SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ผู้เขียน อนันต์ สรรพวุธ 
Layar เวทย์มนต์ยุคไอที ใครๆ ก็ทาได้ 
Layar คืออะไร บางคนก็เคยได้ยินบ้างแล้ว เพราะว่า Layar เป็นเว็บบราวเซอร์ที่ได้มีการนา เทคโนโลยี Augmented Reality มาใช้ โดย Layar ที่หลายคนรู้จักใน Application Layar บนมือถือ สมาร์ทโฟน ซึ่งเมื่อเปิดใช้งาน จะสามารถดู นิตยาสารในแบบที่สุดล้า ดูโปสเตอร์แบบมีชีวิต หรือฟังเพลงจาก ปกซีดี พร้อมทั้งสามารถกดแชร์บนโลก Social Network ได้อีกด้วย 
Layar ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในช่วงฤดูร้อนเมื่อปี พ.ศ.2552 และได้รับความสนใจอย่างรวดเร็ว เป็นหนึ่งใน Application ที่นักพัฒนาหลายพันคนจากทั่วทุกมุมโลกให้ความสนใจที่จะสร้างสรรค์ไปกับ Layar และวันนี้ Blippar group ได้ร่วมมือกับ Layar ที่เป็นผู้นาระดับโลกของ AR ช่วยลดช่องว่างระหว่างสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อดิจิตอล Layar ตั้งอยู่ในเมืองอัมสเตอร์ดัมประเทศเนเธอร์แลนด์ 
พวกเค้าเชื่อว่า AR มีอานาจที่จะทาให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของผู้คนที่สัมผัสโต้ตอบกับข้อมูลและ จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาข้อมูลนั้น และเป็นสิ่งที่ดี ถ้าเค้าจะให้ทุกคนสามารถสร้างสรรค์ AR เพื่อที่จะช่วย ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอย่างไม่สิ้นสุดในประชาคมโลก 
ในการสร้างสรรค์งาน ในส่วนของ The Layar Creator นั้นมีขั้นตอนที่ง่ายดายที่ใครก็สร้างสรรค์งาน ด้วยเทคโนโลยีที่น่าสนใจนี้ได้โดย ทาง Layar ได้มีการสร้างเครื่องมือที่ช่วยให้ Creator สรรค์สร้างงาน ด้วย 3 ขั้นตอนง่ายๆ ทั้งนี้การที่จะเป็น Creator นั้นต้องทาการสมัครสมาชิก และได้รับการตอบรับเพื่อที่จะ ได้รับสิทธิในการเป็น Creator และที่สาคัญ ในการศึกษาทดลอง ฟรีด้วยครับ 
ภาพข้างบนคือ 3 ขั้นตอนแสนง่ายที่คุณก็สร้าง AR ได้
ผู้เขียน อนันต์ สรรพวุธ 
1. Upload คือนาภาพหรืออะไรก็ได้ที่คุตต้องการเพื่อทาเป็น Content 
2. Design คลิก-ลาก AR ต่างๆ เข้ามาไว้บนสื่อที่คุตอัพโหลดเข้ามา 
3. Publish เผยแพร่สิ่งที่คุตทาให้โลกรู้ 
เมื่อเข้ามาสู่หน้าของ Creator จะมีการตั้งค่าแคมเปญทั้งชื่อแคมเปญ, ประเภท, ชื่อที่ใช้แสดงและ ภาพไอคอน โดยประเภทแต่ละประเภทนั้น มีการแสดงเครื่องมือในการสร้างสื่อดิจิตอลที่ต่างกันผมได้ศึกษา และทาการเปรียบเทียบ ประเภทของแคมเปญ และเครื่องมือในการสร้างของแต่ละประเภทแคมเปญ ดังตาราง ต่อไปนี้ 
ตารางเปรียบเทียบเครื่องมือของแต่ละประเภทแคมเปญ 
มาดูรายละเอียดของการทางานในแต่ละขั้นตอนกันต่อเลยครับ ว่ามีต้องทายังไงบ้าง มาดูขั้นที่ 1 เลย การ Upload ก่อนที่จะทาการ Upload ภาพของสื่อควรเลือกภาพที่มีคุตภาพดีที่มีเส้นที่ชัดเจนและคุตสมบัติ ควรทาภาพให้มีสัญลักษต์ AR เพื่อให้ผู้ชมสื่อได้รู้ว่าเขาสามารถสแกนภาพนั้นได้ควร Upload ภาพที่พร้อม จริงๆ เพราะจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลง ภาพเพจ นั้นได้เมื่อทาการเผยแพร่ ออกไป การ Upload สามารถใช้ภาพ นามสกุล JPG, PNG, PDF, หรือ ZIP files เมื่อทาการ Upload เสร็จ เรียบร้อยก็จะได้ เพจที่พร้อมจะลง สื่อดิจิตอลแล้วครับ ก่อนที่จะนา
ผู้เขียน อนันต์ สรรพวุธ 
ภาพสื่อสิ่งพิมพ์มาสร้าง AR เข้าไปนั้น ควรจะมีสัญลักษต์ ที่ชัดเจนโดยสามารถเพิ่มไอคอน AR ในแบบต่างๆ สามารถออกแบบเป็นสัญลักษต์ของตัวเองที่สื่อให้ผู้ชมสื่อเข้าใจ หรือจะใช้ไอคอนของ Layar ก็ได้เช่นเดียวกัน 
การจัดระเบียบหรือการจัดวางสื่อดิจิตอลลงบนเพจของเรา โดยเครื่องมือมีคุตสมบัติในการปรับแต่ง ที่ค่อนข้างเข้าใจง่าย และมีข้อความอธิบายด้วยทั้งการจัดเลเยอร์ การย่อขยาย การเปลี่ยนสี หรือการใช้ภาพ แทนปุ่มคาสั่งต่างๆ 
เมื่อสร้างสื่อดิจิตอลลงไปบนเพจแล้วก็สามารถทดลองใช้ โดยมีแท็บ TEST อยู่ด้านบนติดกับ EDIT ถ้าเครื่องมือไม่ตรงกับสิ่งที่เราต้องการ สามารถกลับไปเปลี่ยนประเภทของแคมเปญ ได้ที่ไอคอนการตั้งค่า ติดกับแท็บ EDIT และเมื่อสร้างสรรค์งานออกมาจนพอใจ ก็ทาการเผยแพร่ ที่ปุ่ม Publish เพียงแค่นี้ ก็ได้เทคโนโลยี AR มาเสริมสื่อสิ่งพิมพ์ของเราได้อย่างง่ายดาย 
ไม่เพียงแค่ The Layar Creator ที่สร้างสรรค์งานใน Layar ยังมีแบบระบบ Custom Solutions ที่เป็นการสร้าง Application โดยเอาเทคโนโลยี AR ของ Layar ใส่เข้าไป ซึ่งเป็นการรักษาเอกลักษต์ของ แบรนด์และลูกค้ายังคุ้นเคยกับ Layar ข้อดี ข้อเสีย - เครื่องมือใช้ง่ายสามารถทาความเข้าใจได้รวดเร็ว - มีความหลากหลายในการสร้างสรรค์ - มีความจาในการสแกน เมื่อรับรู้สิ่งที่สแกนแล้ว สื่อจะ ไม่หายเหมือนโปรแกรมหลายๆ ตัว เมื่อเลื่อนดูสื่อใกล้ๆ - จากัดจานวนในการสร้างต้องซื้อเครดิตเพิ่ม - จากัดในการทดลองในเรื่องของ 3 มิติ - จากัดในการพัฒนาที่ระดับสูง

More Related Content

Viewers also liked

Voice Search: How Will it Affect Search Marketers in 2017?
Voice Search: How Will it Affect Search Marketers in 2017?Voice Search: How Will it Affect Search Marketers in 2017?
Voice Search: How Will it Affect Search Marketers in 2017?Clark Boyd
 
Cortana : A Microsoft Virtual Personal Assistant
Cortana : A Microsoft Virtual Personal AssistantCortana : A Microsoft Virtual Personal Assistant
Cortana : A Microsoft Virtual Personal AssistantSushil Kumar Sharma
 
Augmented Reality pdf
Augmented Reality pdf Augmented Reality pdf
Augmented Reality pdf Qualcomm
 
Virtual personal assistant
Virtual personal assistantVirtual personal assistant
Virtual personal assistantShubham Bhalekar
 
Embrace What's Next - Brian Cobb
Embrace What's Next - Brian CobbEmbrace What's Next - Brian Cobb
Embrace What's Next - Brian CobbSITA
 
AR-AI - augmented reality with artificial intelligence
AR-AI - augmented reality with artificial intelligenceAR-AI - augmented reality with artificial intelligence
AR-AI - augmented reality with artificial intelligencePetr Royce
 
Disruptive Trends and Technologies - Greg Jones
Disruptive Trends and Technologies - Greg JonesDisruptive Trends and Technologies - Greg Jones
Disruptive Trends and Technologies - Greg JonesSITA
 
Virtual Reality / Augmented Reality State of the Art February 2017
Virtual Reality / Augmented Reality State of the Art February 2017Virtual Reality / Augmented Reality State of the Art February 2017
Virtual Reality / Augmented Reality State of the Art February 2017Angel Gutierrez Borjabad
 
Mixed Reality - Rob minson
Mixed Reality - Rob minsonMixed Reality - Rob minson
Mixed Reality - Rob minsonSITA
 
Augmented Reality: The Next 20 Years
Augmented Reality: The Next 20 YearsAugmented Reality: The Next 20 Years
Augmented Reality: The Next 20 YearsMark Billinghurst
 
55 marketing influencers: How brands should use virtual reality, augmented re...
55 marketing influencers: How brands should use virtual reality, augmented re...55 marketing influencers: How brands should use virtual reality, augmented re...
55 marketing influencers: How brands should use virtual reality, augmented re...TUNE
 
ITB 2017: Augmented Reality: Mehr als nur ein Hype?
ITB 2017: Augmented Reality: Mehr als nur ein Hype?ITB 2017: Augmented Reality: Mehr als nur ein Hype?
ITB 2017: Augmented Reality: Mehr als nur ein Hype?Realizing Progress
 
Augmented Reality, Artificial Intelligence, and Business Intelligence
Augmented Reality, Artificial Intelligence, and Business IntelligenceAugmented Reality, Artificial Intelligence, and Business Intelligence
Augmented Reality, Artificial Intelligence, and Business IntelligencePatrick
 
Artificial Intelligence in Business
Artificial Intelligence in BusinessArtificial Intelligence in Business
Artificial Intelligence in BusinessAjay Kumar
 

Viewers also liked (16)

Voice Search: How Will it Affect Search Marketers in 2017?
Voice Search: How Will it Affect Search Marketers in 2017?Voice Search: How Will it Affect Search Marketers in 2017?
Voice Search: How Will it Affect Search Marketers in 2017?
 
Cortana : A Microsoft Virtual Personal Assistant
Cortana : A Microsoft Virtual Personal AssistantCortana : A Microsoft Virtual Personal Assistant
Cortana : A Microsoft Virtual Personal Assistant
 
Augmented Reality pdf
Augmented Reality pdf Augmented Reality pdf
Augmented Reality pdf
 
Augmented Reality for Furniture Shopping
Augmented Reality for Furniture ShoppingAugmented Reality for Furniture Shopping
Augmented Reality for Furniture Shopping
 
Virtual personal assistant
Virtual personal assistantVirtual personal assistant
Virtual personal assistant
 
Future of Mobile
Future of Mobile Future of Mobile
Future of Mobile
 
Embrace What's Next - Brian Cobb
Embrace What's Next - Brian CobbEmbrace What's Next - Brian Cobb
Embrace What's Next - Brian Cobb
 
AR-AI - augmented reality with artificial intelligence
AR-AI - augmented reality with artificial intelligenceAR-AI - augmented reality with artificial intelligence
AR-AI - augmented reality with artificial intelligence
 
Disruptive Trends and Technologies - Greg Jones
Disruptive Trends and Technologies - Greg JonesDisruptive Trends and Technologies - Greg Jones
Disruptive Trends and Technologies - Greg Jones
 
Virtual Reality / Augmented Reality State of the Art February 2017
Virtual Reality / Augmented Reality State of the Art February 2017Virtual Reality / Augmented Reality State of the Art February 2017
Virtual Reality / Augmented Reality State of the Art February 2017
 
Mixed Reality - Rob minson
Mixed Reality - Rob minsonMixed Reality - Rob minson
Mixed Reality - Rob minson
 
Augmented Reality: The Next 20 Years
Augmented Reality: The Next 20 YearsAugmented Reality: The Next 20 Years
Augmented Reality: The Next 20 Years
 
55 marketing influencers: How brands should use virtual reality, augmented re...
55 marketing influencers: How brands should use virtual reality, augmented re...55 marketing influencers: How brands should use virtual reality, augmented re...
55 marketing influencers: How brands should use virtual reality, augmented re...
 
ITB 2017: Augmented Reality: Mehr als nur ein Hype?
ITB 2017: Augmented Reality: Mehr als nur ein Hype?ITB 2017: Augmented Reality: Mehr als nur ein Hype?
ITB 2017: Augmented Reality: Mehr als nur ein Hype?
 
Augmented Reality, Artificial Intelligence, and Business Intelligence
Augmented Reality, Artificial Intelligence, and Business IntelligenceAugmented Reality, Artificial Intelligence, and Business Intelligence
Augmented Reality, Artificial Intelligence, and Business Intelligence
 
Artificial Intelligence in Business
Artificial Intelligence in BusinessArtificial Intelligence in Business
Artificial Intelligence in Business
 

Similar to Layar เวทย์มนต์ยุคไอที ใครๆ ก็ทำได้

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องNew Tomza
 
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์คโซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์คprakaytip
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องTanyarad Chansawang
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2teerarat55
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2teeraratWI
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำPoonyapat Wongpong
 

Similar to Layar เวทย์มนต์ยุคไอที ใครๆ ก็ทำได้ (20)

บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
2
22
2
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
รายงาน1
รายงาน1รายงาน1
รายงาน1
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์คโซเชียลเน็ตเวิร์ค
โซเชียลเน็ตเวิร์ค
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
1
11
1
 

Layar เวทย์มนต์ยุคไอที ใครๆ ก็ทำได้

  • 1. ผู้เขียน อนันต์ สรรพวุธ Layar เวทย์มนต์ยุคไอที ใครๆ ก็ทาได้ Layar คืออะไร บางคนก็เคยได้ยินบ้างแล้ว เพราะว่า Layar เป็นเว็บบราวเซอร์ที่ได้มีการนา เทคโนโลยี Augmented Reality มาใช้ โดย Layar ที่หลายคนรู้จักใน Application Layar บนมือถือ สมาร์ทโฟน ซึ่งเมื่อเปิดใช้งาน จะสามารถดู นิตยาสารในแบบที่สุดล้า ดูโปสเตอร์แบบมีชีวิต หรือฟังเพลงจาก ปกซีดี พร้อมทั้งสามารถกดแชร์บนโลก Social Network ได้อีกด้วย Layar ได้ถูกก่อตั้งขึ้นในช่วงฤดูร้อนเมื่อปี พ.ศ.2552 และได้รับความสนใจอย่างรวดเร็ว เป็นหนึ่งใน Application ที่นักพัฒนาหลายพันคนจากทั่วทุกมุมโลกให้ความสนใจที่จะสร้างสรรค์ไปกับ Layar และวันนี้ Blippar group ได้ร่วมมือกับ Layar ที่เป็นผู้นาระดับโลกของ AR ช่วยลดช่องว่างระหว่างสื่อสิ่งพิมพ์และ สื่อดิจิตอล Layar ตั้งอยู่ในเมืองอัมสเตอร์ดัมประเทศเนเธอร์แลนด์ พวกเค้าเชื่อว่า AR มีอานาจที่จะทาให้เกิด การเปลี่ยนแปลงของผู้คนที่สัมผัสโต้ตอบกับข้อมูลและ จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาข้อมูลนั้น และเป็นสิ่งที่ดี ถ้าเค้าจะให้ทุกคนสามารถสร้างสรรค์ AR เพื่อที่จะช่วย ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาอย่างไม่สิ้นสุดในประชาคมโลก ในการสร้างสรรค์งาน ในส่วนของ The Layar Creator นั้นมีขั้นตอนที่ง่ายดายที่ใครก็สร้างสรรค์งาน ด้วยเทคโนโลยีที่น่าสนใจนี้ได้โดย ทาง Layar ได้มีการสร้างเครื่องมือที่ช่วยให้ Creator สรรค์สร้างงาน ด้วย 3 ขั้นตอนง่ายๆ ทั้งนี้การที่จะเป็น Creator นั้นต้องทาการสมัครสมาชิก และได้รับการตอบรับเพื่อที่จะ ได้รับสิทธิในการเป็น Creator และที่สาคัญ ในการศึกษาทดลอง ฟรีด้วยครับ ภาพข้างบนคือ 3 ขั้นตอนแสนง่ายที่คุณก็สร้าง AR ได้
  • 2. ผู้เขียน อนันต์ สรรพวุธ 1. Upload คือนาภาพหรืออะไรก็ได้ที่คุตต้องการเพื่อทาเป็น Content 2. Design คลิก-ลาก AR ต่างๆ เข้ามาไว้บนสื่อที่คุตอัพโหลดเข้ามา 3. Publish เผยแพร่สิ่งที่คุตทาให้โลกรู้ เมื่อเข้ามาสู่หน้าของ Creator จะมีการตั้งค่าแคมเปญทั้งชื่อแคมเปญ, ประเภท, ชื่อที่ใช้แสดงและ ภาพไอคอน โดยประเภทแต่ละประเภทนั้น มีการแสดงเครื่องมือในการสร้างสื่อดิจิตอลที่ต่างกันผมได้ศึกษา และทาการเปรียบเทียบ ประเภทของแคมเปญ และเครื่องมือในการสร้างของแต่ละประเภทแคมเปญ ดังตาราง ต่อไปนี้ ตารางเปรียบเทียบเครื่องมือของแต่ละประเภทแคมเปญ มาดูรายละเอียดของการทางานในแต่ละขั้นตอนกันต่อเลยครับ ว่ามีต้องทายังไงบ้าง มาดูขั้นที่ 1 เลย การ Upload ก่อนที่จะทาการ Upload ภาพของสื่อควรเลือกภาพที่มีคุตภาพดีที่มีเส้นที่ชัดเจนและคุตสมบัติ ควรทาภาพให้มีสัญลักษต์ AR เพื่อให้ผู้ชมสื่อได้รู้ว่าเขาสามารถสแกนภาพนั้นได้ควร Upload ภาพที่พร้อม จริงๆ เพราะจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลง ภาพเพจ นั้นได้เมื่อทาการเผยแพร่ ออกไป การ Upload สามารถใช้ภาพ นามสกุล JPG, PNG, PDF, หรือ ZIP files เมื่อทาการ Upload เสร็จ เรียบร้อยก็จะได้ เพจที่พร้อมจะลง สื่อดิจิตอลแล้วครับ ก่อนที่จะนา
  • 3. ผู้เขียน อนันต์ สรรพวุธ ภาพสื่อสิ่งพิมพ์มาสร้าง AR เข้าไปนั้น ควรจะมีสัญลักษต์ ที่ชัดเจนโดยสามารถเพิ่มไอคอน AR ในแบบต่างๆ สามารถออกแบบเป็นสัญลักษต์ของตัวเองที่สื่อให้ผู้ชมสื่อเข้าใจ หรือจะใช้ไอคอนของ Layar ก็ได้เช่นเดียวกัน การจัดระเบียบหรือการจัดวางสื่อดิจิตอลลงบนเพจของเรา โดยเครื่องมือมีคุตสมบัติในการปรับแต่ง ที่ค่อนข้างเข้าใจง่าย และมีข้อความอธิบายด้วยทั้งการจัดเลเยอร์ การย่อขยาย การเปลี่ยนสี หรือการใช้ภาพ แทนปุ่มคาสั่งต่างๆ เมื่อสร้างสื่อดิจิตอลลงไปบนเพจแล้วก็สามารถทดลองใช้ โดยมีแท็บ TEST อยู่ด้านบนติดกับ EDIT ถ้าเครื่องมือไม่ตรงกับสิ่งที่เราต้องการ สามารถกลับไปเปลี่ยนประเภทของแคมเปญ ได้ที่ไอคอนการตั้งค่า ติดกับแท็บ EDIT และเมื่อสร้างสรรค์งานออกมาจนพอใจ ก็ทาการเผยแพร่ ที่ปุ่ม Publish เพียงแค่นี้ ก็ได้เทคโนโลยี AR มาเสริมสื่อสิ่งพิมพ์ของเราได้อย่างง่ายดาย ไม่เพียงแค่ The Layar Creator ที่สร้างสรรค์งานใน Layar ยังมีแบบระบบ Custom Solutions ที่เป็นการสร้าง Application โดยเอาเทคโนโลยี AR ของ Layar ใส่เข้าไป ซึ่งเป็นการรักษาเอกลักษต์ของ แบรนด์และลูกค้ายังคุ้นเคยกับ Layar ข้อดี ข้อเสีย - เครื่องมือใช้ง่ายสามารถทาความเข้าใจได้รวดเร็ว - มีความหลากหลายในการสร้างสรรค์ - มีความจาในการสแกน เมื่อรับรู้สิ่งที่สแกนแล้ว สื่อจะ ไม่หายเหมือนโปรแกรมหลายๆ ตัว เมื่อเลื่อนดูสื่อใกล้ๆ - จากัดจานวนในการสร้างต้องซื้อเครดิตเพิ่ม - จากัดในการทดลองในเรื่องของ 3 มิติ - จากัดในการพัฒนาที่ระดับสูง