SlideShare a Scribd company logo
1
บทที่ ๑ มารู้จักกฎหมายผังเมืองกันก่อน
ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
แนวเขตผังเมืองรวม
เขตจังหวัด
เขตอําเภอ เขตของเขต
เขตของแขวง
ทางหลวง ถนน
ถนนโครงการ
โครงการรถไฟฟาขนสงมวลชน
แนวทางรถไฟฟาขนสงมวลชน
โครงการรถไฟฟาขนสงมวลชนขนาดรอง
แนวทางรถไฟฟาขนสงมวลชนขนาดรอง
ทางรถไฟ
แมนํ้า คลอง
แนวคันปองกันนํ้าทวม
No Window
ฉบับที่ .๔๑๔ ( พ.ศ. ๒๕๔๒ )
ออกตามความในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘
๒ ๓ ๔ ๕ ๑๐
๐ ๑ กิโลเมตร
๕๕ '
๕๐ '
๔๕ '
๔๐ '
๓๕ '
๓๐ '
๒๕ '
๑๐๐ ํ ๒๐ ' E
๑๐๐ ํ ๒๐ ' E
๒๕ ' ๓๐ ' ๓๕ ' ๔๐ ' ๕๐ ' ๕๕ '
๕๐ '
๔๕ '
๔๐ '
๓๕ '
๑๓ ํ๓๐ ' N
๑๓ ํ๓๐' N
๓๕ '
๕๐ '
๔๐ '
๔๕ '
๕๕ '
๕๕ '
๔๕ '
No Window
เครื่องหมาย
๑. เขตสีเหลือง
๒. เขตสีสม
๓. เขตสีนํ้าตาล
๔. เขตสีแดง
๕. เขตสีมวง
๖. เขตสีเม็ดมะปราง
๗. เขตสีมวงออน
๘. เขตสีเขียว
๙. เขตสีเขียวมะกอก
๑๐. เขตสีขาวมีกรอบ
และเสนทแยงสีเขียว
๑๑. เขตสีนํ้าตาลออน
๑๒. เขตสีเทาออน
ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม
ที่ดินประเภทคลังสินคา
ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม
ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา
ศิลปวัฒนธรรมไทย
ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา
ที่ดินประเภทสถาบันราชการ
การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ
๑๓. เขตสีนํ้าเงิน
๘.๔
๘.๗
๘.๒
๑.๑๙
๓.๑
๑.๒๘
๒.๖
๑.๒๙
๑๓.๗
๑.๒๑
๘.๕
๑.๒๗
๑๐.๒
๑๐.๑ ๘.๓
๑๐.๔
๑๓.๑๒
๑๐.๓
๘.๙
๘.๑๕
๘.๑๑
๘.๑๓
๘.๖
๘.๘
๑.๓๘
๕.๕
๑.๕๑
๑.๖๔
๑.๕๖
๑๓.๓๕
๒.๔๑
๓.๓๗
๑.๖๓
๖.๑
๙.๒๗
๑๐.๕
๑๐.๖
๕.๔
๑๓.๑๑
๑.๓๓
๒.๑๘
๔.๘
๑.๔๓
๒.๑๖
๒.๑๕
๑.๓๗
๑.๒๒
๑.๑๑
๑.๑๖
๑.๗
๑.๔๘
๔.๗ ๑๓.๑๐
๑.๓๕
๑.๔๙
๑.๑๗
๒.๕
๑.๓๐
๒.๓๖
๑.๕๓
๑.๔๔
๑.๖๕
๑.๖๒
๑.๕๗
๑.๔๐
๒.๑๗
๗.๒
๕.๓
๑.๔๗
๑๓.๔๐
๑.๖๙
๗.๓
๙.๓๓
๑.๒๕
๑.๓๖
๑.๕๕
๔.๕
๑.๒๖
๒.๑๑
๒.๒๕
๒.๑๔
๑.๓๔
๑.๓๒
๒.๒๗
๑.๒๓
๑.๓๑
๒.๒๒
๑.๖
๒.๓ ๗.๑
๑.๒๔
๑.๓
๑.๕
๑๓.๓
๑.๙
๑.๑๔
๑.๒
๘.๑
๕.๑
๑.๑๕
๑๓.๑
๑.๔
๒.๑
๒.๒
๔.๒
๒.๔
๑๒.๑
๙.๑
๑.๒๐
๔.๑
๑.๔๑
๔.๑๙
๑๓.๒๒
๙.๑๔
๙.๑๕
๑.๕๙
๒.๒๙
๑.๓๙
๑.๕๘
๙.๒๔
๒.๓๔
๔.๒๔
๔.๓๓
๒.๓๓
๑.๔๒
๒.๓๐
๒.๒๓
๒.๒๑
๔.๑๒
๒.๓๘
๒.๓๑
๒.๓๕
๑.๖๘
๑.๖๑
๑.๗๖
๑.๘๒
๒.๖๓
๔.๖๐
๑.๗๐
๑.๗๑
๑.๗๕ ๑.๗๗
๑.๘๓
๒.๖๔
๒.๕๘
๔.๕๙
๒.๕๔
๒.๔๔
๑.๖๐
๔.๕๑
๒.๓๙
๒.๕๙
๑๓.๔๖
๕.๗
๔.๔๖
๔.๕๒
๒.๕๐
๒.๕๒
๒.๕๕
๙.๒๕
๓.๒๘
๒.๓๒
๑๓.๔๓
๒.๔๓
๓.๓๕
๓.๑๘ ๒.๒๘
๑๓.๓๓
๒.๗
๓.๙
๒.๑๙
๑๓.๓๐
๓.๑๙
๙.๑๘
๓.๒๖
๑๓.๑๔
๓.๗
๙.๑๑
๑๓.๒๔
๙.๑๖
๑๓.๑๖
๓.๑๓
๙.๒๒
๓.๒๕
๑.๑๓
๑๓.๒
๑.๑๐
๑.๑๒
๑๓.๔
๙.๒
๑.๑
๒.๑๓
๑๓.๘
๙.๓
๔.๖
๒.๘
๔.๓
๙.๘
๙.๕
๔.๙ ๑๓.๑๓ ๙.๔
๑.๘
๑๓.๕
๑๓.๖
๒.๙
๑.๑๘
๒.๑๐
๔.๔
๓.๔
๒.๑๒
๑๓.๙
๓.๒
๙.๖
๕.๒
๙.๗
๑๓.๓๙
๔.๔๓
๔.๓๒
๔.๓๕
๕.๖
๓.๔๓
๓.๓๐
๓.๓๑
๑๓.๓๗
๙.๒๘
๓.๒๗
๑๓.๔๑
๒.๔๗
๔.๕๕
๙.๒๙
๓.๓๘
๑๓.๓๔
๔.๓๑
๙.๓๐
๔.๔๗
๔.๔๒
๔.๓๙
๑๓.๓๖
๔.๓๐
๔.๕๖
๔.๕๔
๓.๔๗
๙.๒๖
๔.๓๗
๔.๓๘
๔.๒๙
๔.๓๖
๑๒.๕
๓.๔๐
๓.๕
๔.๑๐
๓.๑๑
๔.๑๓
๑๓.๑๘
๓.๑๒
๔.๒๒
๔.๒๑
๔.๑๑
๑๓.๒๕
๓.๒๐
๙.๑๙
๑๐.๒๓
๔.๒๖
๑๓.๒๑
๑๓.๑๗
๑๓.๒๐
๔.๑๗
๑๓.๒๓
๙.๑๗
๙.๙
๙.๑๐
๑๒.๒
๙.๒๑
๑๓.๒๙
๓.๓
๓.๘
๙.๑๒
๓.๑๐
๔.๒๗
๓.๒๓
๑๒.๓
๙.๒๐
๔.๑๔
๔.๒๕
๑๓.๒๘
๑๓.๒๗
๓.๑๖
๓.๒๔
๑๓.๑๕
๑๓.๑๙
๙.๑๓
๒.๒๐
๓.๖
๑๓.๓๒
๑๒.๔
๔.๓๔
๓.๔๘
๒.๖๑
๖.๓
๓.๔๑
๓.๔๕
๑๓.๓๘
๓.๓๔
๔.๔๑
๒.๖๕
๓.๕๐
๗.๕
๔.๔๕
๑๑.๙
๑๑.๑๐
๔.๔๐
๓.๓๓
๖.๒
๓.๔๒
๔.๕๘
๔.๔๔
๓.๔๙
๓.๒๙
๑๑.๘
๔.๕๓
๗.๔
๔.๕๗
๔.๔๘
๑๑.๒
๔.๒๓
๑๓.๒๖
๓.๒๑
๔.๑๖
๑๑.๕
๑๑.๔
๑๑.๗
๓.๑๕
๑๑.๑
๔.๑๘
๓.๑๔
๑๑.๓
๔.๒๐
๑๓.๓๑
๓.๒๒
๔.๒๘
๑๑.๖
๒.๒๔
๒.๒๖
๑.๕๒
๔.๑๕
๓.๑๗
๑.๕๔
๑.๔๖
๑.๕๐
๓.๓๙
๒.๖๗
๒.๕๖
๓.๔๖
๒.๔๘
๒.๔๙
๓.๔๔
๓.๓๖
๒.๓๗
๓.๓๒
๑.๘๑
๒.๖๒
๑๓.๔๕
๑.๗๔
๙.๓๒
๒.๖๙
๑.๘๖
๑.๘๗
๑.๘๕
๙.๓๔
๘.๒๓
๑.๘๔
๗.๗
๘.๒๒
๘.๒๐
๔.๖๒
๒.๖๘
๘.๒๖
๘.๒๕
๘.๒๔
๘.๒๑
๕.๘
๘.๑๘
๒.๔๒
๒.๔๐
๒.๕๑
๑๐.๑๐
๑.๔๕
๔.๕๐
๑๐.๘
๑๐.๑๒
๔.๔๙
๑๐.๗
๑๐.๙
๑๐.๑๓
๑๐.๑๑
๘.๑๒
๘.๑๔
๒.๔๖
๑.๖๗
๘.๑๐
๒.๖๐
๗.๖
๔.๖๑
๒.๖๖
๑.๗๘
๒.๕๗
๑.๘๐
๑.๗๙
๒.๕๓
๑.๗๒
๘.๑๖
๙.๓๑
๑๒.๖
๒.๔๕
๑๓.๔๔
๑.๗๓
๑.๖๖
๑๓.๔๒
๘.๑๗
๘.๑๙
เขตมีนบุรี
เขตหนองจอก
เขตลาดกระบัง
เขตประเวศ
เขตคันนายาว
เขตสะพานสูง
เขตคลองสามวา
เขตสวนหลวง
เขตบึงกุม
เขตบางกะป
เขตพระโขนง
เขตบางนา
เขตวังทองหลาง
เขตดอนเมือง
เขตบางซื่อ
เขตบางเขน
เขตลาดพราว
เขตจตุจักร
เขตหลักสี่
เขตสายไหม
เขตพญาไท
เขตดินแดง
เขตหวยขวาง
เขตคลองเตย
เขตวัฒนา
เขตพระนคร
เขตสัมพันธวงศ
เขตปอมปราบศัตรูพาย
เขตราชเทวี
เขตดุสิต
เขตปทุมวัน
เขตบางพลัด
เขตบางรัก
เขตคลองสาน
เขตสาทร
เขตยานนาวา
เขตราษฎรบูรณะ
เขตบางคอแหลม
เขตภาษีเจริญ
เขตจอมทอง
เขตบางกอกใหญ
เขตธนบุรี
เขตบางขุนเทียน
เขตหนองแขม
เขตบางบอน
เขตบางแค
เขตทุงครุ
เขตทวีวัฒนา
เขตบางกอกนอย
เขตตลิ่งชัน
ตะวันออก
ใต
เหนือ
ตะวันตก
สวนหนองจอก
บึงสะแกงาม
บึงมะขามเทศ
สนามกอลฟสโมสรกรุงเทพกรีฑา
สนามกอลฟยูนิโก
สวนพระนคร
สวนภูเขาออนนุช
สนามกอลฟเนเจอรัลปารค
สนามกอลฟชานนทกอลฟวิว แอนด สปอรตคลับ
สนามกอลฟปญญา
สนามกอลฟนวธานี
สวนนํ้าบึงกุม
บึงลําไผ
บึงกระเทียม
สวนหลวง ร.9
สนามกีฬาหัวหมาก
สวนเบญจสิริ
สนามกีฬาภูติอนันต
บึงหนองบอน
สวนภูเขารามอินทรา
สนามกอลฟทหารบก
คายลูกเสือกรุงเทพมหานคร
บึงหมูบานเมืองทอง
สนามกีฬาการเคหะแหงชาติ
และสวนพักผอนการเคหะแหงชาติ
ที่โลงดานหนากรมทหารราบที่ 11
รักษาพระองค
ที่โลงดานหนากองพันทหารมามหาดเล็ก และกองพันทหารราบที่ 1
ศูนยเยาวชนกรุงเทพมหานคร(ไทย-ญี่ปน)
สวนเบญจกิติ
บึงโรงงานยาสูบ
สนามกอลฟการรถไฟแหงประเทศไทย
สวนจตุจักร
และสวนสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ
สนามกีฬากองทัพบก
ที่โลงดานหนาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
สนามมาราชกรีฑาสโมสร
สวนลุมพินี
ที่โลงดานหนากองพันทหารมา
สวนสันติภาพ
บึงมักกะสัน
สนามหลวง
สวนสัตวดุสิต
ราชตฤณมัยสมาคมแหงประเทศไทย
บึงพิบูลวัฒนา
สวนรมณีนาถ
สวนสราญรมย สนามกีฬาแหงชาติ
สนามกีฬาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ที่โลงดานหนากรมการทหารสื่อสาร
ที่โลงดานหนากรมทหารราบที่ 1
มหาดเล็กรักษาพระองค
ที่ทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย
(ทาวาสุกรี)
สวนธนบุรีรมย
สนามกีฬากรุงเทพมหานคร
และคายลูกเสือกรุงธน
โครงการสวนสาธารณะชายทะเลบางขุนเทียน
ไปอํา
เภอ
บานโ
พธิ์
คลองห
ลวงแพ

ง
อําเภอเมืองฉะเชิงเทรา
จังหวัดฉะเชิงเทรา
คลอง
สอง
ลํารางสาธารณะ
แขวงลําตอยติ่ง
คลองแสนแสบ
ถนนสังฆ
สันติสุข
ถนนผดุงพันธ
คลองสิ
บ
สี
่
อําเภอบางนํ้าเปรี้ยว
คลอ
งนคร
เนื่อง
เขต
คลองบึ
ง
ฝรั
่
ง
ถนนท
หารอา
กาศอุท
ิ
ศ
ลํารางเจียรดับ
คลอ
งขุดใ
หม
ถนนอยูวิทยา
คลองหนึ่ง
คลองแมะดํา
คลองหลุมบัว
ถนนร
ว
มพั
ฒ
นา
คลองลําตาอิน
คลองลําแขก
คลองบ
ึงขวาง
แขวงลําผักชี
ถนนประชาสํ
า
ราญ
ถนนคู

ฝ


ง
เหนื
อ
-คลองสิบ
คลองเก
า
คลอง
แบนช
ะโด
คลอง
หนอ
งปลา
หมอ
คลองสนา
มสองตอน
ถนนบุรีภิรมย
ไปอําเภอองครักษ
ถนนเลียบวารี
ถนนเช
ื
่
อ
มสัมพัน
ธ
ถนนมิตรไมตรี
คลองนาตับ
คลอง
ลําเจีย
รดับ
ถนนฉ
ลองกร
ุ
ง
คลอง
พะอง
คลอง
ลําพะ
อง
คลอง
ลําผัก
ชี
คลองลํานกแขวก
ถนนสุวินทวงศ
คลองบึงใหญ
คลองตาเสือ คลองมะขาม
คลอ
งนก
แขวก
คลองลํากอไผ
คลองต
น
ไทร
คลองลํากอไผ
ถนนเจาคุณทหาร
คลองลําปล
าทิว
คลองสี
่
ถนนป
ระชารว
มใจ
คลองลัด
ตาเตี้ย
ถนนร
าษฎรอ
ุทิศ
คลองสองตะวันออก
คลองลํ
า
หิ
น
คลองหนึ่ง
คลองบึงไ
ผ
ถนนร
ม
เกล
า
คลองนายโ
ส
ช ๓
ค
๒
ถนนสีหบูรานุกิจ
คลองสาม
คลองห
นึ่ง
จ ๑
ถนนหทั
ย
ราษฎร
ถนนหทั
ย
ราษฎร
คลองสามวา
คลองสี่ตะวันตก
คลองสามตะวันตก
คลองสองตะวันตก
คลองลาดบั
ว
ขาว
คลองแม
จ
ั
น
คลองทับชางลาง
คลองพ
ระยาส
ุ
เ
รนทร

ถนนนิมิต
รใหม
คลองหกวาสายลาง
ถนนวง
แหวนร
อบนอก
(ดานตะ
วั
น
ออก)
ไปอําเภอธัญบ
ุ
ร
ี
ถนนวัดคูบอน
คลอง
บางช
ั
น
จ ๒
คลอ
งลําเ
ก็ด
ถนนปญ
ญาอินทร
า
ถนนพระยาสุเรนท
ร
ช ๓
คลองแ
สนแส
บ
ถนนรา
มคําแห
ง
ช
๑
คลองวังใหญบ
น
คลองกุม
คลอง
บานม
า
อําเภอลําลูกกา
ทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๑๒ (ถนนลําลูกกา)
คลองหนองบัวมน
แนวคันปองกันนํ้าทวม
ถนนเส
รีไทย
คลองบ
า
นม
า
คลองห
ั
ว
หมาก
คลองยา
ยเผื่อน
ถนนนว
มิ
น
ทร
คลองหนอง
แขม
คลองร
ะหัส
ช๑
ฉ ๑
คลองลําเจียก
คลองครุ
ถนนร
ามอินท
รา
คลองลําผักช
ี
คลองจระเขบัว
คลองหนองจอก
จ ๑
คลองหกขุด
คลองคูบอน
ถนนสายไหม (ถนนสุขาภิบาล ๕)
คลองออเง
ิน
คลองสอง
คลองอ
อเกาะ
อําเภอบางบอ
ไปอําเภอ
บานโพธิ์
ไปอําเภอบานโพธิ์
ไปอําเภอบาง
ปะกง
ไปอํา
เภอบ
างปะ
กง
คลองกาหล
ง
คลองห
ลวงแพ

ง
คลองทับย
าว
ทางรถไฟสายตะวันออก
คลองจ
ระเขน

อ
ย
คลอง
หลุมท
อง
ถนนขุม
ทอง-ล
ํ
า
ต
อ
ยติ่ง
ถนนรัต
นโกสิน
ทร
๒๐๐
ป
ถนนหลว
งแพง
อําเภอบางพลี
ถนนประ
ชาพัฒนา
ถนนว
ั
ด
ศรีวาร
ี
น

อ
ย-ออน
นุช
ถนนกรุงเทพ-ชลบุรี สายใหม
ถนนกรุงเทพ-ชลบุรี สายใหม
ถนนว
ั
ด
ศรีวาร
ี
น

อ
ย-ออน
นุช
คลอง
จระเข

ข
บ
คลองส
ลุ
ด
ทางหล
วงแผน
ดิ
น
หมายเล
ข
๓๒๕๖
(ถนนก
ิ
่
ง
แกว)
คลองประเวศบุรีรมย
คลองตาพุก
คลองสอง
ถนนออนนุช-ลาดกระบัง
ทางหลวงแผ
นดินหมายเลข
๓ (ถนนสุขุมว
ิท)
ทางหลวงแผนดิน
หมายเลข ๓๒๖๘ (ถนนเทพารักษ)
ค ๖
ทางหล
วงแผน
ดินหมายเล
ข ๓๔
(ถนนบ
างนา-ต
ราด)
คลองพระโขนง
คลองหนองบอน
คลองต
นตาล
คลองปลัดเปรียง
คลอ
งวังใ
หญ
จังหวัดสมุทรปราการ
คลองสํา
โรง
อําเภอเมืองสมุทรปราการ
คลองตาสาด
ซอยสุขุมวิท ๑๐๓ (ซอยอุดมสุข)
ถนนศรี
น
คริ
น
ทร
คลองหัวหมาก
คลองสา
ว
คลองสวนออย
คลอ
งไผเ
ขียว
คลองบางช
วด
คลอง
เสือใ
หญ
คลอง
โคกค
ราม
ถนนพ
หลโยธ
ิ
น
ค
๑
คลองไผเขียว
ไปอําเภอธัญบุรี
ถนนธ
ูปเตมีย
ข
๑
ถนนว
ิ
ภ
าวดีรัง
สิต
คลองส
อง
ถนนจันทรุเบกษา
ไปอําเภอธัญบุรี
คลองต
าหนัง
ถนนรามคําแหง
ถนนล
าดพรา
ว
คลองทรงกระเทียม
คลองจั่น
ถนนปร
ะดิษฐม
นู
ธ
รรม
กรุงเทพมหานคร
ค ๓
คลองบาน
ปา
คลองสะ
แก
คลองตั
น
คลองสะแก
ค
๔
ข
๒
ข
๒
ถนนพระรามที่
๙
ถนนส
ุขุมวิท
คลองสามเสน
จ ๓
ซอยสุขุมว
ิ
ท
๖๓
คลองชวดบางจ
าก
ถนนประชาอุทิศ
คลองสามเสนนอก
ถนนเทียมรวมมิตร
ถนนประชาราษฎรบําเพ็ญ
ถนนอโศก-ดินแดง
ถนนประชาสงเคราะห
คลองสามข
า
ถนนงา
มวงศว
าน
คลองลาดพร
า
ว
ฉ ๑
คลองบางเขน
คลองถนน
ถนนรั
ช
ดาภิ
เ
ษก
คลองนํ้าแกว
ถนนสุทธิสารวินิจฉัย
ซอยลาดพราว
๕๓
คลองเป
รมประ
ชากร
ถนนแจง
วัฒนะ
คลองบานใหม
คลองสงนํ้าการ
ประปานครหล
วง
คลอ
งบาง
บัว
ข
๑
ทางรถ
ไฟสาย
เหนือ
คลองบางซื่อ
ถนนวิภ
าวดีรังส
ิ
ต
ถนนพ
ระราม
ที่
๕
ถนนกําแพงเพชร
ถนนประชาช
ื
่
น
ทางพิเศษส
ายแจงวัฒน
ะ-บางโคล
อําเภอปากเกร็ด
ทางหลวง
แผนดินห
มายเลข
๓๐๔
คลองผดุงกรุงเกษม
ถนนเพชรบุรี
ถนนพระราม
ที่ ๔
คลองมหานาค
ถนนสาทรเหนือ
ถนนสาทรใต
จ ๓
ถนนดินแดง
ไปอําเภอส
ามโคก
ทางห
ลวงแ
ผนด
ินหมาย
เลข
๓๐๖
(ถนน
ติวาน
นท)
อําเภอเมืองปทุมธานี
จังหวัดปทุมธานี
ทางพิเศษส
ายบางปะอ
ิ
น
-ปากเกร็ด
ไปอําเภ
อสามโ
คก
ถนนกรุงธนบุรี
คลองรอ
บกรุง
ถนนลาดหญา
ถนนสิริน
ธร
คลอง
บางพ
ลัด
คลองคู
เ
มื
อ
งเดิ
ม
คลอ
งบาง
ยี่ขัน
คลองเคล็ด
ซอยสุขุมวิท ๗๗ (ซอยออนนุช)
คลองกะจะ
คลองจ
ิก
คลอง
บานห
ลาย
ซอยสุขุมวิท ๑๐๑/๑
คลองบางนางจีน
(ซอยวชิรธรรมสาธิต)
คลองบางนา
ทางหลว
งแผนด
ิ
น
หมายเล
ข
๓๓๔๔
ถนนทางรถไฟเกาสายปากนํ้า
ทางหลวงแผน
ดินหมายเลข
๓๑๑๓ (ถนนปูเจาสม
ิงพราย)
ถนนสรรพาวุธ คลองบ
างออ
ทางพิเศษสายทาเรือ-บางนา
ทางพิเศษสายรามอินทรา-อาจณรงค
สายปากนํ้า
ทางพิเศษสายดินแดง-ทาเรือ
ทางรถไฟ
ทางห
ลวงแ
ผนด
ิ
น
หมา
ยเลข
๓๐๓
(ถนน
สุขส
วัสด
ิ
์
)
ทางหลวงแผ
นดินหมายเลข
๓๒๔๓
คลอง
บางน
างเกร
ง
คลอง
สนาม
แดง
คลองบา
งปลากด
ถนนพระรามที่ ๓
อําเภอพระประแดง
ถนนสาธุประดิษฐ
ทางพิเศษสายทาเรือ-ดาวคะนอง
คลอง
พิทยา
ลงกร
ณ
คลองโลง
คลองสรรพสามิต
คลองขุนราชพิน
ิ
จ
ใจ
อําเภอพระสมุทรเจดีย
อ  า ว ไ ท ย
คลอง
สาม
ถนนประชา
อุ
ท
ิ
ศ
ง ๔
คลองบางพึ่ง
ยา
พระ
ถนนราษฎรบ
ูรณะ
แม นํ้า เจา
ถนนสุขส
วัสดิ์
คลองสะพานควาย
คลองบางมด
ค
๗
ฌ
คลองราง
ใหญ
ถนนพุทธบูชา
คลอง
บางป
ะแกว
ถนนบางมดพ
ั
ฒ
นา
คลองดาวค
ะนอง
คลองวัดนาคนิมิตร
คลองวัดใหมยายนุย
คลองวัดอรุณ
ถนนบางขุนเทีย
น
คลองพระยา
ราชมนตรี
คลองนา
คลองตาสุก
คลองสนามชั
ย
คลองห
ั
ว
กระบือ
ง
๔
คลองบั
ว
ถนนสุขาภ
ิ
บ
าล
๑
คลอ
งวัดส
ิ
ง
ห
คลองบางเพล
ี้ย
คลองวัดรางบัว
คลองต
าฉํ่า
ฉ
๒
คลองวัดระฆัง
แขวงบางแค
แขวงหลักสอง
ถนนเพชรเกษม
คลอง
บางบ
อน
ถนนเ
อกชัย
คลอง
บางพ
ราน
คลองบ
างโคล
ัด
ถนนบาง
บอน
๑
ถนน
พระ
รามท
ี่๒
ทางร
ถไฟ
สายแ
มกล
อง
ถนนบางกระดี่
ฌ
จังหวัดสมุทรสาคร
คลองห
ั
ว
กระบือ
คลองส
นามชัย
คลองตาแมน
คลองเสาธง
อําเภอเมืองสมุทรสาคร
คลองแยกพ
ะเนียง
ไปที่ว

า
การอ
ํ
า
เภอเม
ื
อ
งสมุท
รสาค
ร
คลองสี
่
ว
า
ไปบ
านบา
งนํ้าจ
ืด
คลองห
นามแด
ง
ไปอําเภอสามพราน
ถนนพุ
ท
ธมณฑลสาย
๓
ถนนติวา
นนท
ถนนรัตน
าธิเบศร
ถนน
กรุงเท
พฯ-น
นทบ
ุรี
คลอ
งบาง
เขน
ถนน
วงศส
วาง
ถนนประชาราษฎร
เจา
พระ
ยา
ถนนรัตนา
ธิเบศร
อําเภอเมืองนนทบุรี
จังหวัดนนทบุรี
คลองแมนํ้าออม
แม
นํ
้
า
คลองมอญ
คลองกระทอน
แถว
ช
๒
ก
อําเภอบางกรวย
คลองบางบําหรุ
ช
๒
คลองบ
างหวา
ง
๓
คลองดาน
คลองบางกอกใหญ
คลองบ
างสะแ
ก
ง
๒
ง๑
คลองสวนหลวง
ถนนสมเด็จพระปนเกลา
ถนน
จรัญ
สนิท
วงศ
ถนน
บรม
ราชช
นนี
คลองชักพระ
คลองบา
งกอกนอ
ย
แขวงฉิมพลี
คลองบางบัวทอง
ทางหลวงแผน
ดินหมายเลข
๓๔๕
คลอ
งพระ
อุดม
ไปอํา
เภอไ
ทรน

อ
ย
ทางห
ลวงแ
ผนด
ิ
น
เลข
๓๔๐
หมาย
แขวงบางพรม
ทางร
ถไฟส
ายใต

ช ๔
แขวงตลิ่งชัน
คลองวัดไกเตี้ย
แขวงคลองชักพระ
แขวงบางระมาด
คลองขนมจีน
ง๑
แนวทา
งพิเศษ
ขั้นที่๖
คลองลัดว
ั
ด
ฉิ
ม
คลองบางจาก
คลองบางระมาด
แขวงฉิมพลี
ฉ
๒
คลองบางแวก
ถนนกาญจนาภิ
เ
ษก
ถนนพุ
ท
ธมณฑลสาย
๒
คลองบางพรม
คลองบางเชือกหนัง
คลองบางไผ
คลองค
วาย
ถนนบรมราชชนนี
คลองมหาสวัสดิ์
อําเภอบางใหญ
ก
คลองบางใหญ
คลอง
พระพ
ิมล
ถนนพุ
ท
ธมณฑล
สาย
๔
คลองราษฎรสามัคคี
คลองภาษ
ีเจริญ
คลองศรีสําราญ
คลอง
กํานัน
เทียบ
คลองมหาศร
ช ๔
คลองท
วี
ว
ั
ฒ
นา
คลองบางระทึก
คลองซอย
ถนนอุทยาน
ไปอําเภอนครชัยศรี
คลองสวัสดิ์
ไปอําเภอนครชัยศรี
ไปอําเภอบางปะกง
ทางพิเศษเสนอแนะ(เดิม)
๐.๕
( นายสุทธิชัย ทรรศนสฤษดิ์ )
ผูอํานวยการสํานักผังเมือง
( นายพิจิตต รัตตกุล )
ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร
ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร
		 พ.ศ. ๒๕๓๕			 พ.ศ. ๒๕๔๒
		 พ.ศ. ๒๕๔๙			 พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎหมายว่าด้วยการผังเมือง เป็นกฎหมายที่ควบคุมเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตราขึ้น
บังคับใช้ในรูปของพระราชบัญญัติ การผังเมือง พ . ศ . ๒๕๑๘ สาระส�ำคัญกล่าวถึงการวางและ
จัดท�ำผังเมืองรวม และผังเมืองเฉพาะ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้รักษาการ
ตามพระราชบัญญัติและมีอ�ำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้
ผังเมืองรวม
หมายถึง แผนผัง นโยบายและโครงการ รวมทั้งมาตรการควบคุมโดยทั่วไปเพื่อใช้
เป็นแนวทางในการพัฒนาการด�ำรงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการ
ใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคม และการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ
และสภาพแวดล้อมเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง
การบังคับใช้ผังเมืองรวม จะตราเป็นกฎกระทรวง
2
ผังเมืองเฉพาะ
หมายถึง แผนผังและโครงการด�ำเนินการเพื่อพัฒนาหรือด�ำรงรักษาบริเวณเฉพาะแห่ง
หรือกิจการที่เกี่ยวข้อง ในเมือง และบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบทเพื่อประโยชน์แก่การผังเมือง
การบังคับใช้ผังเมืองเฉพาะ จะตราเป็นพระราชบัญญัติ
กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖
เป็นกฎหมายที่ประกาศให้ใช้บังคับผังเมืองรวมในเขตกรุงเทพมหานคร ตราขึ้นโดย
อาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ มีอายุการบังคับใช้ ๕ ปี นับตั้งแต่
วันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ถึงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และสามารถขยายระยะ
เวลาการบังคับใช้ต่อไปได้อีก ๒ ครั้ง ครั้งละไม่เกิน ๑ ปี
การบังคับใช้กฎกระทรวง
เมื่อมีประกาศให้ใช้บังคับผังเมืองรวมแล้ว ห้ามบุคคลใดใช้ประโยชน์ที่ดินผิดไปจาก
ที่ได้ก�ำหนดไว้ผังเมืองรวม หรือปฏิบัติการใดๆ ซึ่งขัดกับข้อก�ำหนดของผังเมืองรวม เว้นแต่
กรณีที่ได้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินมาก่อนที่จะมีกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวม และประสงค์
จะใช้ประโยชน์ที่ดินเช่นนั้นต่อไป แต่การใช้ประโยชน์ที่ดินเช่นนั้น ใช้ได้เฉพาะเท่าที่มีอยู่ใน
ขณะนั้นเท่านั้น จะใช้ประโยชน์ที่ดินเกินกว่าที่เคยมีมาก่อนไม่ได้
กฎกระทรวง จะไม่มีผลใช้บังคับย้อนหลังกับการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีมาก่อน แต่ถ้า
ประสงค์จะขอใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มขึ้นจากเดิม ต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ประกาศใช้ปัจจุบัน
บทก�ำหนดโทษ
ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงผังเมืองรวม มีความผิดต้องระวางโทษ
๓ สถาน คือ
๑. จ�ำคุกไม่เกินหกเดือน
๒. ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
๓. ทั้งจ�ำคุกทั้งปรับ
3
บทที่ ๒ สาระส�ำคัญกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวม	 	
	   กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖
กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖ มีสาระส�ำคัญ ประกอบด้วย
๑. วัตถุประสงค์ในการวางและจัดท�ำผังเมืองรวม
๒. ค�ำนิยาม
๓. แผนผังก�ำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินและข้อก�ำหนด
๔. แผนผังแสดงที่โล่งและข้อก�ำหนด
๕. แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งและข้อก�ำหนด
๖. แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค
๗. มาตรการส่งเสริมและควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน
๑. วัตถุประสงค์ในการวางและจัดท�ำผังเมืองรวม
เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนากรุงเทพมหานคร ให้เป็นเมืองน่าอยู่ เป็นศูนย์กลาง
ทางเศรษฐกิจวิทยาการของประเทศและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และศูนย์กลางการบริหาร
และการปกครองของประเทศ มีเอกลักษณ์ด้านศิลปวัฒนธรรมของชาติ ตลอดจนเป็นเมือง
ต้นแบบในด้านการรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติรวมไปถึงลดการใช้พลังงาน และลดการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๒. ค�ำนิยาม
“การใช้ประโยชน์ที่ดิน” หมายความว่า การใช้ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใดๆ ไม่ว่า
กิจการนั้นจะกระท�ำบนพื้นดินเหนือพื้นดิน หรือใต้พื้นดิน และไม่ว่าจะอยู่ภายในอาคารหรือ
นอกอาคาร
“พื้นที่ประกอบการ” หมายความว่า พื้นที่ที่ใช้ประกอบกิจการบนพื้นดิน เหนือพื้นดิน
หรือใต้พื้นดิน และให้หมายความรวมถึงพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ต่อเนื่องของกิจการไม่ว่าจะ
อยู่ภายในอาคารหรือนอกอาคาร
“การประกอบพาณิชยกรรม” หมายความว่า การประกอบธุรกิจการค้าหรือ
การบริการ แต่ไม่หมายความรวมถึงโรงแรม สถานบริการ ส�ำนักงาน ตลาด สถานีบริการน�้ำมัน
เชื้อเพลิงหรือก๊าซธรรมชาติและการซื้อขายเศษวัสดุ
4
“อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน” หมายความว่า อัตราส่วนพื้นที่อาคาร
รวมทุกชั้นของอาคาร ทุกหลังต่อพื้นที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร
“อัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม” หมายความว่า อัตราส่วนของที่ว่าง
อันปราศจากสิ่งปกคลุมของพื้นที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารต่อพื้นที่อาคารรวมทุกชั้นของอาคาร
ทุกหลัง
“สถานที่เก็บสินค้า” หมายความว่า สถานที่เก็บหรือพักสินค้าหรือสิ่งของเพื่อประโยชน์
ทางการค้าหรืออุตสาหกรรมและตู้บรรจุสินค้าหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการขนส่งสินค้าหรือสิ่งของ
ดังกล่าว ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการเก็บสินค้าหรือสิ่งของเพื่อรอการจ�ำหน่าย ณ สถานที่นั้น
“ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ” หมายความว่า สถานที่ที่ตั้งขึ้น
เพื่อให้บริการใช้สถานที่ส�ำหรับจัดการประชุมหรือแสดงสินค้าหรือนิทรรศการเป็นการเฉพาะ
“ตลาด” หมายความว่า ตลาดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข
“ป้าย” หมายความว่าป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นส�ำหรับติดหรือตั้งป้าย
“พื้นที่รับน�้ำ” หมายความว่า สระ บ่อ หรือพื้นที่ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารหรือ
พื้นที่อื่นใดที่ใช้ส�ำหรับ กักเก็บน�้ำฝนไว้เพื่อประโยชน์ในการชะลอการระบายน�้ำเพื่อป้องกัน
ปัญหาน�้ำท่วม
“โรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมการเกษตร” หมายความถึง
โรงงานในล�ำดับที่ ๒ (๑) (๒) (๕) (๖) (๘) (๙) และ (๑๑) ล�ำดับที่ ๔ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕)
(๖) และ (๗) ล�ำดับที่ ๕ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) ล�ำดับที่ ๖ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕)
ล�ำดับที่ ๗ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) ล�ำดับที่ ๘ (๑) และ (๒) ล�ำดับที่ ๙ (๑) (๒) (๓) (๔)
(๕) และ (๖) ล�ำดับที่ ๑๒ (๗) และ (๘) และล�ำดับที่ ๑๓ (๘) ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
5
๓. แผนผังก�ำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินและข้อก�ำหนด
ได้จัดท�ำขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขลักษณะ ความปลอดภัยของประชาชน และสวัสดิภาพ
ของสังคม ให้สอดคล้องเหมาะสมกับศักยภาพของการให้บริการของระบบคมนาคมและขนส่ง
การสาธารณูปโภคและการสาธารณูปการในแต่ละบริเวณ ตลอดจนเพื่อรองรับการพัฒนาของ
เมืองในอนาคตตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม
การใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังก�ำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินจ�ำแนกประเภทไว้ ๑๐ ประเภท	
ดังนี้
๑. ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (สีเหลือง) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท
ย. ๑ ถึง ย. ๔
- ที่ดินประเภท ย. ๑ เพื่อส่งเสริมสภาพแวดล้อมของการอยู่อาศัยบริเวณชานเมือง
- ที่ดินประเภท ย. ๒ เพื่อรองรับการขยายตัว ของการอยู่อาศัยที่มีสภาพแวดล้อมดีใน
บริเวณ ชานเมือง
- ที่ดินประเภท ย. ๓ เพื่อด�ำรงรักษาการอยู่ อาศัยที่มีสภาพแวดล้อมดีในบริเวณชานเมือง
- ที่ดินประเภท ย. ๔ เพื่อด�ำรงรักษาการอยู่อาศัยที่มีสภาพแวดล้อมดีในบริเวณชานเมืองซึ่งอยู่
ในเขตการให้บริการของระบบขนส่งมวลชน
6
๒. ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (สีส้ม) ก�ำหนดให้เป็นที่ดิน
ประเภท ย. ๕ ถึง ย. ๗
- ที่ดินประเภท ย. ๕ เพื่อรองรับการขยายตัว
ของการอยู่อาศัยในบริเวณพื้นที่ต่อเนื่องกับ
เขตเมืองชั้นใน
- ที่ดินประเภท ย. ๖ เพื่อรองรับการอยู่อาศัย
ในบริเวณพื้นที่ต่อเนื่องกับเขตเมืองชั้นในศูนย์
ชุมชนชานเมืองเขตอุตสาหกรรม และนิคม
อุตสาหกรรม
- ที่ดินประเภท ย. ๗ เพื่อรองรับการอยู่อาศัยในบริเวณพื้นที่ต่อเนื่องกับเขตเมืองชั้นในซึ่งอยู่
ในเขตการให้บริการของระบบขนส่งมวลชน
๓. ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (สีน�้ำตาล) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท
ย. ๘ ถึง ย. ๑๐
- ที่ดินประเภท ย. ๘ เพื่อรองรับการอยู่อาศัย
ในบริเวณพื้นที่เขตเมืองชั้นในที่มีการส่งเสริม
และด�ำรงรักษาทัศนียภาพและสภาพแวดล้อม
ทางธรรมชาติ
- ที่ดินประเภท ย. ๙ เพื่อรองรับการอยู่อาศัย
ในบริเวณพื้นที่เขตเมืองชั้นในซึ่งอยู่ในเขตการ
ให้บริการของระบบขนส่งมวลชน
- ที่ดินประเภท ย. ๑๐ เพื่อรองรับการอยู่อาศัย
ในบริเวณพื้นที่เขตเมืองชั้นในที่ต่อเนื่องกับย่านพาณิชยกรรมศูนย์กลางเมือง และเขตการให้
บริการของระบบขนส่งมวลชน
7
๔. ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม (สีแดง) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท พ. ๑ ถึง พ. ๕
	
- ที่ดินประเภท พ. ๑ เพื่อให้ใช้ประโยชน์เป็นศูนย์
พาณิชยกรรมของชุมชนเพื่อกระจายกิจกรรม
การค้าและการบริการที่อ�ำนวยความสะดวก
ต่อการด�ำรงชีวิตประจ�ำวันของประชาชนที่อยู่
อาศัยในบริเวณชานเมือง
- ที่ดินประเภท พ. ๒ เพื่อให้ใช้ประโยชน์เป็นศูนย์
ชุมชนชานเมืองเพื่อส่งเสริมความเป็นศูนย์กลาง
ทางธุรกิจการค้าการบริการและนันทนาการที่จะก่อให้เกิดความสมดุลระหว่างที่อยู่อาศัยและ
แหล่งงานของประชาชนที่อยู่อาศัยบริเวณชานเมือง
- ที่ดินประเภท พ. ๓ เพื่อให้ใช้ประโยชน์เป็นศูนย์พาณิชยกรรมของเมือง เพื่อรองรับการประกอบ
กิจกรรมทางธุรกิจการค้าการบริการ และนันทนาการที่ให้บริการแก่ประชาชนโดยทั่วไป
- ที่ดินประเภท พ. ๔ เพื่อให้ใช้ประโยชน์เป็นศูนย์พาณิชยกรรมรอง เพื่อส่งเสริมความเป็นศูนย์กลาง
ทางธุรกิจการค้าการบริการ และนันทนาการในบริเวณโดยรอบเขตการให้บริการของระบบขนส่ง
มวลชน
-ที่ดินประเภท พ.๕ เพื่อให้ใช้ประโยชน์เป็นศูนย์พาณิชยกรรมหลักเพื่อส่งเสริมความเป็นศูนย์กลาง
ทางธุรกิจการค้าการบริการนันทนาการและการท่องเที่ยวในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
๕. ที่ดินประเภทอุตสาหกรรม (สีม่วง) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท อ. ๑ และ อ. ๒
- ที่ดินประเภท อ. ๑ เพื่อเป็นเขตการบริหาร
และจัดการด้านสิ่งแวดล้อมส�ำหรับการ
ประกอบกิจกรรมประเภทอุตสาหกรรมการ
ผลิตที่มีมลพิษน้อย
- ที่ดินประเภท อ. ๒ เพื่อเป็นเขตการบริหาร
และจัดการด้านสิ่งแวดล้อมส�ำหรับการ
ประกอบกิจกรรมประเภทอุตสาหกรรมการผลิต
8
๖. ที่ดินประเภทคลังสินค้า (สีเม็ดมะปราง) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท อ. ๓
- เพื่อเป็นคลังสินค้าส�ำหรับการขนส่งในระดับภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้
๗. ที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว)	
ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท ก.๑ ถึง ก. ๓
- ที่ดินประเภท ก. ๑ เพื่อการสงวน
รักษาสภาพทางธรรมชาติของพื้นที่
ชนบท และเกษตรกรรมในบริเวณที่
มีข้อจ�ำกัดด้านการระบายน�้ำ และ
มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย
- ที่ดินประเภท ก. ๒ เพื่อการสงวน
รักษาสภาพทางธรรมชาติของพื้นที่
ชนบท และเกษตรกรรม
- ที่ดินประเภท ก. ๓ เพื่อการสงวน
รักษาสภาพทางธรรมชาติของพื้นที่
ชนบท และเกษตรกรรม และการ
ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำเค็ม
และน�้ำกร่อยบริเวณชายฝั่งทะเล
9
๘. ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท	
ก.๔ และ ก. ๕
- ที่ดินประเภท ก. ๔ เพื่อเกษตรกรรมการสงวนรักษา
สภาพทางธรรมชาติ และการส่งเสริมเศรษฐกิจการเกษตร
- ที่ดินประเภท ก. ๕ เพื่อเป็นชุมชนและศูนย์กลางการให้
บริการทางสังคม และการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่
ชนบทและเกษตรกรรม
๙. ที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย (สีน�้ำตาลอ่อน)	
ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท ศ. ๑ และ ศ. ๒
- ที่ดินประเภท ศ. ๑ เพื่อการอนุรักษ์และส่งเสริมเอกลักษณ์
ศิลปวัฒนธรรมของชาติและส่งเสริมกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยว
- ที่ดินประเภท ศ. ๒ เพื่อการอนุรักษ์และส่งเสริมเอกลักษณ์
ศิลปวัฒนธรรมของชาติและส่งเสริมกิจกรรมด้าน
พาณิชยกรรมการบริการและการท่องเที่ยวในเขตอนุรักษ์
ศิลปวัฒนธรรม
๑๐. ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (สีน�้ำเงิน)	
ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท ส.
- เพื่อเป็นสถาบันราชการและการด�ำเนินกิจการของรัฐ
ที่เกี่ยวกับการสาธารณูปโภคสาธารณูปการ หรือ
สาธารณประโยชน์
10
๔. แผนผังแสดงที่โล่งและข้อก�ำหนด
แผนผังแสดงที่โล่ง ประกอบด้วยที่โล่ง ๖ ประเภท ดังนี้
๑. ที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมที่โล่งประเภท ล.๑ ได้แก่
สวนสาธารณะ สนามกีฬา ศูนย์เยาวชน
สนามกอล์ฟ และอื่นๆ ในกรณีที่เอกชนเป็น
เจ้าของหรือครอบครอง นอกเหนือจากการใช้
ประโยชน์เพื่อนันทนาการแล้ว สามารถ
ใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังก�ำหนดการ
ใช้ประโยชน์ที่ดินได้ โดยให้ค�ำนึงถึงการรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมของที่โล่งด้วย
๒.ที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
บริเวณริมถนน ที่โล่งประเภท ล.๒ ได้แก่ ที่ดิน
ซึ่งตั้งริมถนนสาธารณะตามที่ก�ำหนดในผัง ให้มีที่
ว่างระยะไม่น้อยกว่า ๒ เมตร เพื่อปลูกต้นไม้
๓. ที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณริมแม่น�้ำและล�ำคลอง ที่โล่งประเภท
ล.๓ ได้แก่ ที่ดินซึ่งตั้งอยู่ริมแหล่งน�้ำ
สาธารณะตามที่ก�ำหนดในผัง ให้มี
ที่ว่างระยะไม่น้อยกว่า ๓ เมตร ส�ำหรับ
แหล่งน�้ำที่มีความกว้างน้อยกว่า ๑๐ เมตร
และให้มีที่ว่างระยะไม่น้อยกว่า ๖ เมตร
ส�ำหรับแหล่งน�้ำที่มีความกว้างมากกว่า
๑๐ เมตร เพื่อปลูกต้นไม้
11
๔. ที่โล่งเพื่อการสงวนรักษาสภาพการระบายน�้ำตามธรรมชาติ ที่โล่งประเภท ล. ๔
ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการสงวน
รักษาสภาพการระบายน�้ำตาม
ธรรมชาติหรือตามข้อก�ำหนดการ
ใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จ�ำแนก
ประเภทไว้ในบริเวณนั้นโดย
ต้องไม่มีการถมดินก่อสร้างหรือ
ด�ำเนินการใดๆ ในที่ดินอันเป็นการลด
ประสิทธิภาพของการระบายน�้ำตาม
ธรรมชาติ
๕. ที่โล่งเพื่อการป้องกันน�้ำท่วม
ที่โล่งประเภท ล. ๕ ให้ใช้ประโยชน์เพื่อ
การป้องกันน�้ำท่วมการสาธารณูปโภคที่
เกี่ยวกับการป้องกันน�้ำท่วมสวนสาธารณะ
หรือตามข้อก�ำหนดการใช้ประโยชน์
ที่ดินตามที่ได้จ�ำแนกประเภทไว้ใน
บริเวณนั้นโดยต้องไม่มีการถมดินเกินกว่า
ร้อยละสามสิบห้าของที่ดินประเภทนี้
ในแต่ละบริเวณ
๖. ที่โล่งเพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟู
สภาพแวดล้อมชายฝั่งทะเล ที่โล่งประเภท
ล. ๖ ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการอนุรักษ์และ
ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมชายฝั่งทะเล หรือ
เพื่อวัตถุประสงค์อื่นตามข้อก�ำหนดการใช้
ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จ�ำแนกประเภท
ไว้ในบริเวณนั้นโดยต้องไม่กระท�ำการใดๆ
ที่มีผลกระทบต่อการอนุรักษ์สภาพแวดล้อม
ชายฝั่งทะเล
12
๕. แผนผังโครงการคมนาคมและขนส่งและข้อก�ำหนด
แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งจัดท�ำขึ้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาระบบ
โครงข่ายคมนาคมและขนส่งให้มีประสิทธิภาพสามารถรองรับและสอดคล้องกับการขยายตัว
ของชุมชนในอนาคต
โครงการคมนาคมและขนส่งตามแผนผังฯ มี ดังนี้
(๑) ถนนสาย ก ขนาดเขตทาง ๑๒ เมตร ๑๙ สาย
(๒) ถนนสาย ข ขนาดเขตทาง ๑๖ เมตร ๘๓ สาย
(๓) ถนนสาย ค ขนาดเขตทาง ๒๐ เมตร ๓ สาย
(๔) ถนนสาย ง ขนาดเขตทาง ๓๐ เมตร ๒๑ สาย
(๕) ถนนสาย จ ขนาดเขตทาง ๔๐ เมตร ๗ สาย
(๖) ถนนสาย ฉ ขนาดเขตทาง ๕๐ เมตร ๑ สาย
(๗) ถนนสาย ช ขนาดเขตทาง ๖๐ เมตร ๒ สาย
การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่เขตทางของถนนโครงการตามแผนผังแสดงโครงการ
คมนาคมและขนส่งและของโครงการทางพิเศษให้ใช้ประโยชน์เพื่อการคมนาคมขนส่งและ
สาธารณประโยชน์เท่านั้น
13
๖. แผนผังโครงการกิจการสาธารณูปโภค
แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค ประกอบด้วย โครงการกิจการสาธารณูปโภค
๓ ประเภท ดังนี้
๑. โครงการคลองระบายน�้ำและป้องกันน�้ำท่วม สภ. ๑ เป็นโครงการปรับปรุงและ
ขุดคลองเพื่อการระบายน�้ำ ประกอบด้วย
-โครงการกิจการสาธารณูปโภคประเภทสภ.๑-๑
ก�ำหนดไว้เป็นเส้นสีฟ้าเข้มให้เป็นโครงการ
ปรับปรุงคลองเพื่อการระบายน�้ำและป้องกัน
น�้ำท่วม
-โครงการกิจการสาธารณูปโภคประเภทสภ.๑-๒
ก�ำหนดไว้เป็นเส้นประขีดสีฟ้าเข้มให้เป็น
โครงการขยายคลองเพื่อการระบายน�้ำและ
ป้องกันน�้ำท่วม
- โครงการกิจการสาธารณูปโภคประเภท สภ. ๑-๓ ก�ำหนดไว้เป็นเส้นประสีฟ้าเข้มให้เป็น
โครงการขุดคลองเพื่อการระบายน�้ำและป้องกันน�้ำท่วม มีความกว้าง ๒๐ เมตร
๒. โครงการกิจการสาธารณูปโภค
ประเภท สภ. ๒ และโครงการเพื่อ
การระบายน�้ำและป้องกันน�้ำท่วม
โดยอุโมงค์เพื่อระบายน�้ำจากบริเวณ
พื้นที่ ซึ่งมีปัญหาในการระบายน�้ำ
เพื่อลงสู่แม่น�้ำเจ้าพระยา
14
๓. โครงการกิจการสาธารณูปโภค
ประเภท สภ. ๓ เป็นโครงการโรงบ�ำบัดน�้ำเสีย
หรือโครงการโรงควบคุมคุณภาพน�้ำเพื่อ
ประโยชน์ในการบ�ำบัดน�้ำเสียหรือควบคุม
คุณภาพน�้ำ
			 * สภ โครงการโรงบ�ำบัดน�้ำ ๓.๓.
๗. มาตรการและวิธีการ
กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖ ก�ำหนด
มาตรการส่งเสริมและควบคุม หลายประการคือ
๑. มาตรการควบคุมความหนาแน่นการใช้ที่ดิน ในรูปของ FAR และ OSR
๒. การก�ำหนดความสูงของอาคาร
๓. การก�ำหนดที่ว่างโดยรอบอาคาร
๔. การก�ำหนดขนาดพื้นที่ประกอบการของกิจการบางประเภท
๕. การก�ำหนดของแปลงที่ดิน
๖. การก�ำหนดให้มีการแจ้งใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นหน่วยงานอนุญาต
๗. การก�ำหนดสิทธิพิเศษเพื่อเป็นมาตรการจูงใจ
๗.๑ การสร้างที่อยู่อาศัยส�ำหรับผู้มีรายได้น้อย
การสนับสนุนให้มีการสร้างที่อยู่อาศัยส�ำหรับผู้มีรายได้น้อย โดยโครงการที่
อยู่อาศัยที่จัดให้มีที่อยู่อาศัยส�ำหรับผู้มีรายได้น้อยหรือผู้อยู่อาศัยเดิมในพื้นที่โครงการ จะได้
รับสิทธิ์ให้มีอัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR) เพิ่มขึ้น โดยพื้นที่อาคารส่วนเพิ่ม
ต้องไม่เกิน ๔ เท่าของพื้นที่ที่อยู่อาศัยส�ำหรับผู้มีรายได้น้อยทั้งนี้อัตราส่วนของพื้นที่อาคาร
รวมต่อพื้นที่ดินจะเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ ๒๐
15
กรณีการจัดให้มีที่อยู่อาศัยส�ำหรับผู้อยู่อาศัยเดิมในพื้นที่โครงการ
๒๐
๔
๕
๕
๕
๕
๕
๕
๕
กรณีจัดให้มีที่อยู่อาศัยส�ำหรับผู้มีรายได้น้อยทั่วไป
๒๐
๔
16
๗.๒ การจัดให้มีพื้นที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะ
การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อส่งเสริมพื้นที่โล่งสาธารณะภายในเมือง เพื่อประโยชน์
สาธารณะหรือสวนสาธารณะจะได้รับสิทธิ์ให้มีอัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน
(FAR) เพิ่มขึ้น โดยพื้นที่อาคารส่วนเพิ่มต้องไม่เกิน ๕ เท่าของพื้นที่โล่เพื่อประโยชน์สาธารณะ
หรือสวนสาธารณะทั้งนี้อัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินจะเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ ๒๐
๒๐
๕
๗.๓ การจัดพื้นที่จอดรถยนต์ส�ำหรับประชาชนทั่วไปในอาคารสาธารณะ
ในการจัดพื้นที่จอดรถยนต์ส�ำหรับประชาชนทั่วไปในอาคารสาธารณะเพิ่มขึ้น
จากที่กฎหมายควบคุมอาคารก�ำหนด ส�ำหรับอาคารที่ตั้งอยู่ในรัศมี ๕๐๐ เมตร โดยรอบสถานี
รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย สถานีอ่อนนุช สถานีลาดกระบัง
สถานีหัวหมาก สถานีบางบ�ำหรุ สถานีตลิ่งชัน สถานีอุดมสุข และสถานีแบริ่ง
หากเจ้าของที่ดินหรือผู้ประกอบการได้จัดให้มีที่จอดรถยนต์ส�ำหรับประชาชน
เป็นการทั่วไป เพิ่มขึ้นจากจ�ำนวนที่กฎหมายควบคุมอาคารก�ำหนดให้อัตราส่วนพื้นที่อาคาร
รวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มขึ้นได้ไม่เกินร้อยละ ๒๐ โดยพื้นที่อาคารรวมเพิ่มขึ้นต้องไม่เกิน ๓๐ ตารางเมตร
ต่อที่จอดรถยนต์เพิ่มขึ้น ๑ คัน
17
๓๐
๒๐
๑
๗.๔ การจัดให้มีพื้นที่รับน�้ำ
การส่งเสริมให้เกิดพื้นที่รองรับน�้ำตามธรรมชาติ โดยโครงการที่จัดให้มีพื้นที่
รับน�้ำในแปลงที่ดินที่ขออนุญาตจะได้รับสิทธิ์ให้มีอัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน
(FAR) เพิ่มขึ้นอย่างเป็นสัดส่วน หากสามารถกักเก็บน�้ำได้ในสัดส่วนไม่น้อยกว่า ๑ ลบ.ม. ต่อ
พื้นที่ดิน ๕๐ ตร.ม. ให้มี FAR Bonus ได้ไม่เกินร้อยละ ๕ หากสามารถกักเก็บน�้ำได้มากกว่า
๑ ลบ.ม. ให้มี FAR Bonus ตามสัดส่วน แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน ร้อยละ ๒๐
18
๒๐
๕๐
๔
๑
๗.๕ การก่อสร้างอาคารประหยัดพลังงาน
การให้อาคารที่เป็นอาคารอนุรักษ์พลังงานตามมาตราที่มูลนิธิอาคารเขียวไทย
รับรอง และมีเปลือกอาคาร (หลังคาและผนังอาคาร) ที่อยู่ในเกณฑ์ มาตราฐานที่ก�ำหนดไว้
ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน จะได้รับสิทธิ์ให้มีอัตราส่วนของพื้นที่
อาคารรวมต่อพื้นดิน ( FAR) เพิ่มขึ้น ดังนี้
๑. อัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มไม่เกินร้อยละ ๕ เมื่อเป็นอาคาร
ที่ได้รับการรับรองการอนุรักษ์พลังงานระดับที่ ๑ (certified)
๒. อัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มไม่เกินร้อยละ ๑๐ เมื่อเป็นอาคาร
ที่ได้รับการรับรองการอนุรักษ์พลังงานระดับที่ ๒ (Silver)
๓. อัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มไม่เกินร้อยละ ๑๕ เมื่อเป็นอาคาร
ที่ได้รับการรับรอองการอนุรักษ์พลังงานระดับที่ ๓ (Gold)
๔. อัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มไม่เกินร้อยละ ๒๐ เมื่อเป็นอาคาร
ที่ได้รับการรับรองการอนุรักษ์พลังงานระดับที่ ๔ (Platinum)
19
บทที่ ๓ การปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับ
	   ผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร
กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครเป็นกฎหมายที่ควบคุมเกี่ยวกับ
การใช้ประโยชน์ในที่ดิน การปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎกระทรวง ต้องพิจารณาจากองค์ประกอบหลัก
ที่ส�ำคัญ
๑. แผนผังก�ำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน
เป็นแผนผังที่ระบุประเภทของการใช้ประโยชน์ที่ดินว่าเป็นที่ดินประเภทใด โดยใช้
สีเป็นสัญลักษณ์แสดงการใช้ที่ดิน
ที่ดินแต่ละประเภท จะแบ่งออกเป็นบริเวณๆ มีตัวอักษรและตัวเลขก�ำกับโดย
ตัวอักษรและตัวเลขตัวแรก หมายถึง ที่ดินประเภทต่างๆ ตัวเลขที่หมายถึงล�ำดับของบริเวณ
เช่น ที่ดินประเภท ย.๓-๑๗ หมายถึง การใช้ที่ดินประเภท ย.๓ แสดงบริเวณที่ดิน
หมายเลข ๑๗ แสดงล�ำดับของบริเวณ
๒. ข้อก�ำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน
เป็นข้อความที่อธิบายถึงที่ดินแต่ละประเภทว่าให้ใช้ประโยชน์หรือห้ามการใช้
ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการประเภทใดบ้างซึ่งสามารถจ�ำแนกกิจกรรมการใช้ประโยชน์
ที่ดินในผังเมืองรวมมี ๓ ลักษณะ
20
๑. กิจกรรมที่อนุญาต หมายถึง กิจกรรมที่มีความเหมาะสมกับศักยภาพในย่านนั้นๆ
โดยมีทั้งกิจกรรมหลัก (Principle Use) และกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่อง ( Accessory Use) เช่น
ในย่านที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย กิจกรรมหลัก ได้แก่ บ้านเดี่ยว หรือการอยู่อาศัยที่ไม่หนาแน่น
ส่วนกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องได้แก่ ร้านค้า โรงเรียน สถานพยาบาล เป็นต้น
๒. กิจกรรมที่ไม่อนุญาต หมายถึง กิจกรรมที่มีผลต่อสภาพแวดล้อม สร้างความ
เดือดร้อน ร�ำคาญ และความไม่ปลอดภัยต่อชุมชน เช่น โรงงานที่ก่อให้เกิดมลพิษหรืออาคาร
ที่มีขนาดใหญ่ เป็นต้น
๓. กิจกรรมที่อนุญาตโดยมีเงื่อนไข หมายถึง กิจกรรมที่อาจส่งผลกระทบต่อสภาพ
แวดล้อมชุมชนหรือความสามารถในการให้บริการของสาธารณูปโภคหากที่ตั้งไม่เหมาะ จึงมี
การก�ำหนดเงื่อนไขของท�ำเลที่ตั้ง เช่น
๓.๑ กรณีตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะหรืออาคารหรืออาคารขนาดใหญ่ผังเมืองการสร้าง
อาคารขนาดใหญ่ จะต้องตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีความกว้างเพียงพอ มีความกว้างเขตทาง
ถนนเข้า –ออก และมีระยะห่างจากเขตทางตามเงื่อนไข ดังนี้
ความกว้าง
เขตทางถนน
สาธารณะ
หน้ากว้าง
แปลงที่ดินขั้นต�่ำ
(เมตร)
ระยะห่างจาก
เขตทางถนน
สาธารณะของ
แปลงที่ดินตาม
เงื่อนไข (เมตร)
ความกว้าง
เขตทางถนน
สาธารณะด้าน
ที่ ๑ (เมตร)
ความกว้าง
เขตทางถนน
สาธารณะด้าน
ที่ ๒ (เมตร)
ไม่น้อยกว่า ๑๐ ๑๒ ๒๐๐ ๑๐ ๘
ไม่น้อยกว่า ๑๒ ๑๒ ๒๐๐ ๑๒ ๘
ไม่น้อยกว่า ๑๖ ๑๖ ๓๐๐ ๑๖ ๑๒
ไม่น้อยกว่า ๓๐ ๓๐ ๕๐๐ ๓๐ ๑๖
21
	
๒๐๐ ม.
๑๐ ม.
๑๐
๑๒ ม.
๑๐ ม.
๑
๘ ม.
๒
กรณี ถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า ๑๐ เมตร
๒๐๐ ม.
๑๒ ม. ๑๒
๑๒ ม.
๑๒ ม.
๑
๘ ม.
๒
กรณี ถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า ๑๒ เมตร
22
๓๐๐ ม.
๑๖ ม. ๑๖
๑๖ ม.
๑๖ ม.
๑
๑๒ ม.
๒
กรณี ถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า ๑๖ เมตร
๕๐๐ ม.
๓๐ ม. ๓๐
๓๐ ม.
๓๐ ม.
๑
๑๖ ม.
๒
กรณี ถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า ๓๐ เมตร
23
การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ตั้งอยู่ภายในระยะ ๕๐๐ เมตร โดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่ง
มวลชนให้วัดระยะจากแนวเขตชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน
๕๐๐ เมตร
วิธีปฏิบัติก่อนการขอใช้ประโยชน์ที่ดิน
ผู้ที่ประสงค์จะขออนุญาตก่อสร้างอาคารหรือประกอบกิจการใดในเขตผังเมืองรวม
กรุงเทพมหานครต้องด�ำเนินการดังนี้
ขั้นตอนที่ ๑ การตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน (ด้วยตนเอง) โดยสามารถเข้าไปตรวจสอบการใช้
ประโยชน์ที่ดินตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ผ่านระบบน�ำโฉนดที่ดินแสดงผลข้อมูลภูมิ
สารสนเทศบนระบบเครือข่ายได้ ๒ ทาง
Website	: http //3d-cpd.bangkok.go.th
	 : http//3d-cpd.bma.go.th
24
การตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน (โดยขอเป็นหนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ที่ดิน)
- ตรวจสอบสถานที่ตั้งของที่ดิน ว่าอยู่ที่ดินประเภทใด
- ตรวจสอบประเภทกิจการการใช้ที่ดินว่าเป็นกิจการที่อนุญาตให้ด�ำเนินการได้หรือ
	 กิจการที่ต้องห้าม
- ตรวจสอบแนวถนนโครงการ ว่าอยู่ในบริเวณที่มีแนวถนนโครงการหรือไม่
เอกสารประกอบการตรวจสอบ
- หนังสือแจ้งความประสงค์ขอตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน
- แผนที่สังเขปแสดงที่ตั้งของที่ดิน
- ส�ำเนาโฉนดที่ดิน (กรณีการจัดสรรที่ดินต้องแนบส�ำเนา โฉนดที่ดินทุกฉบับพร้อม
	 แผนที่รูปต่อโฉนดแปลงที่ดินที่จะท�ำการจัดสรร)
- ส�ำเนาบัตรประชาชนของผู้ยื่นขอตรวจสอบหรือหนังสือมอบอ�ำนาจ (กรณีเป็น
	 นิติบุคคล)
- ส�ำเนาใบอนุญาตประกอบกิจการที่ออกให้โดยหน่วยงานราชการ (กรณีที่ดินแปลง
	 นั้นมีการประกอบกิจการประเภทอื่นอยู่ก่อนแล้ว)
- ส�ำเนาใบอนุญาตก่อสร้างอาคารที่ออกให้โดยหน่วยงานราชการ (กรณีแปลงที่ดิน
	 นั้นมีการก่อสร้างอาคารอยู่ก่อนแล้ว
โดยขอตรวจสอบได้ที่
- ส�ำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร เลขที่ ๔๔ ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง
	 เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๕๔ ๑๒๘๕ - ๙๒ และ
	 ๐ ๒๓๕๔ ๑๒๗๔ - ๗๗
- ส�ำนักงานเขตที่ตั้งของที่ดิน
- กองควบคุมอาคาร ส�ำนักการโยธา โทรศัพท์ ๐ ๒๒๔๖ ๐๐๗๖, ๐ ๒๒๔๖ ๐๓๓๒,
	 ๐ ๒๒๔๗ ๐๑๐๕ และ ๐ ๒๒๖๔ ๖๐๓๐ ๑ – ๒
25
ขั้นตอนที่ ๒ การแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ผู้ที่ประสงค์จะใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการก่อสร้างอาคารหรือประกอบกิจการ ที่ต้อง
ขออนุญาตหรือแจ้งพนักงานตามกฎหมาย ต้องแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือการเปลี่ยนแปลง
การใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นด้วยโดยให้แจ้งพร้อมกับการยื่นขออนุญาต
ก่อสร้างอาคารหรือการยื่นขอขอประกอบกิจการ
โดยยื่นแจ้งได้ที่
- กองควบคุมอาคาร ส�ำนักการโยธา
- ส�ำนักงานเขตที่ยื่นอนุญาต
บทที่ ๔ การร้องทุกข์
กรณีได้รับความเดือดร้อน หรือเหตร�ำคาญจากการใช้ประโยชน์ที่ดินใยเขตที่ดินบริเวณ
ใกล้เคียงที่มีการใช้ที่ดินผิดประเภทหรือมีการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
สุขลักษณะ ความปลอดภัย สวัสดิภาพของสังคม และสภาพแวดล้อมของเมือง สามารถร้องทุกข์
ต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นให้ด�ำเนินการแก้ไข หรือระงับการใช้ประโยชน์ที่ดินเช่นนั้นต่อไปได้
โดยจัดท�ำเป็นหนังสือพร้อมเอกสารประกอบ เช่นรูปถ่าย แผนที่ ฯลฯ และน�ำไปยื่นแจ้งได้ที่
- ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร
- ส�ำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร
- ส�ำนักงานเขตทุกเขต
	 - ศูนย์รับแจ้งเรื่องขอร้องทุกข์ กรุงเทพมหานคร 1555
26
ตรวจสอบผังเมืองสักนิด ก่อนคิดท�ำอะไร?
7. ขั้นตอนก่อน
การขอใช้ประโยชน์ที่ดิน
1. ก�ำหนดเป้าหมาย
การใช้ประโยชน์ที่ดิน
2. ตรวจสอบ
ที่ตั้งแปลง
ที่ดิน
3. ตรวจสอบ
ข้อก�ำหนด
การใช้ที่ดิน
(ให้ / ห้าม)
4. ตรวจสอบ
กฎหมายอื่น
เกี่ยวข้อง
5. ตรวจสอบ
เงื่อนไขพิเศษ
เฉพาะพื้นที่
6. กรณีไม่แน่ใจ
ขอตรวจสอบ
จากหน่วยงาน
7. ยื่นแจ้งการใช้
ประโยชน์ที่ดิน
พร้อมขออนุญาต
ก่อสร้างอาคารหรือ
ประกอบกิจการ

More Related Content

Featured

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
SpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Lily Ray
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
Rajiv Jayarajah, MAppComm, ACC
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
Christy Abraham Joy
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
Vit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
MindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
GetSmarter
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
Project for Public Spaces & National Center for Biking and Walking
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
DevGAMM Conference
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
Erica Santiago
 

Featured (20)

PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 
Barbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy PresentationBarbie - Brand Strategy Presentation
Barbie - Brand Strategy Presentation
 

Bangkok masterplan

  • 1. 1 บทที่ ๑ มารู้จักกฎหมายผังเมืองกันก่อน ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร แนวเขตผังเมืองรวม เขตจังหวัด เขตอําเภอ เขตของเขต เขตของแขวง ทางหลวง ถนน ถนนโครงการ โครงการรถไฟฟาขนสงมวลชน แนวทางรถไฟฟาขนสงมวลชน โครงการรถไฟฟาขนสงมวลชนขนาดรอง แนวทางรถไฟฟาขนสงมวลชนขนาดรอง ทางรถไฟ แมนํ้า คลอง แนวคันปองกันนํ้าทวม No Window ฉบับที่ .๔๑๔ ( พ.ศ. ๒๕๔๒ ) ออกตามความในพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑๐ ๐ ๑ กิโลเมตร ๕๕ ' ๕๐ ' ๔๕ ' ๔๐ ' ๓๕ ' ๓๐ ' ๒๕ ' ๑๐๐ ํ ๒๐ ' E ๑๐๐ ํ ๒๐ ' E ๒๕ ' ๓๐ ' ๓๕ ' ๔๐ ' ๕๐ ' ๕๕ ' ๕๐ ' ๔๕ ' ๔๐ ' ๓๕ ' ๑๓ ํ๓๐ ' N ๑๓ ํ๓๐' N ๓๕ ' ๕๐ ' ๔๐ ' ๔๕ ' ๕๕ ' ๕๕ ' ๔๕ ' No Window เครื่องหมาย ๑. เขตสีเหลือง ๒. เขตสีสม ๓. เขตสีนํ้าตาล ๔. เขตสีแดง ๕. เขตสีมวง ๖. เขตสีเม็ดมะปราง ๗. เขตสีมวงออน ๘. เขตสีเขียว ๙. เขตสีเขียวมะกอก ๑๐. เขตสีขาวมีกรอบ และเสนทแยงสีเขียว ๑๑. เขตสีนํ้าตาลออน ๑๒. เขตสีเทาออน ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม ที่ดินประเภทคลังสินคา ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม ที่ดินประเภทสถาบันการศึกษา ศิลปวัฒนธรรมไทย ที่ดินประเภทสถาบันศาสนา ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ ๑๓. เขตสีนํ้าเงิน ๘.๔ ๘.๗ ๘.๒ ๑.๑๙ ๓.๑ ๑.๒๘ ๒.๖ ๑.๒๙ ๑๓.๗ ๑.๒๑ ๘.๕ ๑.๒๗ ๑๐.๒ ๑๐.๑ ๘.๓ ๑๐.๔ ๑๓.๑๒ ๑๐.๓ ๘.๙ ๘.๑๕ ๘.๑๑ ๘.๑๓ ๘.๖ ๘.๘ ๑.๓๘ ๕.๕ ๑.๕๑ ๑.๖๔ ๑.๕๖ ๑๓.๓๕ ๒.๔๑ ๓.๓๗ ๑.๖๓ ๖.๑ ๙.๒๗ ๑๐.๕ ๑๐.๖ ๕.๔ ๑๓.๑๑ ๑.๓๓ ๒.๑๘ ๔.๘ ๑.๔๓ ๒.๑๖ ๒.๑๕ ๑.๓๗ ๑.๒๒ ๑.๑๑ ๑.๑๖ ๑.๗ ๑.๔๘ ๔.๗ ๑๓.๑๐ ๑.๓๕ ๑.๔๙ ๑.๑๗ ๒.๕ ๑.๓๐ ๒.๓๖ ๑.๕๓ ๑.๔๔ ๑.๖๕ ๑.๖๒ ๑.๕๗ ๑.๔๐ ๒.๑๗ ๗.๒ ๕.๓ ๑.๔๗ ๑๓.๔๐ ๑.๖๙ ๗.๓ ๙.๓๓ ๑.๒๕ ๑.๓๖ ๑.๕๕ ๔.๕ ๑.๒๖ ๒.๑๑ ๒.๒๕ ๒.๑๔ ๑.๓๔ ๑.๓๒ ๒.๒๗ ๑.๒๓ ๑.๓๑ ๒.๒๒ ๑.๖ ๒.๓ ๗.๑ ๑.๒๔ ๑.๓ ๑.๕ ๑๓.๓ ๑.๙ ๑.๑๔ ๑.๒ ๘.๑ ๕.๑ ๑.๑๕ ๑๓.๑ ๑.๔ ๒.๑ ๒.๒ ๔.๒ ๒.๔ ๑๒.๑ ๙.๑ ๑.๒๐ ๔.๑ ๑.๔๑ ๔.๑๙ ๑๓.๒๒ ๙.๑๔ ๙.๑๕ ๑.๕๙ ๒.๒๙ ๑.๓๙ ๑.๕๘ ๙.๒๔ ๒.๓๔ ๔.๒๔ ๔.๓๓ ๒.๓๓ ๑.๔๒ ๒.๓๐ ๒.๒๓ ๒.๒๑ ๔.๑๒ ๒.๓๘ ๒.๓๑ ๒.๓๕ ๑.๖๘ ๑.๖๑ ๑.๗๖ ๑.๘๒ ๒.๖๓ ๔.๖๐ ๑.๗๐ ๑.๗๑ ๑.๗๕ ๑.๗๗ ๑.๘๓ ๒.๖๔ ๒.๕๘ ๔.๕๙ ๒.๕๔ ๒.๔๔ ๑.๖๐ ๔.๕๑ ๒.๓๙ ๒.๕๙ ๑๓.๔๖ ๕.๗ ๔.๔๖ ๔.๕๒ ๒.๕๐ ๒.๕๒ ๒.๕๕ ๙.๒๕ ๓.๒๘ ๒.๓๒ ๑๓.๔๓ ๒.๔๓ ๓.๓๕ ๓.๑๘ ๒.๒๘ ๑๓.๓๓ ๒.๗ ๓.๙ ๒.๑๙ ๑๓.๓๐ ๓.๑๙ ๙.๑๘ ๓.๒๖ ๑๓.๑๔ ๓.๗ ๙.๑๑ ๑๓.๒๔ ๙.๑๖ ๑๓.๑๖ ๓.๑๓ ๙.๒๒ ๓.๒๕ ๑.๑๓ ๑๓.๒ ๑.๑๐ ๑.๑๒ ๑๓.๔ ๙.๒ ๑.๑ ๒.๑๓ ๑๓.๘ ๙.๓ ๔.๖ ๒.๘ ๔.๓ ๙.๘ ๙.๕ ๔.๙ ๑๓.๑๓ ๙.๔ ๑.๘ ๑๓.๕ ๑๓.๖ ๒.๙ ๑.๑๘ ๒.๑๐ ๔.๔ ๓.๔ ๒.๑๒ ๑๓.๙ ๓.๒ ๙.๖ ๕.๒ ๙.๗ ๑๓.๓๙ ๔.๔๓ ๔.๓๒ ๔.๓๕ ๕.๖ ๓.๔๓ ๓.๓๐ ๓.๓๑ ๑๓.๓๗ ๙.๒๘ ๓.๒๗ ๑๓.๔๑ ๒.๔๗ ๔.๕๕ ๙.๒๙ ๓.๓๘ ๑๓.๓๔ ๔.๓๑ ๙.๓๐ ๔.๔๗ ๔.๔๒ ๔.๓๙ ๑๓.๓๖ ๔.๓๐ ๔.๕๖ ๔.๕๔ ๓.๔๗ ๙.๒๖ ๔.๓๗ ๔.๓๘ ๔.๒๙ ๔.๓๖ ๑๒.๕ ๓.๔๐ ๓.๕ ๔.๑๐ ๓.๑๑ ๔.๑๓ ๑๓.๑๘ ๓.๑๒ ๔.๒๒ ๔.๒๑ ๔.๑๑ ๑๓.๒๕ ๓.๒๐ ๙.๑๙ ๑๐.๒๓ ๔.๒๖ ๑๓.๒๑ ๑๓.๑๗ ๑๓.๒๐ ๔.๑๗ ๑๓.๒๓ ๙.๑๗ ๙.๙ ๙.๑๐ ๑๒.๒ ๙.๒๑ ๑๓.๒๙ ๓.๓ ๓.๘ ๙.๑๒ ๓.๑๐ ๔.๒๗ ๓.๒๓ ๑๒.๓ ๙.๒๐ ๔.๑๔ ๔.๒๕ ๑๓.๒๘ ๑๓.๒๗ ๓.๑๖ ๓.๒๔ ๑๓.๑๕ ๑๓.๑๙ ๙.๑๓ ๒.๒๐ ๓.๖ ๑๓.๓๒ ๑๒.๔ ๔.๓๔ ๓.๔๘ ๒.๖๑ ๖.๓ ๓.๔๑ ๓.๔๕ ๑๓.๓๘ ๓.๓๔ ๔.๔๑ ๒.๖๕ ๓.๕๐ ๗.๕ ๔.๔๕ ๑๑.๙ ๑๑.๑๐ ๔.๔๐ ๓.๓๓ ๖.๒ ๓.๔๒ ๔.๕๘ ๔.๔๔ ๓.๔๙ ๓.๒๙ ๑๑.๘ ๔.๕๓ ๗.๔ ๔.๕๗ ๔.๔๘ ๑๑.๒ ๔.๒๓ ๑๓.๒๖ ๓.๒๑ ๔.๑๖ ๑๑.๕ ๑๑.๔ ๑๑.๗ ๓.๑๕ ๑๑.๑ ๔.๑๘ ๓.๑๔ ๑๑.๓ ๔.๒๐ ๑๓.๓๑ ๓.๒๒ ๔.๒๘ ๑๑.๖ ๒.๒๔ ๒.๒๖ ๑.๕๒ ๔.๑๕ ๓.๑๗ ๑.๕๔ ๑.๔๖ ๑.๕๐ ๓.๓๙ ๒.๖๗ ๒.๕๖ ๓.๔๖ ๒.๔๘ ๒.๔๙ ๓.๔๔ ๓.๓๖ ๒.๓๗ ๓.๓๒ ๑.๘๑ ๒.๖๒ ๑๓.๔๕ ๑.๗๔ ๙.๓๒ ๒.๖๙ ๑.๘๖ ๑.๘๗ ๑.๘๕ ๙.๓๔ ๘.๒๓ ๑.๘๔ ๗.๗ ๘.๒๒ ๘.๒๐ ๔.๖๒ ๒.๖๘ ๘.๒๖ ๘.๒๕ ๘.๒๔ ๘.๒๑ ๕.๘ ๘.๑๘ ๒.๔๒ ๒.๔๐ ๒.๕๑ ๑๐.๑๐ ๑.๔๕ ๔.๕๐ ๑๐.๘ ๑๐.๑๒ ๔.๔๙ ๑๐.๗ ๑๐.๙ ๑๐.๑๓ ๑๐.๑๑ ๘.๑๒ ๘.๑๔ ๒.๔๖ ๑.๖๗ ๘.๑๐ ๒.๖๐ ๗.๖ ๔.๖๑ ๒.๖๖ ๑.๗๘ ๒.๕๗ ๑.๘๐ ๑.๗๙ ๒.๕๓ ๑.๗๒ ๘.๑๖ ๙.๓๑ ๑๒.๖ ๒.๔๕ ๑๓.๔๔ ๑.๗๓ ๑.๖๖ ๑๓.๔๒ ๘.๑๗ ๘.๑๙ เขตมีนบุรี เขตหนองจอก เขตลาดกระบัง เขตประเวศ เขตคันนายาว เขตสะพานสูง เขตคลองสามวา เขตสวนหลวง เขตบึงกุม เขตบางกะป เขตพระโขนง เขตบางนา เขตวังทองหลาง เขตดอนเมือง เขตบางซื่อ เขตบางเขน เขตลาดพราว เขตจตุจักร เขตหลักสี่ เขตสายไหม เขตพญาไท เขตดินแดง เขตหวยขวาง เขตคลองเตย เขตวัฒนา เขตพระนคร เขตสัมพันธวงศ เขตปอมปราบศัตรูพาย เขตราชเทวี เขตดุสิต เขตปทุมวัน เขตบางพลัด เขตบางรัก เขตคลองสาน เขตสาทร เขตยานนาวา เขตราษฎรบูรณะ เขตบางคอแหลม เขตภาษีเจริญ เขตจอมทอง เขตบางกอกใหญ เขตธนบุรี เขตบางขุนเทียน เขตหนองแขม เขตบางบอน เขตบางแค เขตทุงครุ เขตทวีวัฒนา เขตบางกอกนอย เขตตลิ่งชัน ตะวันออก ใต เหนือ ตะวันตก สวนหนองจอก บึงสะแกงาม บึงมะขามเทศ สนามกอลฟสโมสรกรุงเทพกรีฑา สนามกอลฟยูนิโก สวนพระนคร สวนภูเขาออนนุช สนามกอลฟเนเจอรัลปารค สนามกอลฟชานนทกอลฟวิว แอนด สปอรตคลับ สนามกอลฟปญญา สนามกอลฟนวธานี สวนนํ้าบึงกุม บึงลําไผ บึงกระเทียม สวนหลวง ร.9 สนามกีฬาหัวหมาก สวนเบญจสิริ สนามกีฬาภูติอนันต บึงหนองบอน สวนภูเขารามอินทรา สนามกอลฟทหารบก คายลูกเสือกรุงเทพมหานคร บึงหมูบานเมืองทอง สนามกีฬาการเคหะแหงชาติ และสวนพักผอนการเคหะแหงชาติ ที่โลงดานหนากรมทหารราบที่ 11 รักษาพระองค ที่โลงดานหนากองพันทหารมามหาดเล็ก และกองพันทหารราบที่ 1 ศูนยเยาวชนกรุงเทพมหานคร(ไทย-ญี่ปน) สวนเบญจกิติ บึงโรงงานยาสูบ สนามกอลฟการรถไฟแหงประเทศไทย สวนจตุจักร และสวนสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ฯ สนามกีฬากองทัพบก ที่โลงดานหนาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สนามมาราชกรีฑาสโมสร สวนลุมพินี ที่โลงดานหนากองพันทหารมา สวนสันติภาพ บึงมักกะสัน สนามหลวง สวนสัตวดุสิต ราชตฤณมัยสมาคมแหงประเทศไทย บึงพิบูลวัฒนา สวนรมณีนาถ สวนสราญรมย สนามกีฬาแหงชาติ สนามกีฬาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ที่โลงดานหนากรมการทหารสื่อสาร ที่โลงดานหนากรมทหารราบที่ 1 มหาดเล็กรักษาพระองค ที่ทรัพยสินสวนพระมหากษัตริย (ทาวาสุกรี) สวนธนบุรีรมย สนามกีฬากรุงเทพมหานคร และคายลูกเสือกรุงธน โครงการสวนสาธารณะชายทะเลบางขุนเทียน ไปอํา เภอ บานโ พธิ์ คลองห ลวงแพ  ง อําเภอเมืองฉะเชิงเทรา จังหวัดฉะเชิงเทรา คลอง สอง ลํารางสาธารณะ แขวงลําตอยติ่ง คลองแสนแสบ ถนนสังฆ สันติสุข ถนนผดุงพันธ คลองสิ บ สี ่ อําเภอบางนํ้าเปรี้ยว คลอ งนคร เนื่อง เขต คลองบึ ง ฝรั ่ ง ถนนท หารอา กาศอุท ิ ศ ลํารางเจียรดับ คลอ งขุดใ หม ถนนอยูวิทยา คลองหนึ่ง คลองแมะดํา คลองหลุมบัว ถนนร ว มพั ฒ นา คลองลําตาอิน คลองลําแขก คลองบ ึงขวาง แขวงลําผักชี ถนนประชาสํ า ราญ ถนนคู  ฝ   ง เหนื อ -คลองสิบ คลองเก า คลอง แบนช ะโด คลอง หนอ งปลา หมอ คลองสนา มสองตอน ถนนบุรีภิรมย ไปอําเภอองครักษ ถนนเลียบวารี ถนนเช ื ่ อ มสัมพัน ธ ถนนมิตรไมตรี คลองนาตับ คลอง ลําเจีย รดับ ถนนฉ ลองกร ุ ง คลอง พะอง คลอง ลําพะ อง คลอง ลําผัก ชี คลองลํานกแขวก ถนนสุวินทวงศ คลองบึงใหญ คลองตาเสือ คลองมะขาม คลอ งนก แขวก คลองลํากอไผ คลองต น ไทร คลองลํากอไผ ถนนเจาคุณทหาร คลองลําปล าทิว คลองสี ่ ถนนป ระชารว มใจ คลองลัด ตาเตี้ย ถนนร าษฎรอ ุทิศ คลองสองตะวันออก คลองลํ า หิ น คลองหนึ่ง คลองบึงไ ผ ถนนร ม เกล า คลองนายโ ส ช ๓ ค ๒ ถนนสีหบูรานุกิจ คลองสาม คลองห นึ่ง จ ๑ ถนนหทั ย ราษฎร ถนนหทั ย ราษฎร คลองสามวา คลองสี่ตะวันตก คลองสามตะวันตก คลองสองตะวันตก คลองลาดบั ว ขาว คลองแม จ ั น คลองทับชางลาง คลองพ ระยาส ุ เ รนทร  ถนนนิมิต รใหม คลองหกวาสายลาง ถนนวง แหวนร อบนอก (ดานตะ วั น ออก) ไปอําเภอธัญบ ุ ร ี ถนนวัดคูบอน คลอง บางช ั น จ ๒ คลอ งลําเ ก็ด ถนนปญ ญาอินทร า ถนนพระยาสุเรนท ร ช ๓ คลองแ สนแส บ ถนนรา มคําแห ง ช ๑ คลองวังใหญบ น คลองกุม คลอง บานม า อําเภอลําลูกกา ทางหลวงแผนดินหมายเลข ๓๓๑๒ (ถนนลําลูกกา) คลองหนองบัวมน แนวคันปองกันนํ้าทวม ถนนเส รีไทย คลองบ า นม า คลองห ั ว หมาก คลองยา ยเผื่อน ถนนนว มิ น ทร คลองหนอง แขม คลองร ะหัส ช๑ ฉ ๑ คลองลําเจียก คลองครุ ถนนร ามอินท รา คลองลําผักช ี คลองจระเขบัว คลองหนองจอก จ ๑ คลองหกขุด คลองคูบอน ถนนสายไหม (ถนนสุขาภิบาล ๕) คลองออเง ิน คลองสอง คลองอ อเกาะ อําเภอบางบอ ไปอําเภอ บานโพธิ์ ไปอําเภอบานโพธิ์ ไปอําเภอบาง ปะกง ไปอํา เภอบ างปะ กง คลองกาหล ง คลองห ลวงแพ  ง คลองทับย าว ทางรถไฟสายตะวันออก คลองจ ระเขน  อ ย คลอง หลุมท อง ถนนขุม ทอง-ล ํ า ต อ ยติ่ง ถนนรัต นโกสิน ทร ๒๐๐ ป ถนนหลว งแพง อําเภอบางพลี ถนนประ ชาพัฒนา ถนนว ั ด ศรีวาร ี น  อ ย-ออน นุช ถนนกรุงเทพ-ชลบุรี สายใหม ถนนกรุงเทพ-ชลบุรี สายใหม ถนนว ั ด ศรีวาร ี น  อ ย-ออน นุช คลอง จระเข  ข บ คลองส ลุ ด ทางหล วงแผน ดิ น หมายเล ข ๓๒๕๖ (ถนนก ิ ่ ง แกว) คลองประเวศบุรีรมย คลองตาพุก คลองสอง ถนนออนนุช-ลาดกระบัง ทางหลวงแผ นดินหมายเลข ๓ (ถนนสุขุมว ิท) ทางหลวงแผนดิน หมายเลข ๓๒๖๘ (ถนนเทพารักษ) ค ๖ ทางหล วงแผน ดินหมายเล ข ๓๔ (ถนนบ างนา-ต ราด) คลองพระโขนง คลองหนองบอน คลองต นตาล คลองปลัดเปรียง คลอ งวังใ หญ จังหวัดสมุทรปราการ คลองสํา โรง อําเภอเมืองสมุทรปราการ คลองตาสาด ซอยสุขุมวิท ๑๐๓ (ซอยอุดมสุข) ถนนศรี น คริ น ทร คลองหัวหมาก คลองสา ว คลองสวนออย คลอ งไผเ ขียว คลองบางช วด คลอง เสือใ หญ คลอง โคกค ราม ถนนพ หลโยธ ิ น ค ๑ คลองไผเขียว ไปอําเภอธัญบุรี ถนนธ ูปเตมีย ข ๑ ถนนว ิ ภ าวดีรัง สิต คลองส อง ถนนจันทรุเบกษา ไปอําเภอธัญบุรี คลองต าหนัง ถนนรามคําแหง ถนนล าดพรา ว คลองทรงกระเทียม คลองจั่น ถนนปร ะดิษฐม นู ธ รรม กรุงเทพมหานคร ค ๓ คลองบาน ปา คลองสะ แก คลองตั น คลองสะแก ค ๔ ข ๒ ข ๒ ถนนพระรามที่ ๙ ถนนส ุขุมวิท คลองสามเสน จ ๓ ซอยสุขุมว ิ ท ๖๓ คลองชวดบางจ าก ถนนประชาอุทิศ คลองสามเสนนอก ถนนเทียมรวมมิตร ถนนประชาราษฎรบําเพ็ญ ถนนอโศก-ดินแดง ถนนประชาสงเคราะห คลองสามข า ถนนงา มวงศว าน คลองลาดพร า ว ฉ ๑ คลองบางเขน คลองถนน ถนนรั ช ดาภิ เ ษก คลองนํ้าแกว ถนนสุทธิสารวินิจฉัย ซอยลาดพราว ๕๓ คลองเป รมประ ชากร ถนนแจง วัฒนะ คลองบานใหม คลองสงนํ้าการ ประปานครหล วง คลอ งบาง บัว ข ๑ ทางรถ ไฟสาย เหนือ คลองบางซื่อ ถนนวิภ าวดีรังส ิ ต ถนนพ ระราม ที่ ๕ ถนนกําแพงเพชร ถนนประชาช ื ่ น ทางพิเศษส ายแจงวัฒน ะ-บางโคล อําเภอปากเกร็ด ทางหลวง แผนดินห มายเลข ๓๐๔ คลองผดุงกรุงเกษม ถนนเพชรบุรี ถนนพระราม ที่ ๔ คลองมหานาค ถนนสาทรเหนือ ถนนสาทรใต จ ๓ ถนนดินแดง ไปอําเภอส ามโคก ทางห ลวงแ ผนด ินหมาย เลข ๓๐๖ (ถนน ติวาน นท) อําเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ทางพิเศษส ายบางปะอ ิ น -ปากเกร็ด ไปอําเภ อสามโ คก ถนนกรุงธนบุรี คลองรอ บกรุง ถนนลาดหญา ถนนสิริน ธร คลอง บางพ ลัด คลองคู เ มื อ งเดิ ม คลอ งบาง ยี่ขัน คลองเคล็ด ซอยสุขุมวิท ๗๗ (ซอยออนนุช) คลองกะจะ คลองจ ิก คลอง บานห ลาย ซอยสุขุมวิท ๑๐๑/๑ คลองบางนางจีน (ซอยวชิรธรรมสาธิต) คลองบางนา ทางหลว งแผนด ิ น หมายเล ข ๓๓๔๔ ถนนทางรถไฟเกาสายปากนํ้า ทางหลวงแผน ดินหมายเลข ๓๑๑๓ (ถนนปูเจาสม ิงพราย) ถนนสรรพาวุธ คลองบ างออ ทางพิเศษสายทาเรือ-บางนา ทางพิเศษสายรามอินทรา-อาจณรงค สายปากนํ้า ทางพิเศษสายดินแดง-ทาเรือ ทางรถไฟ ทางห ลวงแ ผนด ิ น หมา ยเลข ๓๐๓ (ถนน สุขส วัสด ิ ์ ) ทางหลวงแผ นดินหมายเลข ๓๒๔๓ คลอง บางน างเกร ง คลอง สนาม แดง คลองบา งปลากด ถนนพระรามที่ ๓ อําเภอพระประแดง ถนนสาธุประดิษฐ ทางพิเศษสายทาเรือ-ดาวคะนอง คลอง พิทยา ลงกร ณ คลองโลง คลองสรรพสามิต คลองขุนราชพิน ิ จ ใจ อําเภอพระสมุทรเจดีย อ  า ว ไ ท ย คลอง สาม ถนนประชา อุ ท ิ ศ ง ๔ คลองบางพึ่ง ยา พระ ถนนราษฎรบ ูรณะ แม นํ้า เจา ถนนสุขส วัสดิ์ คลองสะพานควาย คลองบางมด ค ๗ ฌ คลองราง ใหญ ถนนพุทธบูชา คลอง บางป ะแกว ถนนบางมดพ ั ฒ นา คลองดาวค ะนอง คลองวัดนาคนิมิตร คลองวัดใหมยายนุย คลองวัดอรุณ ถนนบางขุนเทีย น คลองพระยา ราชมนตรี คลองนา คลองตาสุก คลองสนามชั ย คลองห ั ว กระบือ ง ๔ คลองบั ว ถนนสุขาภ ิ บ าล ๑ คลอ งวัดส ิ ง ห คลองบางเพล ี้ย คลองวัดรางบัว คลองต าฉํ่า ฉ ๒ คลองวัดระฆัง แขวงบางแค แขวงหลักสอง ถนนเพชรเกษม คลอง บางบ อน ถนนเ อกชัย คลอง บางพ ราน คลองบ างโคล ัด ถนนบาง บอน ๑ ถนน พระ รามท ี่๒ ทางร ถไฟ สายแ มกล อง ถนนบางกระดี่ ฌ จังหวัดสมุทรสาคร คลองห ั ว กระบือ คลองส นามชัย คลองตาแมน คลองเสาธง อําเภอเมืองสมุทรสาคร คลองแยกพ ะเนียง ไปที่ว  า การอ ํ า เภอเม ื อ งสมุท รสาค ร คลองสี ่ ว า ไปบ านบา งนํ้าจ ืด คลองห นามแด ง ไปอําเภอสามพราน ถนนพุ ท ธมณฑลสาย ๓ ถนนติวา นนท ถนนรัตน าธิเบศร ถนน กรุงเท พฯ-น นทบ ุรี คลอ งบาง เขน ถนน วงศส วาง ถนนประชาราษฎร เจา พระ ยา ถนนรัตนา ธิเบศร อําเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี คลองแมนํ้าออม แม นํ ้ า คลองมอญ คลองกระทอน แถว ช ๒ ก อําเภอบางกรวย คลองบางบําหรุ ช ๒ คลองบ างหวา ง ๓ คลองดาน คลองบางกอกใหญ คลองบ างสะแ ก ง ๒ ง๑ คลองสวนหลวง ถนนสมเด็จพระปนเกลา ถนน จรัญ สนิท วงศ ถนน บรม ราชช นนี คลองชักพระ คลองบา งกอกนอ ย แขวงฉิมพลี คลองบางบัวทอง ทางหลวงแผน ดินหมายเลข ๓๔๕ คลอ งพระ อุดม ไปอํา เภอไ ทรน  อ ย ทางห ลวงแ ผนด ิ น เลข ๓๔๐ หมาย แขวงบางพรม ทางร ถไฟส ายใต  ช ๔ แขวงตลิ่งชัน คลองวัดไกเตี้ย แขวงคลองชักพระ แขวงบางระมาด คลองขนมจีน ง๑ แนวทา งพิเศษ ขั้นที่๖ คลองลัดว ั ด ฉิ ม คลองบางจาก คลองบางระมาด แขวงฉิมพลี ฉ ๒ คลองบางแวก ถนนกาญจนาภิ เ ษก ถนนพุ ท ธมณฑลสาย ๒ คลองบางพรม คลองบางเชือกหนัง คลองบางไผ คลองค วาย ถนนบรมราชชนนี คลองมหาสวัสดิ์ อําเภอบางใหญ ก คลองบางใหญ คลอง พระพ ิมล ถนนพุ ท ธมณฑล สาย ๔ คลองราษฎรสามัคคี คลองภาษ ีเจริญ คลองศรีสําราญ คลอง กํานัน เทียบ คลองมหาศร ช ๔ คลองท วี ว ั ฒ นา คลองบางระทึก คลองซอย ถนนอุทยาน ไปอําเภอนครชัยศรี คลองสวัสดิ์ ไปอําเภอนครชัยศรี ไปอําเภอบางปะกง ทางพิเศษเสนอแนะ(เดิม) ๐.๕ ( นายสุทธิชัย ทรรศนสฤษดิ์ ) ผูอํานวยการสํานักผังเมือง ( นายพิจิตต รัตตกุล ) ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๙ พ.ศ. ๒๕๕๖ กฎหมายว่าด้วยการผังเมือง เป็นกฎหมายที่ควบคุมเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตราขึ้น บังคับใช้ในรูปของพระราชบัญญัติ การผังเมือง พ . ศ . ๒๕๑๘ สาระส�ำคัญกล่าวถึงการวางและ จัดท�ำผังเมืองรวม และผังเมืองเฉพาะ โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้รักษาการ ตามพระราชบัญญัติและมีอ�ำนาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ ผังเมืองรวม หมายถึง แผนผัง นโยบายและโครงการ รวมทั้งมาตรการควบคุมโดยทั่วไปเพื่อใช้ เป็นแนวทางในการพัฒนาการด�ำรงรักษาเมืองและบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบท ในด้านการ ใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน การคมนาคม และการขนส่ง การสาธารณูปโภค บริการสาธารณะ และสภาพแวดล้อมเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของการผังเมือง การบังคับใช้ผังเมืองรวม จะตราเป็นกฎกระทรวง
  • 2. 2 ผังเมืองเฉพาะ หมายถึง แผนผังและโครงการด�ำเนินการเพื่อพัฒนาหรือด�ำรงรักษาบริเวณเฉพาะแห่ง หรือกิจการที่เกี่ยวข้อง ในเมือง และบริเวณที่เกี่ยวข้องหรือชนบทเพื่อประโยชน์แก่การผังเมือง การบังคับใช้ผังเมืองเฉพาะ จะตราเป็นพระราชบัญญัติ กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖ เป็นกฎหมายที่ประกาศให้ใช้บังคับผังเมืองรวมในเขตกรุงเทพมหานคร ตราขึ้นโดย อาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. ๒๕๑๘ มีอายุการบังคับใช้ ๕ ปี นับตั้งแต่ วันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ถึงวันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑ และสามารถขยายระยะ เวลาการบังคับใช้ต่อไปได้อีก ๒ ครั้ง ครั้งละไม่เกิน ๑ ปี การบังคับใช้กฎกระทรวง เมื่อมีประกาศให้ใช้บังคับผังเมืองรวมแล้ว ห้ามบุคคลใดใช้ประโยชน์ที่ดินผิดไปจาก ที่ได้ก�ำหนดไว้ผังเมืองรวม หรือปฏิบัติการใดๆ ซึ่งขัดกับข้อก�ำหนดของผังเมืองรวม เว้นแต่ กรณีที่ได้มีการใช้ประโยชน์ที่ดินมาก่อนที่จะมีกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวม และประสงค์ จะใช้ประโยชน์ที่ดินเช่นนั้นต่อไป แต่การใช้ประโยชน์ที่ดินเช่นนั้น ใช้ได้เฉพาะเท่าที่มีอยู่ใน ขณะนั้นเท่านั้น จะใช้ประโยชน์ที่ดินเกินกว่าที่เคยมีมาก่อนไม่ได้ กฎกระทรวง จะไม่มีผลใช้บังคับย้อนหลังกับการใช้ประโยชน์ที่ดินที่มีมาก่อน แต่ถ้า ประสงค์จะขอใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มขึ้นจากเดิม ต้องปฏิบัติตามกฎกระทรวงที่ประกาศใช้ปัจจุบัน บทก�ำหนดโทษ ผู้ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามกฎกระทรวงผังเมืองรวม มีความผิดต้องระวางโทษ ๓ สถาน คือ ๑. จ�ำคุกไม่เกินหกเดือน ๒. ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท ๓. ทั้งจ�ำคุกทั้งปรับ
  • 3. 3 บทที่ ๒ สาระส�ำคัญกฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖ กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖ มีสาระส�ำคัญ ประกอบด้วย ๑. วัตถุประสงค์ในการวางและจัดท�ำผังเมืองรวม ๒. ค�ำนิยาม ๓. แผนผังก�ำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินและข้อก�ำหนด ๔. แผนผังแสดงที่โล่งและข้อก�ำหนด ๕. แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งและข้อก�ำหนด ๖. แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค ๗. มาตรการส่งเสริมและควบคุมการใช้ประโยชน์ที่ดิน ๑. วัตถุประสงค์ในการวางและจัดท�ำผังเมืองรวม เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนากรุงเทพมหานคร ให้เป็นเมืองน่าอยู่ เป็นศูนย์กลาง ทางเศรษฐกิจวิทยาการของประเทศและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และศูนย์กลางการบริหาร และการปกครองของประเทศ มีเอกลักษณ์ด้านศิลปวัฒนธรรมของชาติ ตลอดจนเป็นเมือง ต้นแบบในด้านการรักษาสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติรวมไปถึงลดการใช้พลังงาน และลดการ ปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อบรรเทาผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ๒. ค�ำนิยาม “การใช้ประโยชน์ที่ดิน” หมายความว่า การใช้ที่ดินเพื่อประกอบกิจการใดๆ ไม่ว่า กิจการนั้นจะกระท�ำบนพื้นดินเหนือพื้นดิน หรือใต้พื้นดิน และไม่ว่าจะอยู่ภายในอาคารหรือ นอกอาคาร “พื้นที่ประกอบการ” หมายความว่า พื้นที่ที่ใช้ประกอบกิจการบนพื้นดิน เหนือพื้นดิน หรือใต้พื้นดิน และให้หมายความรวมถึงพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ต่อเนื่องของกิจการไม่ว่าจะ อยู่ภายในอาคารหรือนอกอาคาร “การประกอบพาณิชยกรรม” หมายความว่า การประกอบธุรกิจการค้าหรือ การบริการ แต่ไม่หมายความรวมถึงโรงแรม สถานบริการ ส�ำนักงาน ตลาด สถานีบริการน�้ำมัน เชื้อเพลิงหรือก๊าซธรรมชาติและการซื้อขายเศษวัสดุ
  • 4. 4 “อัตราส่วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน” หมายความว่า อัตราส่วนพื้นที่อาคาร รวมทุกชั้นของอาคาร ทุกหลังต่อพื้นที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคาร “อัตราส่วนของที่ว่างต่อพื้นที่อาคารรวม” หมายความว่า อัตราส่วนของที่ว่าง อันปราศจากสิ่งปกคลุมของพื้นที่ดินที่ใช้เป็นที่ตั้งอาคารต่อพื้นที่อาคารรวมทุกชั้นของอาคาร ทุกหลัง “สถานที่เก็บสินค้า” หมายความว่า สถานที่เก็บหรือพักสินค้าหรือสิ่งของเพื่อประโยชน์ ทางการค้าหรืออุตสาหกรรมและตู้บรรจุสินค้าหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการขนส่งสินค้าหรือสิ่งของ ดังกล่าว ทั้งนี้ ไม่รวมถึงการเก็บสินค้าหรือสิ่งของเพื่อรอการจ�ำหน่าย ณ สถานที่นั้น “ศูนย์ประชุม อาคารแสดงสินค้าหรือนิทรรศการ” หมายความว่า สถานที่ที่ตั้งขึ้น เพื่อให้บริการใช้สถานที่ส�ำหรับจัดการประชุมหรือแสดงสินค้าหรือนิทรรศการเป็นการเฉพาะ “ตลาด” หมายความว่า ตลาดที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข “ป้าย” หมายความว่าป้ายหรือสิ่งที่สร้างขึ้นส�ำหรับติดหรือตั้งป้าย “พื้นที่รับน�้ำ” หมายความว่า สระ บ่อ หรือพื้นที่ส่วนหนึ่งส่วนใดของอาคารหรือ พื้นที่อื่นใดที่ใช้ส�ำหรับ กักเก็บน�้ำฝนไว้เพื่อประโยชน์ในการชะลอการระบายน�้ำเพื่อป้องกัน ปัญหาน�้ำท่วม “โรงงานที่ประกอบกิจการเกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมการเกษตร” หมายความถึง โรงงานในล�ำดับที่ ๒ (๑) (๒) (๕) (๖) (๘) (๙) และ (๑๑) ล�ำดับที่ ๔ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) (๖) และ (๗) ล�ำดับที่ ๕ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) ล�ำดับที่ ๖ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) ล�ำดับที่ ๗ (๑) (๒) (๓) (๔) และ (๕) ล�ำดับที่ ๘ (๑) และ (๒) ล�ำดับที่ ๙ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕) และ (๖) ล�ำดับที่ ๑๒ (๗) และ (๘) และล�ำดับที่ ๑๓ (๘) ตามบัญชีท้ายกฎกระทรวงนี้
  • 5. 5 ๓. แผนผังก�ำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินและข้อก�ำหนด ได้จัดท�ำขึ้นเพื่อส่งเสริมสุขลักษณะ ความปลอดภัยของประชาชน และสวัสดิภาพ ของสังคม ให้สอดคล้องเหมาะสมกับศักยภาพของการให้บริการของระบบคมนาคมและขนส่ง การสาธารณูปโภคและการสาธารณูปการในแต่ละบริเวณ ตลอดจนเพื่อรองรับการพัฒนาของ เมืองในอนาคตตามวัตถุประสงค์ของผังเมืองรวม การใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังก�ำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินจ�ำแนกประเภทไว้ ๑๐ ประเภท ดังนี้ ๑. ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย (สีเหลือง) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท ย. ๑ ถึง ย. ๔ - ที่ดินประเภท ย. ๑ เพื่อส่งเสริมสภาพแวดล้อมของการอยู่อาศัยบริเวณชานเมือง - ที่ดินประเภท ย. ๒ เพื่อรองรับการขยายตัว ของการอยู่อาศัยที่มีสภาพแวดล้อมดีใน บริเวณ ชานเมือง - ที่ดินประเภท ย. ๓ เพื่อด�ำรงรักษาการอยู่ อาศัยที่มีสภาพแวดล้อมดีในบริเวณชานเมือง - ที่ดินประเภท ย. ๔ เพื่อด�ำรงรักษาการอยู่อาศัยที่มีสภาพแวดล้อมดีในบริเวณชานเมืองซึ่งอยู่ ในเขตการให้บริการของระบบขนส่งมวลชน
  • 6. 6 ๒. ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง (สีส้ม) ก�ำหนดให้เป็นที่ดิน ประเภท ย. ๕ ถึง ย. ๗ - ที่ดินประเภท ย. ๕ เพื่อรองรับการขยายตัว ของการอยู่อาศัยในบริเวณพื้นที่ต่อเนื่องกับ เขตเมืองชั้นใน - ที่ดินประเภท ย. ๖ เพื่อรองรับการอยู่อาศัย ในบริเวณพื้นที่ต่อเนื่องกับเขตเมืองชั้นในศูนย์ ชุมชนชานเมืองเขตอุตสาหกรรม และนิคม อุตสาหกรรม - ที่ดินประเภท ย. ๗ เพื่อรองรับการอยู่อาศัยในบริเวณพื้นที่ต่อเนื่องกับเขตเมืองชั้นในซึ่งอยู่ ในเขตการให้บริการของระบบขนส่งมวลชน ๓. ที่ดินประเภทที่อยู่อาศัยหนาแน่นมาก (สีน�้ำตาล) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท ย. ๘ ถึง ย. ๑๐ - ที่ดินประเภท ย. ๘ เพื่อรองรับการอยู่อาศัย ในบริเวณพื้นที่เขตเมืองชั้นในที่มีการส่งเสริม และด�ำรงรักษาทัศนียภาพและสภาพแวดล้อม ทางธรรมชาติ - ที่ดินประเภท ย. ๙ เพื่อรองรับการอยู่อาศัย ในบริเวณพื้นที่เขตเมืองชั้นในซึ่งอยู่ในเขตการ ให้บริการของระบบขนส่งมวลชน - ที่ดินประเภท ย. ๑๐ เพื่อรองรับการอยู่อาศัย ในบริเวณพื้นที่เขตเมืองชั้นในที่ต่อเนื่องกับย่านพาณิชยกรรมศูนย์กลางเมือง และเขตการให้ บริการของระบบขนส่งมวลชน
  • 7. 7 ๔. ที่ดินประเภทพาณิชยกรรม (สีแดง) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท พ. ๑ ถึง พ. ๕ - ที่ดินประเภท พ. ๑ เพื่อให้ใช้ประโยชน์เป็นศูนย์ พาณิชยกรรมของชุมชนเพื่อกระจายกิจกรรม การค้าและการบริการที่อ�ำนวยความสะดวก ต่อการด�ำรงชีวิตประจ�ำวันของประชาชนที่อยู่ อาศัยในบริเวณชานเมือง - ที่ดินประเภท พ. ๒ เพื่อให้ใช้ประโยชน์เป็นศูนย์ ชุมชนชานเมืองเพื่อส่งเสริมความเป็นศูนย์กลาง ทางธุรกิจการค้าการบริการและนันทนาการที่จะก่อให้เกิดความสมดุลระหว่างที่อยู่อาศัยและ แหล่งงานของประชาชนที่อยู่อาศัยบริเวณชานเมือง - ที่ดินประเภท พ. ๓ เพื่อให้ใช้ประโยชน์เป็นศูนย์พาณิชยกรรมของเมือง เพื่อรองรับการประกอบ กิจกรรมทางธุรกิจการค้าการบริการ และนันทนาการที่ให้บริการแก่ประชาชนโดยทั่วไป - ที่ดินประเภท พ. ๔ เพื่อให้ใช้ประโยชน์เป็นศูนย์พาณิชยกรรมรอง เพื่อส่งเสริมความเป็นศูนย์กลาง ทางธุรกิจการค้าการบริการ และนันทนาการในบริเวณโดยรอบเขตการให้บริการของระบบขนส่ง มวลชน -ที่ดินประเภท พ.๕ เพื่อให้ใช้ประโยชน์เป็นศูนย์พาณิชยกรรมหลักเพื่อส่งเสริมความเป็นศูนย์กลาง ทางธุรกิจการค้าการบริการนันทนาการและการท่องเที่ยวในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ๕. ที่ดินประเภทอุตสาหกรรม (สีม่วง) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท อ. ๑ และ อ. ๒ - ที่ดินประเภท อ. ๑ เพื่อเป็นเขตการบริหาร และจัดการด้านสิ่งแวดล้อมส�ำหรับการ ประกอบกิจกรรมประเภทอุตสาหกรรมการ ผลิตที่มีมลพิษน้อย - ที่ดินประเภท อ. ๒ เพื่อเป็นเขตการบริหาร และจัดการด้านสิ่งแวดล้อมส�ำหรับการ ประกอบกิจกรรมประเภทอุตสาหกรรมการผลิต
  • 8. 8 ๖. ที่ดินประเภทคลังสินค้า (สีเม็ดมะปราง) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท อ. ๓ - เพื่อเป็นคลังสินค้าส�ำหรับการขนส่งในระดับภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ ๗. ที่ดินประเภทอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม (สีขาวมีกรอบและเส้นทแยงสีเขียว) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท ก.๑ ถึง ก. ๓ - ที่ดินประเภท ก. ๑ เพื่อการสงวน รักษาสภาพทางธรรมชาติของพื้นที่ ชนบท และเกษตรกรรมในบริเวณที่ มีข้อจ�ำกัดด้านการระบายน�้ำ และ มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัย - ที่ดินประเภท ก. ๒ เพื่อการสงวน รักษาสภาพทางธรรมชาติของพื้นที่ ชนบท และเกษตรกรรม - ที่ดินประเภท ก. ๓ เพื่อการสงวน รักษาสภาพทางธรรมชาติของพื้นที่ ชนบท และเกษตรกรรม และการ ส่งเสริมการเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำเค็ม และน�้ำกร่อยบริเวณชายฝั่งทะเล
  • 9. 9 ๘. ที่ดินประเภทชนบทและเกษตรกรรม (สีเขียว) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท ก.๔ และ ก. ๕ - ที่ดินประเภท ก. ๔ เพื่อเกษตรกรรมการสงวนรักษา สภาพทางธรรมชาติ และการส่งเสริมเศรษฐกิจการเกษตร - ที่ดินประเภท ก. ๕ เพื่อเป็นชุมชนและศูนย์กลางการให้ บริการทางสังคม และการส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ ชนบทและเกษตรกรรม ๙. ที่ดินประเภทอนุรักษ์เพื่อส่งเสริมเอกลักษณ์ศิลปวัฒนธรรมไทย (สีน�้ำตาลอ่อน) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท ศ. ๑ และ ศ. ๒ - ที่ดินประเภท ศ. ๑ เพื่อการอนุรักษ์และส่งเสริมเอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรมของชาติและส่งเสริมกิจกรรมทาง เศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยว - ที่ดินประเภท ศ. ๒ เพื่อการอนุรักษ์และส่งเสริมเอกลักษณ์ ศิลปวัฒนธรรมของชาติและส่งเสริมกิจกรรมด้าน พาณิชยกรรมการบริการและการท่องเที่ยวในเขตอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรม ๑๐. ที่ดินประเภทสถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ (สีน�้ำเงิน) ก�ำหนดให้เป็นที่ดินประเภท ส. - เพื่อเป็นสถาบันราชการและการด�ำเนินกิจการของรัฐ ที่เกี่ยวกับการสาธารณูปโภคสาธารณูปการ หรือ สาธารณประโยชน์
  • 10. 10 ๔. แผนผังแสดงที่โล่งและข้อก�ำหนด แผนผังแสดงที่โล่ง ประกอบด้วยที่โล่ง ๖ ประเภท ดังนี้ ๑. ที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมที่โล่งประเภท ล.๑ ได้แก่ สวนสาธารณะ สนามกีฬา ศูนย์เยาวชน สนามกอล์ฟ และอื่นๆ ในกรณีที่เอกชนเป็น เจ้าของหรือครอบครอง นอกเหนือจากการใช้ ประโยชน์เพื่อนันทนาการแล้ว สามารถ ใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังก�ำหนดการ ใช้ประโยชน์ที่ดินได้ โดยให้ค�ำนึงถึงการรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อมของที่โล่งด้วย ๒.ที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม บริเวณริมถนน ที่โล่งประเภท ล.๒ ได้แก่ ที่ดิน ซึ่งตั้งริมถนนสาธารณะตามที่ก�ำหนดในผัง ให้มีที่ ว่างระยะไม่น้อยกว่า ๒ เมตร เพื่อปลูกต้นไม้ ๓. ที่โล่งเพื่อการรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณริมแม่น�้ำและล�ำคลอง ที่โล่งประเภท ล.๓ ได้แก่ ที่ดินซึ่งตั้งอยู่ริมแหล่งน�้ำ สาธารณะตามที่ก�ำหนดในผัง ให้มี ที่ว่างระยะไม่น้อยกว่า ๓ เมตร ส�ำหรับ แหล่งน�้ำที่มีความกว้างน้อยกว่า ๑๐ เมตร และให้มีที่ว่างระยะไม่น้อยกว่า ๖ เมตร ส�ำหรับแหล่งน�้ำที่มีความกว้างมากกว่า ๑๐ เมตร เพื่อปลูกต้นไม้
  • 11. 11 ๔. ที่โล่งเพื่อการสงวนรักษาสภาพการระบายน�้ำตามธรรมชาติ ที่โล่งประเภท ล. ๔ ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการสงวน รักษาสภาพการระบายน�้ำตาม ธรรมชาติหรือตามข้อก�ำหนดการ ใช้ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จ�ำแนก ประเภทไว้ในบริเวณนั้นโดย ต้องไม่มีการถมดินก่อสร้างหรือ ด�ำเนินการใดๆ ในที่ดินอันเป็นการลด ประสิทธิภาพของการระบายน�้ำตาม ธรรมชาติ ๕. ที่โล่งเพื่อการป้องกันน�้ำท่วม ที่โล่งประเภท ล. ๕ ให้ใช้ประโยชน์เพื่อ การป้องกันน�้ำท่วมการสาธารณูปโภคที่ เกี่ยวกับการป้องกันน�้ำท่วมสวนสาธารณะ หรือตามข้อก�ำหนดการใช้ประโยชน์ ที่ดินตามที่ได้จ�ำแนกประเภทไว้ใน บริเวณนั้นโดยต้องไม่มีการถมดินเกินกว่า ร้อยละสามสิบห้าของที่ดินประเภทนี้ ในแต่ละบริเวณ ๖. ที่โล่งเพื่ออนุรักษ์และฟื้นฟู สภาพแวดล้อมชายฝั่งทะเล ที่โล่งประเภท ล. ๖ ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการอนุรักษ์และ ฟื้นฟูสภาพแวดล้อมชายฝั่งทะเล หรือ เพื่อวัตถุประสงค์อื่นตามข้อก�ำหนดการใช้ ประโยชน์ที่ดินตามที่ได้จ�ำแนกประเภท ไว้ในบริเวณนั้นโดยต้องไม่กระท�ำการใดๆ ที่มีผลกระทบต่อการอนุรักษ์สภาพแวดล้อม ชายฝั่งทะเล
  • 12. 12 ๕. แผนผังโครงการคมนาคมและขนส่งและข้อก�ำหนด แผนผังแสดงโครงการคมนาคมและขนส่งจัดท�ำขึ้นเพื่อส่งเสริมและพัฒนาระบบ โครงข่ายคมนาคมและขนส่งให้มีประสิทธิภาพสามารถรองรับและสอดคล้องกับการขยายตัว ของชุมชนในอนาคต โครงการคมนาคมและขนส่งตามแผนผังฯ มี ดังนี้ (๑) ถนนสาย ก ขนาดเขตทาง ๑๒ เมตร ๑๙ สาย (๒) ถนนสาย ข ขนาดเขตทาง ๑๖ เมตร ๘๓ สาย (๓) ถนนสาย ค ขนาดเขตทาง ๒๐ เมตร ๓ สาย (๔) ถนนสาย ง ขนาดเขตทาง ๓๐ เมตร ๒๑ สาย (๕) ถนนสาย จ ขนาดเขตทาง ๔๐ เมตร ๗ สาย (๖) ถนนสาย ฉ ขนาดเขตทาง ๕๐ เมตร ๑ สาย (๗) ถนนสาย ช ขนาดเขตทาง ๖๐ เมตร ๒ สาย การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่เขตทางของถนนโครงการตามแผนผังแสดงโครงการ คมนาคมและขนส่งและของโครงการทางพิเศษให้ใช้ประโยชน์เพื่อการคมนาคมขนส่งและ สาธารณประโยชน์เท่านั้น
  • 13. 13 ๖. แผนผังโครงการกิจการสาธารณูปโภค แผนผังแสดงโครงการกิจการสาธารณูปโภค ประกอบด้วย โครงการกิจการสาธารณูปโภค ๓ ประเภท ดังนี้ ๑. โครงการคลองระบายน�้ำและป้องกันน�้ำท่วม สภ. ๑ เป็นโครงการปรับปรุงและ ขุดคลองเพื่อการระบายน�้ำ ประกอบด้วย -โครงการกิจการสาธารณูปโภคประเภทสภ.๑-๑ ก�ำหนดไว้เป็นเส้นสีฟ้าเข้มให้เป็นโครงการ ปรับปรุงคลองเพื่อการระบายน�้ำและป้องกัน น�้ำท่วม -โครงการกิจการสาธารณูปโภคประเภทสภ.๑-๒ ก�ำหนดไว้เป็นเส้นประขีดสีฟ้าเข้มให้เป็น โครงการขยายคลองเพื่อการระบายน�้ำและ ป้องกันน�้ำท่วม - โครงการกิจการสาธารณูปโภคประเภท สภ. ๑-๓ ก�ำหนดไว้เป็นเส้นประสีฟ้าเข้มให้เป็น โครงการขุดคลองเพื่อการระบายน�้ำและป้องกันน�้ำท่วม มีความกว้าง ๒๐ เมตร ๒. โครงการกิจการสาธารณูปโภค ประเภท สภ. ๒ และโครงการเพื่อ การระบายน�้ำและป้องกันน�้ำท่วม โดยอุโมงค์เพื่อระบายน�้ำจากบริเวณ พื้นที่ ซึ่งมีปัญหาในการระบายน�้ำ เพื่อลงสู่แม่น�้ำเจ้าพระยา
  • 14. 14 ๓. โครงการกิจการสาธารณูปโภค ประเภท สภ. ๓ เป็นโครงการโรงบ�ำบัดน�้ำเสีย หรือโครงการโรงควบคุมคุณภาพน�้ำเพื่อ ประโยชน์ในการบ�ำบัดน�้ำเสียหรือควบคุม คุณภาพน�้ำ * สภ โครงการโรงบ�ำบัดน�้ำ ๓.๓. ๗. มาตรการและวิธีการ กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. ๒๕๕๖ ก�ำหนด มาตรการส่งเสริมและควบคุม หลายประการคือ ๑. มาตรการควบคุมความหนาแน่นการใช้ที่ดิน ในรูปของ FAR และ OSR ๒. การก�ำหนดความสูงของอาคาร ๓. การก�ำหนดที่ว่างโดยรอบอาคาร ๔. การก�ำหนดขนาดพื้นที่ประกอบการของกิจการบางประเภท ๕. การก�ำหนดของแปลงที่ดิน ๖. การก�ำหนดให้มีการแจ้งใช้ประโยชน์ที่ดินเป็นหน่วยงานอนุญาต ๗. การก�ำหนดสิทธิพิเศษเพื่อเป็นมาตรการจูงใจ ๗.๑ การสร้างที่อยู่อาศัยส�ำหรับผู้มีรายได้น้อย การสนับสนุนให้มีการสร้างที่อยู่อาศัยส�ำหรับผู้มีรายได้น้อย โดยโครงการที่ อยู่อาศัยที่จัดให้มีที่อยู่อาศัยส�ำหรับผู้มีรายได้น้อยหรือผู้อยู่อาศัยเดิมในพื้นที่โครงการ จะได้ รับสิทธิ์ให้มีอัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR) เพิ่มขึ้น โดยพื้นที่อาคารส่วนเพิ่ม ต้องไม่เกิน ๔ เท่าของพื้นที่ที่อยู่อาศัยส�ำหรับผู้มีรายได้น้อยทั้งนี้อัตราส่วนของพื้นที่อาคาร รวมต่อพื้นที่ดินจะเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ ๒๐
  • 16. 16 ๗.๒ การจัดให้มีพื้นที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะ การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อส่งเสริมพื้นที่โล่งสาธารณะภายในเมือง เพื่อประโยชน์ สาธารณะหรือสวนสาธารณะจะได้รับสิทธิ์ให้มีอัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR) เพิ่มขึ้น โดยพื้นที่อาคารส่วนเพิ่มต้องไม่เกิน ๕ เท่าของพื้นที่โล่เพื่อประโยชน์สาธารณะ หรือสวนสาธารณะทั้งนี้อัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินจะเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ ๒๐ ๒๐ ๕ ๗.๓ การจัดพื้นที่จอดรถยนต์ส�ำหรับประชาชนทั่วไปในอาคารสาธารณะ ในการจัดพื้นที่จอดรถยนต์ส�ำหรับประชาชนทั่วไปในอาคารสาธารณะเพิ่มขึ้น จากที่กฎหมายควบคุมอาคารก�ำหนด ส�ำหรับอาคารที่ตั้งอยู่ในรัศมี ๕๐๐ เมตร โดยรอบสถานี รถไฟฟ้าขนส่งมวลชน สถานีศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย สถานีอ่อนนุช สถานีลาดกระบัง สถานีหัวหมาก สถานีบางบ�ำหรุ สถานีตลิ่งชัน สถานีอุดมสุข และสถานีแบริ่ง หากเจ้าของที่ดินหรือผู้ประกอบการได้จัดให้มีที่จอดรถยนต์ส�ำหรับประชาชน เป็นการทั่วไป เพิ่มขึ้นจากจ�ำนวนที่กฎหมายควบคุมอาคารก�ำหนดให้อัตราส่วนพื้นที่อาคาร รวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มขึ้นได้ไม่เกินร้อยละ ๒๐ โดยพื้นที่อาคารรวมเพิ่มขึ้นต้องไม่เกิน ๓๐ ตารางเมตร ต่อที่จอดรถยนต์เพิ่มขึ้น ๑ คัน
  • 17. 17 ๓๐ ๒๐ ๑ ๗.๔ การจัดให้มีพื้นที่รับน�้ำ การส่งเสริมให้เกิดพื้นที่รองรับน�้ำตามธรรมชาติ โดยโครงการที่จัดให้มีพื้นที่ รับน�้ำในแปลงที่ดินที่ขออนุญาตจะได้รับสิทธิ์ให้มีอัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน (FAR) เพิ่มขึ้นอย่างเป็นสัดส่วน หากสามารถกักเก็บน�้ำได้ในสัดส่วนไม่น้อยกว่า ๑ ลบ.ม. ต่อ พื้นที่ดิน ๕๐ ตร.ม. ให้มี FAR Bonus ได้ไม่เกินร้อยละ ๕ หากสามารถกักเก็บน�้ำได้มากกว่า ๑ ลบ.ม. ให้มี FAR Bonus ตามสัดส่วน แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกิน ร้อยละ ๒๐
  • 18. 18 ๒๐ ๕๐ ๔ ๑ ๗.๕ การก่อสร้างอาคารประหยัดพลังงาน การให้อาคารที่เป็นอาคารอนุรักษ์พลังงานตามมาตราที่มูลนิธิอาคารเขียวไทย รับรอง และมีเปลือกอาคาร (หลังคาและผนังอาคาร) ที่อยู่ในเกณฑ์ มาตราฐานที่ก�ำหนดไว้ ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน จะได้รับสิทธิ์ให้มีอัตราส่วนของพื้นที่ อาคารรวมต่อพื้นดิน ( FAR) เพิ่มขึ้น ดังนี้ ๑. อัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มไม่เกินร้อยละ ๕ เมื่อเป็นอาคาร ที่ได้รับการรับรองการอนุรักษ์พลังงานระดับที่ ๑ (certified) ๒. อัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มไม่เกินร้อยละ ๑๐ เมื่อเป็นอาคาร ที่ได้รับการรับรองการอนุรักษ์พลังงานระดับที่ ๒ (Silver) ๓. อัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มไม่เกินร้อยละ ๑๕ เมื่อเป็นอาคาร ที่ได้รับการรับรอองการอนุรักษ์พลังงานระดับที่ ๓ (Gold) ๔. อัตราส่วนของพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดินเพิ่มไม่เกินร้อยละ ๒๐ เมื่อเป็นอาคาร ที่ได้รับการรับรองการอนุรักษ์พลังงานระดับที่ ๔ (Platinum)
  • 19. 19 บทที่ ๓ การปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎกระทรวงให้ใช้บังคับ ผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครเป็นกฎหมายที่ควบคุมเกี่ยวกับ การใช้ประโยชน์ในที่ดิน การปฏิบัติให้เป็นไปตามกฎกระทรวง ต้องพิจารณาจากองค์ประกอบหลัก ที่ส�ำคัญ ๑. แผนผังก�ำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นแผนผังที่ระบุประเภทของการใช้ประโยชน์ที่ดินว่าเป็นที่ดินประเภทใด โดยใช้ สีเป็นสัญลักษณ์แสดงการใช้ที่ดิน ที่ดินแต่ละประเภท จะแบ่งออกเป็นบริเวณๆ มีตัวอักษรและตัวเลขก�ำกับโดย ตัวอักษรและตัวเลขตัวแรก หมายถึง ที่ดินประเภทต่างๆ ตัวเลขที่หมายถึงล�ำดับของบริเวณ เช่น ที่ดินประเภท ย.๓-๑๗ หมายถึง การใช้ที่ดินประเภท ย.๓ แสดงบริเวณที่ดิน หมายเลข ๑๗ แสดงล�ำดับของบริเวณ ๒. ข้อก�ำหนดการใช้ประโยชน์ที่ดิน เป็นข้อความที่อธิบายถึงที่ดินแต่ละประเภทว่าให้ใช้ประโยชน์หรือห้ามการใช้ ประโยชน์ที่ดินเพื่อประกอบกิจการประเภทใดบ้างซึ่งสามารถจ�ำแนกกิจกรรมการใช้ประโยชน์ ที่ดินในผังเมืองรวมมี ๓ ลักษณะ
  • 20. 20 ๑. กิจกรรมที่อนุญาต หมายถึง กิจกรรมที่มีความเหมาะสมกับศักยภาพในย่านนั้นๆ โดยมีทั้งกิจกรรมหลัก (Principle Use) และกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่อง ( Accessory Use) เช่น ในย่านที่อยู่อาศัย หนาแน่นน้อย กิจกรรมหลัก ได้แก่ บ้านเดี่ยว หรือการอยู่อาศัยที่ไม่หนาแน่น ส่วนกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องได้แก่ ร้านค้า โรงเรียน สถานพยาบาล เป็นต้น ๒. กิจกรรมที่ไม่อนุญาต หมายถึง กิจกรรมที่มีผลต่อสภาพแวดล้อม สร้างความ เดือดร้อน ร�ำคาญ และความไม่ปลอดภัยต่อชุมชน เช่น โรงงานที่ก่อให้เกิดมลพิษหรืออาคาร ที่มีขนาดใหญ่ เป็นต้น ๓. กิจกรรมที่อนุญาตโดยมีเงื่อนไข หมายถึง กิจกรรมที่อาจส่งผลกระทบต่อสภาพ แวดล้อมชุมชนหรือความสามารถในการให้บริการของสาธารณูปโภคหากที่ตั้งไม่เหมาะ จึงมี การก�ำหนดเงื่อนไขของท�ำเลที่ตั้ง เช่น ๓.๑ กรณีตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะหรืออาคารหรืออาคารขนาดใหญ่ผังเมืองการสร้าง อาคารขนาดใหญ่ จะต้องตั้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีความกว้างเพียงพอ มีความกว้างเขตทาง ถนนเข้า –ออก และมีระยะห่างจากเขตทางตามเงื่อนไข ดังนี้ ความกว้าง เขตทางถนน สาธารณะ หน้ากว้าง แปลงที่ดินขั้นต�่ำ (เมตร) ระยะห่างจาก เขตทางถนน สาธารณะของ แปลงที่ดินตาม เงื่อนไข (เมตร) ความกว้าง เขตทางถนน สาธารณะด้าน ที่ ๑ (เมตร) ความกว้าง เขตทางถนน สาธารณะด้าน ที่ ๒ (เมตร) ไม่น้อยกว่า ๑๐ ๑๒ ๒๐๐ ๑๐ ๘ ไม่น้อยกว่า ๑๒ ๑๒ ๒๐๐ ๑๒ ๘ ไม่น้อยกว่า ๑๖ ๑๖ ๓๐๐ ๑๖ ๑๒ ไม่น้อยกว่า ๓๐ ๓๐ ๕๐๐ ๓๐ ๑๖
  • 21. 21 ๒๐๐ ม. ๑๐ ม. ๑๐ ๑๒ ม. ๑๐ ม. ๑ ๘ ม. ๒ กรณี ถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า ๑๐ เมตร ๒๐๐ ม. ๑๒ ม. ๑๒ ๑๒ ม. ๑๒ ม. ๑ ๘ ม. ๒ กรณี ถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า ๑๒ เมตร
  • 22. 22 ๓๐๐ ม. ๑๖ ม. ๑๖ ๑๖ ม. ๑๖ ม. ๑ ๑๒ ม. ๒ กรณี ถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า ๑๖ เมตร ๕๐๐ ม. ๓๐ ม. ๓๐ ๓๐ ม. ๓๐ ม. ๑ ๑๖ ม. ๒ กรณี ถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า ๓๐ เมตร
  • 23. 23 การใช้ประโยชน์ที่ดินที่ตั้งอยู่ภายในระยะ ๕๐๐ เมตร โดยรอบสถานีรถไฟฟ้าขนส่ง มวลชนให้วัดระยะจากแนวเขตชานชาลาสถานีรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ๕๐๐ เมตร วิธีปฏิบัติก่อนการขอใช้ประโยชน์ที่ดิน ผู้ที่ประสงค์จะขออนุญาตก่อสร้างอาคารหรือประกอบกิจการใดในเขตผังเมืองรวม กรุงเทพมหานครต้องด�ำเนินการดังนี้ ขั้นตอนที่ ๑ การตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน (ด้วยตนเอง) โดยสามารถเข้าไปตรวจสอบการใช้ ประโยชน์ที่ดินตามผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ผ่านระบบน�ำโฉนดที่ดินแสดงผลข้อมูลภูมิ สารสนเทศบนระบบเครือข่ายได้ ๒ ทาง Website : http //3d-cpd.bangkok.go.th : http//3d-cpd.bma.go.th
  • 24. 24 การตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน (โดยขอเป็นหนังสือรับรองการใช้ประโยชน์ที่ดิน) - ตรวจสอบสถานที่ตั้งของที่ดิน ว่าอยู่ที่ดินประเภทใด - ตรวจสอบประเภทกิจการการใช้ที่ดินว่าเป็นกิจการที่อนุญาตให้ด�ำเนินการได้หรือ กิจการที่ต้องห้าม - ตรวจสอบแนวถนนโครงการ ว่าอยู่ในบริเวณที่มีแนวถนนโครงการหรือไม่ เอกสารประกอบการตรวจสอบ - หนังสือแจ้งความประสงค์ขอตรวจสอบการใช้ประโยชน์ที่ดิน - แผนที่สังเขปแสดงที่ตั้งของที่ดิน - ส�ำเนาโฉนดที่ดิน (กรณีการจัดสรรที่ดินต้องแนบส�ำเนา โฉนดที่ดินทุกฉบับพร้อม แผนที่รูปต่อโฉนดแปลงที่ดินที่จะท�ำการจัดสรร) - ส�ำเนาบัตรประชาชนของผู้ยื่นขอตรวจสอบหรือหนังสือมอบอ�ำนาจ (กรณีเป็น นิติบุคคล) - ส�ำเนาใบอนุญาตประกอบกิจการที่ออกให้โดยหน่วยงานราชการ (กรณีที่ดินแปลง นั้นมีการประกอบกิจการประเภทอื่นอยู่ก่อนแล้ว) - ส�ำเนาใบอนุญาตก่อสร้างอาคารที่ออกให้โดยหน่วยงานราชการ (กรณีแปลงที่ดิน นั้นมีการก่อสร้างอาคารอยู่ก่อนแล้ว โดยขอตรวจสอบได้ที่ - ส�ำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร เลขที่ ๔๔ ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๓๕๔ ๑๒๘๕ - ๙๒ และ ๐ ๒๓๕๔ ๑๒๗๔ - ๗๗ - ส�ำนักงานเขตที่ตั้งของที่ดิน - กองควบคุมอาคาร ส�ำนักการโยธา โทรศัพท์ ๐ ๒๒๔๖ ๐๐๗๖, ๐ ๒๒๔๖ ๐๓๓๒, ๐ ๒๒๔๗ ๐๑๐๕ และ ๐ ๒๒๖๔ ๖๐๓๐ ๑ – ๒
  • 25. 25 ขั้นตอนที่ ๒ การแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดิน ผู้ที่ประสงค์จะใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการก่อสร้างอาคารหรือประกอบกิจการ ที่ต้อง ขออนุญาตหรือแจ้งพนักงานตามกฎหมาย ต้องแจ้งการใช้ประโยชน์ที่ดินหรือการเปลี่ยนแปลง การใช้ประโยชน์ที่ดินต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นด้วยโดยให้แจ้งพร้อมกับการยื่นขออนุญาต ก่อสร้างอาคารหรือการยื่นขอขอประกอบกิจการ โดยยื่นแจ้งได้ที่ - กองควบคุมอาคาร ส�ำนักการโยธา - ส�ำนักงานเขตที่ยื่นอนุญาต บทที่ ๔ การร้องทุกข์ กรณีได้รับความเดือดร้อน หรือเหตร�ำคาญจากการใช้ประโยชน์ที่ดินใยเขตที่ดินบริเวณ ใกล้เคียงที่มีการใช้ที่ดินผิดประเภทหรือมีการประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ สุขลักษณะ ความปลอดภัย สวัสดิภาพของสังคม และสภาพแวดล้อมของเมือง สามารถร้องทุกข์ ต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นให้ด�ำเนินการแก้ไข หรือระงับการใช้ประโยชน์ที่ดินเช่นนั้นต่อไปได้ โดยจัดท�ำเป็นหนังสือพร้อมเอกสารประกอบ เช่นรูปถ่าย แผนที่ ฯลฯ และน�ำไปยื่นแจ้งได้ที่ - ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร - ส�ำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร - ส�ำนักงานเขตทุกเขต - ศูนย์รับแจ้งเรื่องขอร้องทุกข์ กรุงเทพมหานคร 1555
  • 26. 26 ตรวจสอบผังเมืองสักนิด ก่อนคิดท�ำอะไร? 7. ขั้นตอนก่อน การขอใช้ประโยชน์ที่ดิน 1. ก�ำหนดเป้าหมาย การใช้ประโยชน์ที่ดิน 2. ตรวจสอบ ที่ตั้งแปลง ที่ดิน 3. ตรวจสอบ ข้อก�ำหนด การใช้ที่ดิน (ให้ / ห้าม) 4. ตรวจสอบ กฎหมายอื่น เกี่ยวข้อง 5. ตรวจสอบ เงื่อนไขพิเศษ เฉพาะพื้นที่ 6. กรณีไม่แน่ใจ ขอตรวจสอบ จากหน่วยงาน 7. ยื่นแจ้งการใช้ ประโยชน์ที่ดิน พร้อมขออนุญาต ก่อสร้างอาคารหรือ ประกอบกิจการ