินค้าที่ผลิตใน ประเทศไทยสามารถส่งออกไปยังอีกเก้าประเทศได้ราวกับส่งไปขายต่างจังหวัด ซึ่งก็จะช่วยให้เรา สามารถแข่งขันกับจีนและอินเดียในการดึงดูดการลงทุนได้มากขึ้น ประการที่สี่ความเป็นประชาคมจะท้าให้มีการพัฒนาเครือข่ายการสื่อสารคมนาคมระหว่างกัน เพื่อประโยชน์ด้านการค้าและการลงทุน แต่ก็ยังผลพลอยได้ในแง่การไปมาหาสู่กัน ซึ่งก็จะช่วยให้ คนในอาเซียนมีปฏิสัมพันธ์กัน รู้จักกัน และสนิทแน่นแฟ้นกันมากขึ้น เป็นผลดีต่อสันติสุข ความ เข้าใจอันดีและความร่วมมือกันโดยรวม นับเป็นผลทางสร้างสรรค์ในหลายมิติด้วยกัน
  • 12. ประการที่ห้า โดยที่ ไทยตั้งอยู่ในจุดกึ่งกลางบนภาคพื้นแผ่นดินใหญ่อาเซียน ประเทศไทยย่อม ได้รับประโยชน์จากปริมาณการคมนาคมขนส่งที่จะเพิ่มขึ้นในอาเซียนและระหว่างอาเซียนกับจีน (และอินเดีย) มากยิ่งกว่าประเทศอื่นๆ บริษัทด้านขนส่ง คลังสินค้า ปั๊มน้้ามัน ฯลฯ จะได้รับประโยชน์อย่างชัดเจน จริงอยู่ ประชาคมอาเซียนจะยังผลทั้งด้านบวกและลบต่อประเทศไทย ขึ้นอยู่กับพวกเราคนไทยจะเตรียม ตัวอย่างไร แต่ผลทางบวกนั้นจะชัดเจน เป็นรูปธรรมและจับต้องได้
  • 13. ผลกระทบของประเทศไทยจากการเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC 1. การเปิดตลาดเสรีการค้าและบริการย่อมจะส่งผลกระทบต่อ อุตสาหกรรมและผู้ประกอบการในประเทศที่มีขีดความสามารถใน การแข่งขันต่้า 2. อุตสาหกรรมและผู้ประกอบการในประเทศต้องเร่งปรับตัว
  • 14. 8 อาชีพเสรีในอาเซียน เพื่อส่งเสริมให้เป็นตลาดและฐานผลิตเดียวที่มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และการ ลงทุน แรงงานฝีมือ และเงินทุนอย่างเสรี ทั้งนี้ได้กาหนดเป้าหมายให้เป็นปีที่มีลักษณะของการ รวมกลุ่มประเทศเปลี่ยน เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทาให้เกิดผลกระทบด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านแรงงาน จะมีการถ่ายเทแรงงานด้านฝีมือเพื่อให้สามารถทางานในประเทศ สมาชิกได้ง่ายขึ้นใน 8 สาขาอาชีพ คือ 1. วิศวกรรม 2. การสารวจ 3. สถาปัตยกรรม 4. แพทย์ 5. ทันตแพทย์ 6. พยาบาล 7. บัญชี 8. การบริการ/การท่องเที่ยว
  • 15.
  • 16. การรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขานาร่อง การรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขาน้าร่อง ถือว่าเป็นการเปิดเสรีด้านการค้า และบริการ เพื่อส่งเสริมการแบ่งงานกันผลิตสินค้าและบริการภายในอาเซียนด้วยกัน โดย จะเน้นใช้วัตถุดิบภายในอาเซียนเป็นหลัก ตามความถนัด เนื่องจากแต่ละประเทศมีวัตถุดิบที่ไม่ เหมือนกัน ถ้าจะให้ผลิตทุกอย่าง จะเป็นการเพิ่มต้นทุนสินค้าแบบเสียเปล่า สาหรับ 11 สาขานาร่องมีดังนี 1. สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร 2. สาขาประมง 3. สาขาผลิตภัณฑ์ยาง 4. สาขาสิ่งทอ 5. สาขายานยนต์ 6. สาขาผลิตภัณฑ์ไม้ 7. สาขาอิเล็กทรอนิกส์ 8. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ 9. สาขาสุขภาพ 10. สาขาท่องเที่ยว 11. สาขาการบิน
  • 17. อย่างไรก็ตาม ภายหลังได้เพิ่มสาขาที่ 12 ได้แก่ สาขาโลจิสติกส์ เพื่อท้าให้การขนส่ง วัตถุดิบต่าง ๆ ท้าได้สะดวกมากขึ้น เมื่อแบ่งทัง 12 สาขา ตามประเทศที่รับผิดชอบ สามารถแบ่งได้ ดังนี 1. พม่า สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร และสาขาประมง 2. มาเลเซีย สาขาผลิตภัณฑ์ยาง และสาขาสิ่งทอ 3. อินโดนีเซีย สาขายานยนต์ และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้ 4. ฟิลิปปินส์ สาขาอิเล็กทรอนิกส์ 5. สิงคโปร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุขภาพ 6. ไทย สาขาการท่องเที่ยวและสาขาการบิน 7. เวียดนาม สาขาโลจิสติกส์
  • 19.
  • 20.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 29. เป็นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงคมนาคม ท้าหน้าที่ด้าเนินธุรกิจการบิน พาณิชย์ ในฐานะสายการบินแห่งชาติของประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2503โดยปฏิบัติการบินจากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิเป็นหลัก ทั้งนี้ การบินไทยยังได้ร่วมก่อตั้งกลุ่มพันธมิตรการบิน สตาร์อัลไลแอนซ์ เป็นผู้ถือหุ้นใหญ่ ในสายการบินนกแอร์ และเปิดตัวสายการบินลูก ไทยสมายล์ อีกด้วย ปัจจุบันการบินไทยบินตรงสู่ 78 ที่หมายใน 5 ทวีป 35 ประเทศทั่วโลก จากท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ ด้วยฝูงบินกว่า 80 ล้า การบินไทยเป็นสายการบิน ล้าดับต้นในเอเชีย ที่ท้าการบินในเส้นทางกรุงเทพ – ลอนดอน (ท่าอากาศยานฮีท โธรว์) นอกจากนี้ การบินไทยได้รับรางวัลยอดเยี่ยมจากองค์การอนามัยโลกว่าด้วย สุขอนามัยบนเครื่องบินอีกด้วย
  • 31. Royal Brunei Airlines Royal Brunei Airlines is the flag carrier airline of the Sultnate of Brunei, headquartered in the RBA Plaza in Bandar Seri Begawan. It is wholly owned by the government of Brunei. Its hub is Brunei International Airport in Berakas, just to the north of Bandar Seri Begawan, the capital of Brunei. Formed in 1974 with an initial fleet of two aircraft, serving Singapore, Hong Kong, Kota Kinabalu and Kuching, Royal Brunei Airlines now operates a fleet of 10 aircraft to 16 destinations in Southeast Asia, the Middle East, Europe, and Australia. Its fleet and type numbers increased dramatically in the 1990s, with great expectations as to the next destinations. Royal Brunei Airlines won ‘Best Foreign Airline’ award in the category “Award For Best Airlines” at the Sabah Tourism Awards 2011.RB have the distinction of operating the youngest long haul fleet in the world with the recent deliveries of the Dreamliners.
  • 33. Myanmar Airways International Myanmar Airways International is the international flag carrier of Myanmar, headquartered in Yangon.It operates scheduled international services to destinations mainly in Southeast Asia. The carrier is based at Yangon International Airport. Myanmar Airways International is the sponsor of the 2013 SEA Games.
  • 35. Philippine Airlines Philippine Air Lines, is the flag carrier of the Philippines. Headquartered at the PNB Financial Center in Pasay City,the airline was founded in 1941 and is the first and oldest commercial airline in Asia operating under its original name. Out of its hubs at Ninoy Aquino International Airport of Manila and Mactan-Cebu International Airport of Cebu, Philippine Airlines serves 31 destinations in the Philippines and 36 overseas destinations in Southeast Asia, East Asia, Middle East, Oceania, North America and Europe. Formerly one of the largest Asian airlines, PAL was severely affected by the 1997 Asian Financial Crisis. In one of the Philippines' biggest corporate failures, PAL was forced to downsize its international operations by completely cutting flights to Europe and Middle East, cutting virtually all domestic flights except routes operated from Manila, reducing the size of its fleet, and laying off thousands of employees.
  • 36. Philippine Airlines The airline was placed under receivership in 1998, and gradually restored operations to many destinations. PAL exited receivership in 2007, and following the brief management takeover by the San Miguel group from 2012 to 2014, has been taking steps towards reestablishing itself as one of Asia's premier carriers.
  • 38. Cambodia Angkor Air Cambodia Angkor Air is the national flag carrier airline of Cambodia, headquartered in Phnom Penh. It commenced operations on 28 July 2009. The airline is owned by the Cambodian government (51%) and Vietnam Airlines (49%), the latter allowing for codeshare flights.
  • 40. Malaysia Airlines Malaysia Airlines is a major airline operating flights from Kuala Lumpur International Airport and from secondary hubs in Kota Kinabalu and Kuching to destinations throughout Asia as well as a handful of destinations in Europe and Oceania. Malaysia Airlines is the flag carrier of Malaysia and a member of the Oneworld airline alliance. The company's headquarters are located on the grounds of Sultan Abdul Aziz Shah Airport in Subang, Selangor, Greater Kuala Lumpur. In August 2014, the Malaysian government's sovereign wealth fund Khazanah Nasional—which then owned 69.37% of the airline—announced its intention to purchase remaining ownership from minority shareholders and de-list the airline from Malaysia's stock exchange, thereby renationalising the airline.
  • 41. Malaysia Airlines Malaysia Airlines owns two subsidiary airlines: Firefly and MASwings. Firefly operates scheduled flights from its two home basesPenang International Airport and Subang International Airport. The airline focuses on tertiary cities. MASwings focuses on inter-Borneo flights. Malaysia Airlines has a freighter fleet operated by MASkargo, which manages freighter flights and aircraft cargo-hold capacity for all Malaysia Airlines' passenger flights. Malaysia Airlines also provides aircraft maintenance, repair and overhaul (MRO), and aircraft handling services to other companies.
  • 43. Laos Airlines Lao Airlines State Enterprise is the national airline of Laos, headquartered in Vientiane. It operates domestic as well as international services to countries such as Cambodia, China, Thailand, Vietnam, and Singapore. Its main operating base is Wattay International Airport in Vientiane. It is subordinate to the Ministry of Public Works and Transport. เป็นสายการบินแห่งชาติของสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ให้บริการทั้งเที่ยวบินภายในประเทศและเที่ยวบินระหว่างประเทศ โดยใช้ท่าอากาศ ยานนานาชาติวัตไต นครหลวงเวียงจันทน์ เป็นฐานการบินหลัก และใช้ท่าอากาศ ยานนานาชาติหลวงพระบาง แขวงหลวงพระบาง เป็นฐานการบินรอง
  • 45. Vietnam Airlines เป็นสายการบินแห่งชาติของประเทศเวียดนาม เดิมเป็นหน่วยงานของรัฐ ก่อนที่จะแปรรูปกิจการมาเป็นเวียดนาม แอร์ไลน์ คอร์ปอเรชั่น ในปีพ.ศ. 2538 จากการจัดอันดับของสกายแทร็กให้อยู่ในระดับ 3 ดาว ในวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2553 เข้าร่วมเป็นสมาชิกพันธมิตรสายการบิน สกายทีม นับเป็นสายการบินเดียวจากภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่เข้าเป็น สมาชิก
  • 47. Singapore Airlines Limited Singapore Airlines Limited (SIA) is the flag carrier of Singapore which operates from its hub at Changi Airport and has a strong presence in the Southeast Asia, East Asia, South Asia, and "Kangaroo Route" markets. Singapore Airlines was the launch customer of Airbus A380, currently the world's largest passenger aircraft. SIA has diversified airline-related businesses, such as aircraft handling and engineering. Its wholly owned subsidiary SilkAir manages regional flights to secondary cities with short-haul aircraft. Subsidiary Singapore Airlines Cargo operates SIA's dedicated freighter fleet, and manages the cargo-hold capacity in SIA's passenger aircraft. Subsidiary Scoot operates in the low-cost carrier sector, along with minority- owned Tigerair.
  • 48. Singapore Airlines Limited It ranks amongst the top 15 carriers worldwide in terms of revenue passenger kilometres, and 10th in the world for international passengers carried. On 15 December 2010, Singapore Airlines was announced by the International Air Transport Association as the second largest airline in the world by market capitalisation with a worth of 14 billion US dollars. Singapore Airlines utilises the Singapore Girl as its central figure in its corporate branding.
  • 50. Garuda Indonesia Garuda Indonesia is the flag carrier of Indonesia. Named after the holy bird Garuda of Hinduism and Buddhism, the airline is headquartered at Soekarno-Hatta International Airport in Tangerang, near Jakarta. Founded in 1949 as KLM Interinsulair Bedrijf, the airline is now one of the world's leading airlines and the 20th member of the global airline alliance SkyTeam. It operates regular scheduled flights to a number of destinations in Southeast Asia, East Asia, Australia and Europe from its main hub in Jakarta, Soekarno-Hatta International Airport, as well as services to Australia and Asia from Ngurah Rai International Airport (Bali) and a large number of domestic flights from both Sultan Hasanuddin International Airport (Makassar) and Kuala Namu International Airport (Medan).
  • 51. Garuda Indonesia After a series of financial and operational difficulties in the late 1990s and early 2000s, the airline undertook a five year modernization plan in 2009 known as the Quantum Leap, which brought with it a new livery, logo, uniforms and brand, as well as newer, more modern aircraft and facilities and a renewed focus on international markets. • The airline also operated a budget subsidiary Citilink which provides low- cost flights to multiple Indonesian destinations and was spun-off in 2012. • On 11 December 2014, Garuda was announced as a 5-star airline by Skytrax.
  • 52. รายชื่อสมาชิก นายชนวิชญ์ เมธา เลขที่ 21 นางสาวธรทอภัค จรัสกมลธร เลขที่ 22 ชัน มัธยมศึกษาปีที่ 6/3